โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์

จิตวิทยา vs. ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์

ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม. ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ (Dunning–Kruger effect) เป็นความเอนเอียงทางประชานที่บุคคลด้อยความสามารถเกิดความเหนือกว่าเทียม คือ การประเมินความสามารถของตนผิด ๆ สูงเกินจริง ดันนิงและครูเกอร์ว่า ความเอนเอียงนี้มีสาเหตุมาจากความไร้สามารถอภิประชาน (metacognitive incapacity) ในส่วนของผู้ด้อยความสามารถนั้น ที่จะรับรู้การขาดทักษะของพวกตนและประเมินสมรรถนะอย่างแม่นตรง การวิจัยดังกล่าวยังมีอนุนัยว่า บุคคลมากความสามารถอาจประเมินสมรรถนะโดยสัมพัทธ์ของตนต่ำกว่าจริง และอาจสันนิษฐานอย่างผิดพลาดว่างานพวกตนว่าง่ายสำหรับพวกตนจะง่ายสำหรับคนอื่นด้วย หมวดหมู่:ความเอนเอียงทางประชาน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์

จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์

จิตวิทยา มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (27 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตวิทยาและปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »