โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จำนวนเฉพาะ

ดัชนี จำนวนเฉพาะ

ในคณิตศาสตร์ จำนวนเฉพาะ (อังกฤษ: prime number) คือ จำนวนเต็มบวกที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง ตรงข้ามกับจำนวนประกอบ ลำดับของจำนวนเฉพาะเริ่มต้นด้วย ดูบทความ รายชื่อจำนวนเฉพาะ สำหรับจำนวนเฉพาะ 500 จำนวนแรก สำหรับเลข 1 ไม่ถือว่าเป็นจำนวนเฉพาะตามนิยาม เซตของจำนวนเฉพาะทั้งหมดมักเขียนแทนด้วย \mathbb P เนื่องจาก 2 เป็นจำนวนเฉพาะตัวเดียวที่เป็นเลขคู่ ดังนั้นคำว่า จำนวนเฉพาะคี่ จะถูกใช้เพื่อหมายถึงจำนวนเฉพาะทั้งหมดที่ไม่ใช่ 2.

47 ความสัมพันธ์: ภาษาอังกฤษยุคลิดรายชื่อจำนวนเฉพาะริงวิทยาการเข้ารหัสลับสัจพจน์ของเบอร์แทรนด์อนันต์จำนวนธรรมชาติจำนวนประกอบทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิตทฤษฎีบทของวิลสันทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มาข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝดความน่าจะเป็นคณิตศาสตร์ตัวหารตารางแฮช1011031071091111313171922329331374143475535961677717379838997

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคลิด

ลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria, ประมาณ 325 – 270 ปีก่อนคริสต์ศักราช) นักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงชาวกรีก.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและยุคลิด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจำนวนเฉพาะ

รายชื่อของจำนวนเฉพาะ แบ่งตามประเภทต่าง.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและรายชื่อจำนวนเฉพาะ · ดูเพิ่มเติม »

ริง

ริง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและริง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการเข้ารหัสลับ

วิทยาการเข้ารหัสลับ วิชาเกี่ยวกับการเข้ารหัสลับคือการแปลงข้อความปกติให้กลายเป็นข้อความลับ โดยข้อความลับคือข้อความที่ผู้อื่น นอกเหนือจากคู่สนทนาที่ต้องการ ไม่สามารถเข้าใจได้ มนุษย์ได้คิดค้นวิธีการรักษาความลับของเรามาตั้งนาน นับตั้งแต่สมัยจูเลียส ซีซาร์ จนกระทั่งถึงปัจจุบันที่ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยเข้ารหัสลับและถอดรหัสลับ การเข้ารหัสแบบซีซ่าร์ทำได้โดยการนำตัวอักษรที่อยู่ถัดไปอีกสองตำแหน่งมาแทนที่ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการเข้ารหัสคำว่า HELLO เราก็นำตัวอักษรที่ถัดจากตัว H ไปอีกสองตัวนั่นคือตัว J มาแทน ตัว E แทนด้วย G ตัว L แทนด้วย N ตัว O แทนด้วย Q ดังนั้นข้อความ HELLO จึงถูกแปลงให้เป็นคำว่า JGNNQ การเข้ารหัสลับแตกต่างกับวิทยาการอำพรางข้อมูล ข้อมูลที่ถูกอำพรางนั้นจะไม่ถูกเปลี่ยนแปลง ในขณะที่การเข้ารหัสลับจะเปลี่ยนแปลงข้อมูล วิทยาการเข้ารหัสลับสมัยใหม่ (Modern Cryptography) เป็นวิชาการที่ใช้แนวทางคณิตศาสตร์เพื่อแปลงข้อความปกติให้กลายเป็นข้อความลับ โดยให้เฉพาะคู่สนทนาที่ต้องการสามารถอ่านเข้าใจได้เท่านั้น ขั้นตอนวิธีของการเข้ารหัสลับสมัยใหม่ ได้แก่ Data Encryption Standard, Advanced Encryption Standard หรือ One-Time Padding ฯลฯ หลักการเบื้องต้นของการเข้ารหัสลับ ประการแรกคือ ขั้นตอนวิธีต้องเป็นที่รู้โดยทั่วไป และประการต่อมา รหัสจะต้องใหม่เสมอ.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและวิทยาการเข้ารหัสลับ · ดูเพิ่มเติม »

สัจพจน์ของเบอร์แทรนด์

สัจพจน์ของเบอร์แทรนด์ กล่าวว่า ถ้า n > 3 เป็นจำนวนเต็ม แล้วจะมีจำนวนเฉพาะ p ที่ n 1 จะมีจำนวนเฉพาะ p ที่ n.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและสัจพจน์ของเบอร์แทรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์

ัญลักษณ์อนันต์ในรูปแบบต่าง ๆ อนันต์ (infinity; ใช้สัญลักษณ์ ∞) เป็นแนวคิดในทางคณิตศาสตร์และปรัชญาที่อ้างถึงจำนวนที่ไม่มีขอบเขตหรือไม่มีที่สิ้นสุด ในประวัติศาสตร์ ผู้คนต่างพัฒนาแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับธรรมชาติของอนันต์ ในทางคณิตศาสตร์ มีการจำกัดความของคำว่าอนันต์ในทฤษฎีเซต ภาษาอังกฤษของอนันต์ที่ว่า Infinity มาจากคำในภาษาละติน infinitas ซึ่งแปลว่า "ไม่มีที่สิ้นสุด" ในทางคณิตศาสตร์ เนื้อหาที่เกี่ยวกับอนันต์จะถือว่าอนันต์เป็นตัวเลข เช่น ใช้ในการนับปริมาณ เป็นต้นว่า "จำนวนพจน์เป็นอนันต์" แต่อนันต์ไม่ใช่ตัวเลขชนิดเดียวกับจำนวนจริง เกออร์ก คันทอร์ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้จัดระเบียบแนวคิดที่เกี่ยวกับอนันต์และเซตอนันต์ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เขายังได้ค้นพบว่าอนันต์มีการนับปริมาณแตกต่างกัน แนวคิดดังกล่าวถูกเรียกว่าภาวะเชิงการนับ เช่น เซตของจำนวนเต็มเป็นเซตอนันต์ที่นับได้ แต่เซตของจำนวนจริงเป็นเซตอนันต์ที่นับไม่ได้.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนธรรมชาติ

ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนธรรมชาติ อาจหมายถึง จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ (1, 2, 3, 4,...) หรือ จำนวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4,...) ความหมายแรกมีการใช้ในทฤษฎีจำนวน ส่วนแบบหลังได้ใช้งานใน ตรรกศาสตร์,เซตและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถุ จำนวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จำนวนธรรมชาติในการนับ เช่น มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ หรือเราอาจใช้สำหรับการจัดอันดับ เช่น เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ เป็นต้น คุณสมบัติของจำนวนธรรมชาติที่เกี่ยวกับการหารลงตัว เช่นการกระจายของจำนวนเฉพาะ เป็นเนื้อหาในทฤษฎีจำนวน ปัญหาที่เกี่ยวกับการนับ เช่น ทฤษฎีแรมซี นั้นถูกศึกษาในคณิตศาสตร์เชิงการจั.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและจำนวนธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนประกอบ

ำนวนประกอบ (composite number) คือจำนวนเต็มบวกที่สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะ 2 จำนวนขึ้นไป จำนวนเต็มทุกๆจำนวนยกเว้น 1 กับ 0 จะเป็นจำนวนเฉพาะหรือจำนวนประกอบ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น จำนวนเต็ม 14 เป็นจำนวนประกอบ เพราะว่ามันแยกตัวประกอบได้เป็น 2 × 7 จำนวนประกอบ 89 ตัวแรกมีดังนี้ จำนวนประกอบทุกจำนวนสามารถเขียนเป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะอย่างน้อยสองจำนวน (ไม่จำเป็นต้องต่างกัน) นอกจากนี้ การเขียนแสดงจำนวนประกอบในรูปนี้ต่างกันได้เพียงลำดับการเรียงจำนวนเฉพาะ ตามทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและจำนวนประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต

ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต หรือ ทฤษฎีบทการแยกตัวประกอบได้อย่างเดียว (fundamental theorem of arithmetic หรือ unique factorization theorem) ในคณิตศาสตร์และทฤษฎีจำนวน คือประโยคซึ่งกล่าวว่า จำนวนเต็มบวกทุกจำนวนที่มากกว่า 1 สามารถเขียนอยู่ในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้วิธีเดียวเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เราสามารถเขียน และไม่มีทางที่จะแยกตัวประกอบของ 6936 หรือ 1200 ได้เป็นอย่างอื่น ถ้าเราไม่สนใจลำดับของตัวประกอบ เพื่อที่จะให้ทฤษฏีบทนี้ใช้ได้กับจำนวน 1 เราจะถือว่า 1 เป็นผลคูณของของจำนวนเฉพาะศูนย์จำนวน (ดูใน ผลคูณว่าง).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทของวิลสัน

ทฤษฎีบทของวิลสัน (Wilson's Theorem) ในคณิตศาสตร์กล่าวว่า สำหรับจำนวนเฉพาะ (ดูเพิ่มเติมใน แฟกทอเรียล และ เลขคณิตมอดุลาร์ สำหรับความหมายของสัญกรณ์).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและทฤษฎีบทของวิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มา

ทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มา (Fermat's little theorem) กล่าวว่า ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะแล้ว สำหรับจำนวนเต็ม a ใด ๆ จะได้ว่า หมายความว่า ถ้าเลือกจำนวนเต็ม a มาคูณกัน p ครั้ง จากนั้นลบด้วย a ผลลัพธ์ที่ได้จะหารด้วย p ลงตัว (ดูเลขคณิตมอดุลาร์) p\mid a^p-a ทฤษฎีบทนี้กล่าวอีกแบบหนึ่งได้ว่า ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะ และ a เป็นจำนวนเต็มที่เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ p แล้ว จะได้ว.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มา · ดูเพิ่มเติม »

ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด

ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่ (Twin Prime Conjecture) เป็นปัญหาที่โด่งดังในทฤษฎีจำนวนในเรื่องจำนวนเฉพาะ ซึ่งกล่าวว่า "มีจำนวนเฉพาะ p ซึ่ง p+2 เป็นจำนวนเฉพาะด้วย อยู่ไม่จำกัด" เรียกจำนวนเฉพาะสองตัวดังกล่าวว่า จำนวนเฉพาะคู่แฝด มีการวิจัยข้อความคาดการณ์นี้โดยนักทฤษฎีจำนวน และนักคณิตศาสตร์จำนวนมากก็คิดว่าข้อความคาดการณ์นี้เป็นจริง อาศัยจากหลักฐานทางจำนวนและความน่าจะเป็นการกระจายตัวของจำนวนเฉพาะ หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน หมวดหมู่:ข้อความคาดการณ์.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด · ดูเพิ่มเติม »

ความน่าจะเป็น

วามน่าจะเป็น คือการวัดหรือการประมาณความเป็นไปได้ว่า บางสิ่งบางอย่างจะเกิดขึ้นหรือถ้อยแถลงหนึ่ง ๆ จะเป็นจริงมากเท่าใด ความน่าจะเป็นมีค่าตั้งแต่ 0 (โอกาส 0% หรือ จะไม่เกิดขึ้น) ไปจนถึง 1 (โอกาส 100% หรือ จะเกิดขึ้น) ระดับของความน่าจะเป็นที่สูงขึ้น คือความเป็นไปได้มากขึ้นที่เหตุการณ์นั้นจะเกิด หรือถ้ามองจากเงื่อนเวลาของการสุ่มตัวอย่าง คือจำนวนครั้งมากขึ้นที่เหตุการณ์เช่นนั้นคาดหวังว่าจะเกิด มโนทัศน์เหล่านี้มาจากการแปลงคณิตศาสตร์เชิงสัจพจน์ในทฤษฎีความน่าจะเป็น ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในขอบเขตการศึกษาต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ การเงิน การพนัน วิทยาศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์/การเรียนรู้ของเครื่อง และปรัชญา เพื่อร่างข้อสรุปเกี่ยวกับความถี่ที่คาดหวังของเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นอาทิ ทฤษฎีความน่าจะเป็นก็ยังนำมาใช้เพื่ออธิบายกลไกรากฐานและความสม่ำเสมอของระบบซับซ้อน.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและความน่าจะเป็น · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวหาร

ในคณิตศาสตร์ ตัวหาร (divisor) ของจำนวนเต็ม n หรือเรียกว่า ตัวประกอบ (factor) ของ n คือจำนวนเต็มที่หาร n ไvด้โดยไม่มีเศษเหลือ.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและตัวหาร · ดูเพิ่มเติม »

ตารางแฮช

ตารางแฮช เป็นโครงสร้างข้อมูลในรูปแบบตาราง ซึ่งอาจใช้แถวลำดับในการทำ ใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก เพื่อสะดวกต่อการเก็บและค้นหา โดยการผ่านฟังก์ชันแ.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและตารางแฮช · ดูเพิ่มเติม »

101

101 (หนึ่งร้อยเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 100 และอยู่ก่อนหน้า 102.

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ101 · ดูเพิ่มเติม »

103

103 (หนึ่งร้อยสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 102 (หนึ่งร้อยสอง) และอยู่ก่อนหน้า 104 (หนึ่งร้อยสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ103 · ดูเพิ่มเติม »

107

107 (หนึ่งร้อยเจ็ด) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 106 (หนึ่งร้อยหก) และอยู่ก่อนหน้า 108 (หนึ่งร้อยแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ107 · ดูเพิ่มเติม »

109

109 (หนึ่งร้อยเก้า) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 108 (หนึ่งร้อยแปด) และอยู่ก่อนหน้า 110 (หนึ่งร้อยสิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ109 · ดูเพิ่มเติม »

11

11 (สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 10 (สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 12 (สิบสอง) นับเป็นจำนวนแรกที่ไม่สามารถใช้นิ้วมือนับได้ตามปกติ การใช้นิ้วมือระบุจำนวนสิบเอ็ด จึงนิยมกำมือข้างหนึ่งแทนจำนวน 10 แล้วยกนิ้วมืออีกข้างหนึ่งหนึ่ง แทนจำนวน 1 นอกจากนี้แล้ว 11 ยังเป็นจำนวนแรกที่ใช้คำว่า "เอ็ด" แทนคำว่า "หนึ่ง" (จำนวนถัดไปคือ 21, 31, 41,...).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ11 · ดูเพิ่มเติม »

113

113 (หนึ่งร้อยสิบสาม) เป็น จำนวนธรรมชาติ อยู่ถัดจาก 112 (หนึ่งร้อยสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 114 (หนึ่งร้อยสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ113 · ดูเพิ่มเติม »

13

13 (สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 12 (สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 14 (สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ13 · ดูเพิ่มเติม »

17

17 (สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 16 (สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 18 (สิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ17 · ดูเพิ่มเติม »

19

19 (สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 18 (สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 20 (ยี่สิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ19 · ดูเพิ่มเติม »

2

2 (สอง) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 1 (หนึ่ง) และอยู่ก่อนหน้า 3 (สาม).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ2 · ดูเพิ่มเติม »

23

23 (ยี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 22 (ยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 24 (ยี่สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ23 · ดูเพิ่มเติม »

29

29 (ยี่สิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 28 (ยี่สิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 30 (สามสิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ29 · ดูเพิ่มเติม »

3

3 (สาม) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 2 (สอง) และอยู่ก่อนหน้า 4 (สี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ3 · ดูเพิ่มเติม »

31

31 (สามสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 30 (สามสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 32 (สามสิบสอง) หรืออยู่ระหว่าง 30 (สามสิบ) และ 32 (สามสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ31 · ดูเพิ่มเติม »

37

37 (สามสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 36 (สามสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 38 (สามสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ37 · ดูเพิ่มเติม »

41

41 (สี่สิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 40 (สี่สิบ) และอยู่ก่อนหน้า 42 (สี่สิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ41 · ดูเพิ่มเติม »

43

43 (สี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 42 (สี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 44 (สี่สิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ43 · ดูเพิ่มเติม »

47

47 (สี่สิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 46 (สี่สิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 48 (สี่สิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ47 · ดูเพิ่มเติม »

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ5 · ดูเพิ่มเติม »

53

53 (ห้าสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 52 (ห้าสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 54 (ห้าสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ53 · ดูเพิ่มเติม »

59

59 (ห้าสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 58 (ห้าสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 60 (หกสิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ59 · ดูเพิ่มเติม »

61

61 (หกสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 60 (หกสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 62 (หกสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ61 · ดูเพิ่มเติม »

67

67 (หกสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 66 (หกสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 68 (หกสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ67 · ดูเพิ่มเติม »

7

7 (เจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 6 (หก) และอยู่ก่อนหน้า 8 (แปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ7 · ดูเพิ่มเติม »

71

71 (เจ็ดสิบเอ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 70 (เจ็ดสิบ) และอยู่ก่อนหน้า 72 (เจ็ดสิบสอง).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ71 · ดูเพิ่มเติม »

73

73 (เจ็ดสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 72 (เจ็ดสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 74 (เจ็ดสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ73 · ดูเพิ่มเติม »

79

79 (เจ็ดสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 78 (เจ็ดสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 80 (แปดสิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ79 · ดูเพิ่มเติม »

83

83 (แปดสิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 82 (แปดสิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 84 (แปดสิบสี่).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ83 · ดูเพิ่มเติม »

89

89 (แปดสิบเก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 88 (แปดสิบแปด) และอยู่ก่อนหน้า 90 (เก้าสิบ).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ89 · ดูเพิ่มเติม »

97

97 (เก้าสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 96 (เก้าสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 98 (เก้าสิบแปด).

ใหม่!!: จำนวนเฉพาะและ97 · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »