โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาห์ซาปูร์ที่ 1

ดัชนี ชาห์ซาปูร์ที่ 1

ระเจ้าซาปูร์ที่ 1 (ค.ศ. 241 - 272) พระเจ้าชาห์แห่งราชวงศ์แสสสานิด เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์อาร์ดาเชียร์ที่ 1 (ค.ศ. 226 - 241) ประสูติเมื่อ..

2 ความสัมพันธ์: พระเจ้าซาปูร์มหาราชประเทศอิหร่าน

พระเจ้าซาปูร์มหาราช

thumb พระเจ้าซาปูร์มหาราช หรือ พระเจ้าซาปูร์ที่ 2 (ค.ศ. 309 - 379) ทรงเป็นชาห์องค์ที่ 9 ในราชวงศ์แสสซานิด ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 70 ปี ตลอดรัชสมัยของพระองค์ถือเป็นยุคทองยุคที่ 2 ต่อจากพระเจ้าซาปูร์ที่ 1 (ค.ศ. 241 - 272) เนื่องจากทรงขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางทำให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างมาก หมวดหมู่:ราชวงศ์แสสซานิด.

ใหม่!!: ชาห์ซาปูร์ที่ 1และพระเจ้าซาปูร์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ชาห์ซาปูร์ที่ 1และประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระเจ้าซาปูร์ที่ 1

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »