โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

ซะโด vs. ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

การชงชาแบบญี่ปุ่น ซะโด หรือ ชะโด หรือ ชาโนะยุ หรือพิธีชงชาญี่ปุ่น เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นว่าด้วยการใช้เวลาอย่างสุนทรีย์ ประกอบด้วยการปรนนิบัติระหว่างการดื่มและการดื่มชาผงสีเขียวหรือมัทชา (matcha) การจัดการพบปะกันในวงสังคมเพื่อดื่มมัทชาได้แพร่หลายในบรรดาชนชั้นสูงนับตั้งแต่ประมาณศตวรรษที่ 14 ต้นฉบับของพิธีชงชา รูปแบบของซะโดซึ่งปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ยุคนาระ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านชาคือ เซ็น โนะ ริคิว (Sen no Rikyu) ซะโดมีลักษณะที่เป็นแบบแผน ได้พัฒนาภายใต้อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นซึ่งจุดประสงค์สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดเรียบง่าย คือเพื่อทำวิญญาณให้บริสุทธิ์โดยการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติหัวใจแท้จริงของพิธีชงชาได้รับการบรรยายโดยคำต่าง ๆ เช่น ความสงบ ความเรียบง่าย ความสง่างาม และ สุนทรียศาสตร์แห่งความเรียบง่ายอันเข้มงวดและความยากจนที่ประณีต ซะโดยังมีบทบาทสำคัญในด้านชีวิตด้านศิลปะของชาวญี่ปุ่น พิธีชงชาจะเกี่ยวข้องกับการชื่นชมห้องที่ประกอบพิธี ส่วนที่ติดอยู่ในห้องนั้น เครื่องใช้ในการชงชา เครื่องประดับบริเวณพิธี เช่น ภาพแขวนหรือการจัดดอกไม้ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น การจัดสวน เครื่องปั้นดินเผาเซรามิก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็ล้วนแต่ได้รับอิทธิพลมาจากพิธีชงชา และความเป็นพิธีการที่ถือปฏิบัติในพิธีชงชาได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนามารยาทของชาวญี่ปุ่นในลักษณะที่เป็นพื้นฐาน ภายหลังที่เซ็น โนะ ริคิว ถึงแก่กรรมในปี.. อาซูจิ–โมโมยามะ เป็นยุคที่เริ่มตั้งแต..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ

ซะโด มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (9 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซะโดและยุคอาซูจิ–โมโมยามะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »