จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์ vs. พระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
ูมง (ชื่อเต็ม: 삼한지(三韓志) - 주몽편(朱蒙篇); The Book Of Three Han - The Chapter of Jumong (ไม่เป็นทางการ)) เป็นละครซีรีส์เรื่องราวของ จูมง หรือ พระเจ้าดงเมียงยอง วีรบุรุษคนสำคัญของเกาหลี ผู้ก่อตั้งอาณาจักรโกคูรยอ โดยออกอากาศทางโทรทัศน์ช่อง MBC ของเกาหลีใต้ ในโอกาสฉลองครบรอบ 45 ปีของสถานีโทรทัศน์ช่อง MBC, โดยมีระยะเวลาการออกอากาศที่เกาหลีใต้ ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 15.. ระเจ้ายูรี (38 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 18) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งอาณาจักรโกคูรยอ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าทงมย็องซ็องแห่งโคกูรยอ ในรัชสมัยของพระองค์เป็นยุคสามราชอาณาจักรเกาหลี ทรงพระราชสมภพในปีสุดท้ายในรัชกาลของพระราชบิดา พระราชมารดาของพระองค์ได้พาพระองค์ออกจากพูยอ เพื่อให้ได้ทอดพระเนตรพระพักตร์ของพระราชบิดา และหลังจากพระราชบิดาสวรรคตในปีนั้น เจ้าชายยูรีซึ่งเพิ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาทจึงได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์โกคูรยอ ทรงพระนามว่าพระเจ้ายูรี ในรัชสมัยของพระองค์ ราชวงศ์ฮั่นตะวันตกได้ถูกหวัง หมั่ง โค่นราชบัลลังก์ พระเจ้ายูรีมีพระราชโอรส 5 พระองค์ แต่ที่สำคัญคือพระองค์ใหญ่ "เจ้าชายรัชทายาทแฮมุง" และพระองค์รอง "เจ้าชายมูยุล" แต่ในภายหลังองค์รัชทายาทกลับทำผิด จึงถูกปลดและแต่งตั้งเจ้าชายมูยุลพระโอรสองค์รองขึ้นเป็นรัชทายาทแทน ในรัชสมัยของพระองค์ ทรงประสบปัญหารอบด้าน ทั้งปัญหาภายใน ที่ต้องทรงคานอำนาจกับบรรดาหัวหน้าเผ่าต่าง ๆ โดยเฉพาะกับเผ่าพีรู ที่คอยแต่จะยึดอำนาจของพระองค์ และปัญหาภายนอกที่ต้องทรงปกป้องอาณาจักรจากการรุกรานของอาณาจักรพูยอ อำนาจในการบริหารประเทศของพระองค์ถูกบั่นทอนจากบรรดาขุนนางของพระองค์เอง โดยเฉพาะขุนนางที่มาจากเผ่าพีรู เพราะบรรดาชนเผ่าทั้ง หลายนั้นต่างมองว่า พระองค์ได้ขึ้นครองราชย์ ด้วยดาบที่หักเพียงเล่มเดียว จึ่งไม่ค่อยมีความนับถือพระองค์ ในช่วงปลายรัชสมัยของพระองค์ ทรงถูกเจ้าเมืองโชบุนยึดอำนาจ และเจ้าเมืองโชบุนก็ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระราชา แต่ครองราชย์ได้เพียง 5 วัน ก็ถูกเจ้าชายมูยุลยึดบัลลังก์คืนมาได้สำเร็จ และได้มอบบัลลังก์นี้คืนให้แก่พระเจ้ายูริดังเดิม แต่พระเจ้ายูรีก็ทรงกลับมาครองราชย์ได้เพียงวันเดียว ก็เสด็จสรรคต ครองราชย์ 37 ปี สวรรคตในปี..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าทงมย็องซ็องแห่งโคกูรยออาณาจักรโคกูรยอ
ระเจ้าทงมย็องซ็อง (Dongmyeong-seongwang, 59 - 19 ปีก่อนค.ศ., ครองราชย์ 37 – 19 ปีก่อน ค.ศ.) ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรโคกูรยอ ประสูติเมื่อ 59 ปีก่อนคริสต์ศักราช ตรงกับปี พ.ศ. 483 มีพระนามเดิมว่า จูมง โดยทรงเป็นบุตรของพระเจ้าแฮโมซู และพระนางยูฮวา ต่อมาเมื่อบิดาเสียชีวิตระหว่างการรบพระเจ้ากึมวากษัตริย์แห่งอาณาจักรพูยอได้รับพระนางยูฮวาเป็นพระสนม และรับจูมงเป็นพระราชโอรสบุญธรรม.
จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้าทงมย็องซ็องแห่งโคกูรยอ · พระเจ้าทงมย็องซ็องแห่งโคกูรยอและพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ · ดูเพิ่มเติม »
กูรยอ (เสียงอ่าน::; 37 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ. 668) เป็นอาณาจักรเกาหลีโบราณที่พระเจ้าทงมย็องซ็องทรงสถาปนาขึ้น ปัจจุบันดินแดนส่วนใหญ่อยู่ในประเทศเกาหลีเหนือและคาบสมุทรเหลียวตงของประเทศจีน ราชวงศ์นี้มีอาณาเขตตั้งแต่เกาหลีเหนือปัจจุบันแมนจูเรียถึงรัสเซียบางส่วนเป็นราชวงศ์แรก ที่ถูกบันทึกหลักฐานราชวงศ์นี้มีพระมหากษัตริย์ที่เป็นมหาราชพระองค์แรกของเกาหลีคือพระเจ้าควังแกโทมหาราช รัชกาลที่ 19 ของราชวงศ์ ผู้ทรงพระปรีชาสามารถทั้งเรื่องรบและเรื่องรัก ทรงขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางต่อมาจักรวรรดินี้เริ่มมีปัญหารบรากับอาณาจักรแพ็กเจและอาณาจักรชิลลา ในสมัยราชวงศ์ถัง (618-907) ในขณะนั้นตรงกับรัชสมัยจักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) จักรพรรดิองค์ที่ 3 ประมาณปี..
จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และอาณาจักรโคกูรยอ · พระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอและอาณาจักรโคกูรยอ · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
การเปรียบเทียบระหว่าง จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ
จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์ มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.06% = 2 / (19 + 14)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์และพระเจ้ายูรีแห่งโคกูรยอ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: