โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ดัชนี จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

74 ความสัมพันธ์: บัวตองชาวกะเหรี่ยงชาวมูเซอบุญชู ตรีทองบุญเลิศ สว่างกุลพระยาพุทธวงศ์พระเจ้ามโหตรประเทศพระเจ้าอินทวิชยานนท์กบทูดกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มภาษามอญ-เขมรภาษาภาษากะเหรี่ยงสะกอภาษาลาฮูภาษาลีสู่ภาคเหนือ (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยแม่โจ้ม้งรายชื่อวัดในจังหวัดแม่ฮ่องสอนรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนลีซอวัดพระธาตุดอยกองมูวัดพระนอนวัดจองคำวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนวิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่สมบัติ ยะสินธุ์สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สุรสิทธิ์ ตรีทองสีน้ำตาลสีน้ำเงินหมู่บ้านอำเภออำเภอสบเมยอำเภอขุนยวมอำเภอปายอำเภอปางมะผ้าอำเภอแม่ลาน้อยอำเภอแม่สะเรียงอำเภอโขงเจียมอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนอุทยานแห่งชาติถ้ำปลา–น้ำตกผาเสื่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์อุทยานแห่งชาติแม่เงาฮ่อจังหวัดจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดตาก...จังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัดเชียงใหม่จั่น (พรรณไม้)ที่สุดในประเทศไทยตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตระกูลภาษาจีน-ทิเบตตระกูลภาษาไท-กะไดตารางกิโลเมตรตำบลซินตึ๊ง เกียรติบุษบาปกาเกอะญอประมวล รุจนเสรีประเทศพม่าประเทศไทยปัญญา จีนาคำนักแสดงแม่น้ำสาละวินโรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯโน้ต-ตูนไทลื้อไทใหญ่ไทเขินเพชรงาม ชูวัฒนะ ขยายดัชนี (24 มากกว่า) »

บัวตอง

ัวตอง (Tree marigold, Mexican tournesol, Mexican sunflower, Japanese sunflower, Nitobe chrysanthemum; (Hemsl.) A.Gray.) เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก เป็นไม้ดอกมีอายุยืนยาวหลายปี สามารถสูงได้ถึง 5 เมตร ออกดอกเป็นช่อเดียว บริเวณปลายกิ่ง มีสีเหลืองคล้ายดอกทานตะวัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ดอกวงนอกเป็นหมัน กลีบเรียวมีประมาณ 12–14 กลีบ ดอกวงในสีเหลืองส้มเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ใบของบัวตองเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือแกมขอบขนาน มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย บริเวณ ปลายใบเว้า มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย ปลายใบเว้าลึก 3–5 แฉก ชอบขึ้นในพื้นที่ที่มีอากาศเย็น จะออกดอกสวยงามที่สุดบนยอดดอยที่สูงกว่า 800 เมตรขึ้นไป โดยจะออกดอกในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคมเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ในประเทศไทย บัวตองมิใช่เป็นพืชพื้นเมือง แต่มีสถานที่ที่มีดอกบัวตองขึ้นอย่างงดงามกว้างขวางเป็นทุ่งและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ดอยแม่อูคอ อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีที่มาจากการที่บาทหลวงชาวเม็กซิโกผู้หนึ่งนำมาปลูก และต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่กลายมาเป็นทุ่งบัวตองอย่างในปัจจุบัน และถือเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและบัวตอง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวกะเหรี่ยง

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและชาวกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมูเซอ

วมูเซอ หรือ ชาวล่าหู่ (Lahu people) เป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งในประเทศไทย แบ่งย่อยได้เป็น 23 กลุ่ม เช่น ชาวมูเซอดำ ชาวมูเซอแดง ชาวมูเซอดำเบเล ชาวมูเซอเหลืองบาเกียว ชาวมูเซอลาบา ชาวมูเซอเหลืองบ้านลาน และชาวมูเซอกุเลา เป็นต้น ภาษาที่ใช้พูดคือภาษามูเซอที่แตกต่างไปในแต่ละเผ่าย่อย ชาวมูเซอเรียกตัวเองว่าล่าหู่ หมายถึง ชนเผ่าที่ได้กินเนื้อเสือปิ้ง ซึ่งเป็นการบอกถึงความกล้าหาญของชาวมูเซอที่ล่าเสือมากินเป็นอาหารได้ส่วนคำว่ามูเซอนั้น ในภาษาไทใหญ่ มูหมายถึงนิดหน่อย ส่วนเซอ หมายถึงสนุกสนาน โดยในประเทศไทยชาวมูเซอส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดตาก.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและชาวมูเซอ · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู ตรีทอง

นายบุญชู ตรีทอง (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและบุญชู ตรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ สว่างกุล

นายบุญเลิศ สว่างกุล (เกิด 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2487) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน 4 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและบุญเลิศ สว่างกุล · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพุทธวงศ์

ระยากากวรรณาธิปะราชวชิรปราการ หรือ พระยาพุทธวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและพระยาพุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามโหตรประเทศ

ระเจ้ามโหตรประเทศ (100px) (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและพระเจ้ามโหตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กบทูด

กบทูด หรือ กบภูเขา หรือ เขียดแลว (Kuhl's creek frog, Giant asian river frog; ชื่อวิทยาศาสตร์: Limnonectes blythii) เป็นกบขนาดใหญ่ที่สุดในที่พบได้ในประเทศไทย ความยาวจากปลายปากถึงก้น ประมาณ 1 ฟุต น้ำหนักกว่า 5 กิโลกรัม มีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณป่าต้นน้ำบนภูเขาสูง อยู่ตามลำห้วยป่าดิบเฉพาะแห่ง โดยพบภาคตะวันตกของไทย ตั้งแต่ภาคเหนือจรดภาคใต้ไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซีย เช่นในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา, อุทยานแห่งชาติเขาสก เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังพบได้ในกัมพูชา, ลาว และเวียดนาม มีลักษณะ ปลายปากเรียวแหลมจนเห็นได้ชัด ส่วนลำตัวอ้วนใหญ่ ผิวเป็นตุ่มเล็ก ๆ ไม่สะดุดตาดูคล้ายเป็นผิวหนังเรียบ เมื่อโตเต็มที่ลำตัวจะมีสีน้ำตาลแดง ริมฝีปากดำ มีขีดดำจากท้ายตาลากมาจนถึงเหนือวงแก้วหู บริเวณสีข้างอาจมีลาย หรือจุดสีดำ น้ำตาลเข้ม ส่วนขามีลายเข้มคาด เป็นระยะ ๆ นอกจากนี้ ยังพบว่าสามารถปรับเปลี่ยนสีผิวไปตามที่อยู่อาศัย เช่น ลำตัวจะมีสีน้ำตาลแดงเมื่ออาศัยอยู่ตามพงหญ้าแห้ง หรือมีสีดำเมื่อหลบซ่อนอยู่ในโพรงไม้ กบทูดเป็นสัตว์ที่มีนิสัยหากินตอนกลางคืน ชอบสภาพอากาศค่อนข้างเย็น เวลากลางวันมักหลบซ่อนอยู่ตามที่มืดทึบ เช่น โพรงไม้, หลุม, พงหญ้า บริเวณเหล่านี้ล้วนมีสภาพชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากกบทูดไม่สามารถอาศัยอยู่ในที่แห้งแล้งหรือร้อนจัดได้นาน เพราะสภาพเช่นนี้จะทำให้ผิวหนังแห้ง อาจทำให้ตายได้ ความแตกต่างเพศผู้เพศเมีย สามารถดูได้จากระยะห่างระหว่างตากับวงแก้วหู ตัวผู้จะมีระยะห่างดังกล่าวนี้ยาวกว่าตัวเมีย นอกจากนี้ ยังสังเกตได้จากเขี้ยว ซึ่งตัวผู้จะเห็นได้เด่นชัดมากกว่าตัวเมียที่มีลักษณะคล้ายตุ่มเล็ก ๆ และโดยส่วนใหญ่แล้ว กบทูดตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ฤดูผสมพันธุ์ของกบทูดอยู่ระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม เมื่อช่วงฤดูวางไข่ ตัวผู้จะขุดหลุมสำหรับตัวเมียวางไข่ เวลาผสมพันธุ์ตัวผู้ลงไปอยู่ในหลุมที่ตัวเองขุด แล้วจะส่งเสียงร้องเรียกตัวเมีย ตัวเมียที่พร้อมผสมพันธุ์ก็จะลงไปในหลุมนั้น หลังจากผสมพันธุ์เสร็จ ตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันกลบหลุมไข่ ซึ่งมีลักษณะเป็นกองหินนูนขึ้นมา ทั้งตัวเมียและตัวผู้จะผลัดกันเฝ้าหลุมไข่พร้อมกับออกหาอาหาร กบทูด จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 แต่จัดเป็นสัตว์ป่าชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ ปัจจุบัน กบทูดเป็นสัตว์ที่หายากชนิดหนึ่งในประเทศไทย อันเนื่องจากสภาพแวดล้อมและถิ่นที่อยู่อาศัยเปลี่ยนไป จึงมีการส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ โดยทางกรมประมง เช่น สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดแม่ฮ่องสอน สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ และกลายเป็นสัตว์เศรษฐกิจได้แล้วในขณะนี้.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกบทูด · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอญ-เขมร

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกลุ่มภาษามอญ-เขมร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยงสะกอ

ษากะเหรี่ยงสะกอ(S'gaw Karen) หรือ ภาษากะเหรี่ยงขาว หรือ ภาษาปกาเกอะญอ เป็นภาษาของชาวกะเหรี่ยงสะกอ มีผู้พูดทั้งหมด 1,584,700 คน พบในพม่า 1,284,700 คน (พ.ศ. 2526) ในลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในไทยพบ 300,000 คน (พ.ศ. 2530) ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และเชียงราย ใกล้แนวชายแดนพม่า ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือความเชื่อดั้งเดิมหรือศาสนาคริสต์จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไฆ เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและภาษากะเหรี่ยงสะกอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาฮู

ษาลาฮู (Lahu) หรือภาษาลาหู่ หรือภาษามูเซออยู่ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีผู้พูดทั้งหมด 577,178 คน พบในจีน 411,476 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตัวเองลานชาง ลาฮู ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน เป็นภาษาที่มีผู้พูดมากในจีน ชนบางกลุ่มใช้ภาษาลาฮูเป็นภาษาที่สอง ส่วนใหญ่เข้าใจภาษาจีน บางส่วนใช้ภาษาไทลื้อ ภาษาอาข่า ภาษาบลัง ภาษาว้า หรือภาษายิเป็นภาษาที่สอง พบในลาว 8,702 คน (พ.ศ. 2538) ในบ่อแก้ว พบในพม่า 125,000 คน (พ.ศ. 2536) ในรัฐฉาน พบในไทย 32,000 คน (พ.ศ. 2544) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำปาง ตาก มีหลายสำเนียงคือ ภาษามูเซอดำ มูเซอแดง มูเซอดำเบเล มูเซอเหลืองบาเกียว มูเซอเหลืองบ้านลาน ชาวมูเซอไม่นิยมเรียนภาษาอื่น ในคณะที่คนพูดภาษาอื่นหลายเผ่าเรียนภาษามูเซอ ทำให้ภาษามูเซอเป็นภาษากลางในเขตภูเขาของจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย พบในเวียดนาม 6,874 คน (พ.ศ. 2542) ตามแนวชายแดนลาวทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและภาษาลาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลีสู่

ษาลีซอ หรือ ลีสู่ (Lisu)หรือภาษาโยบิน ภาษาเยายิน มีผู้พูดทั้งหมด 723,000 คน พบในจีน 580,000 คน (พ.ศ. 2542) ในจำนวนนี้พูดได้ภาษาเดียว 467,869 คน ในยูนนานตะวันตก พบในอินเดีย 1,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอรุณาจัลประเทศ พบในพม่า 126,000 (พ.ศ. 2530) ในรัฐว้า ชายแดนติดกับรัฐอัสสัมของอินเดียหรือในรัฐฉาน พบในไทย 16,000 คน (พ.ศ. 2536) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร บางส่วนอพยพมาจากพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีหลายสำเนียงแต่ความแตกต่างระหว่างสำเนียงมีไม่มาก ในจีนเป็นภาษาที่ใช้ในทางศาสนาคริสต์ การปกครองและในโรงเรียน ส่วนใหญ่พูดภาษาจีนได้ด้วย ในจำนวนนี้มี 150,000 คนสามารถพูดภาษาไป๋ ภาษาทิเบต ภาษาน่าซี ภาษาไทลื้อ หรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรโรมัน หรืออักษรฟราเซอร์ เป็นภาษาพูดของชาวลีซอ มีสามสำเนียงคือ หัว ไป่ และลู ใกล้เคียงกับภาษาลาฮูและภาษาอาข่า และมีความสัมพันธ์กับภาษาพม่า ภาษาจิงผ่อ และภาษ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและภาษาลีสู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดยมีรากฐานจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมประจำภาคเหนือ" จนได้รับการเปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยแม่โจ้เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 20 ในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและมหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

ม้ง

ม้ง หรือ เมียว (Miao; 苗; พินอิน: Miáo) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในเขาภูเขาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ชาวม้งอพยพลงมาทางใต้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่สงบทางการเมืองและหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ปัจจุบันมีชาวม้งอาศัยอยู่ในประเทศจีน ไทย เวียดนาม ลาว และสหรัฐอเมริกา โดยชุมชนชาวม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอยู่ที่ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สำหรับในประเทศไทยคำว่า "แม้ว" เป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพในการเรียกกลุ่มคนม้ง ชาวม้งโดยส่วนใหญ่ไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดูถูกเหยียดหยาม ระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งและสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ชาวม้งในลาวได้ต่อสู้ขบวนการปะเทดลาว ชาวม้งหลายคนอพยพมาประเทศไทย และ ชาติตะวันตก.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและม้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

รายชื่อวัดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและรายชื่อวัดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

รงเรียนบ้านหน่องผักไห.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

ลีซอ

ลีซอ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและลีซอ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยกองมู

มโพล้เพล้ ที่วัดพระธาตุดอยกองมู วัดพระธาตุดอยกองมู เดิมชื่อ วัดปลายดอน ตั้งอยู่ที่ดอยกองมู ทางทิศตะวันตกของอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ถือเป็นวัดและพระธาตุประจำจังหวัด พระธาตุดอยกองมู เป็นปูชนียสถาน ประกอบด้วย พระธาตุเจดีย์ ศิลปะไทใหญ่-พม่า จำนวน 2 อง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและวัดพระธาตุดอยกองมู · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระนอน

วัดพระนอน ตั้งอยู่ในเขต ตำบลจองคำ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ติดบริเวณเชิงเขาทางขึ้นวัดพระธาตุดอยกองมู ชื่อวัดพระนอน ได้ตั้งชื่ีอให้เหมาะสมกับการที่มีองค์พระนอนที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ประดิษฐานอยู่ในศาลาการเปรียญ(วิหาร)ของวัดพระนอน วัดนี้มีมาอยู่ก่อนแล้ว เดิมทีสถานที่ตั้งของวัดนี้เป็นป่าเขา และเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อเมืองขยายขึ้นก็กลายเป็นวัดในเมือง วัดพระนอนเป็นวัดที่สำคัญเป็นที่ประดิษฐานองค์พระนอนองค์ใหญ่ ศิลปะแบบไทใหญ่ ขนาดยาว 11 เมตร 99 เซนติเมตร สร้างโดยศรัทธา "พญาสิงหนาทราชา" เจ้าเมืององค์แรกของเมืองแม่ฮ่องสอน ได้รับพระราชทานวิสูงคามสีมา พุทธศักราช 2469 วัดพระนอนแห่งนี้ได้รับการยกย่องและยอมรับนับถือให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมืองแม่ฮ่องสอน และเป็นวัดที่มีเจ้าอาวาสอยู่ประจำมาตั้งแต่ พุทธศักราช 2430 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและวัดพระนอน · ดูเพิ่มเติม »

วัดจองคำ

วัดจองคำ ตั้งอยู่บริเวณข้างหนองจองคำ ต.จองคำ อ.เมือง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและวัดจองคำ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน

วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน  เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปิดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา โดยการเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพของบุคคลและชุมชน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (Maehongson College, ChiangMai Rajabhat University) เป็น วิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่24 กันยายน พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและวิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ยะสินธุ์

นายสมบัติ ยะสินธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด ที่ไม่ได้สังกัดพรรคเพื่อไทย ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นฐานเสียงสำคัญของกลุ่มผู้สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและสมบัติ ยะสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ ตรีทอง

นายสุรสิทธิ์ ตรีทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน และเป็นหลานชายของนายบุญชู ตรีทอง อดีต..ลำปาง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและสุรสิทธิ์ ตรีทอง · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำตาล

ีน้ำตาล (Brown) เป็นสีชนิดหนึ่งที่คล้ายกับสีของลำต้นของต้นไม้ ออกสีส้มแก่ๆ ผสมกับสีเขียวไปด้วย พบเห็นได้ทั่วไป เช่น กิ่งและลำต้นของต้นไม้ เป็นต้น เป็นสีที่ไม่ค่อยจะสะท้อนแสงเท่าไรนัก จัดอยู่ในกลุ่มจำพวกสีเย็น.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสบเมย

อำเภอสบเมย (40px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอสบเมย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขุนยวม

นยวม (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่อยู่ท่ามกลางขุนเขาและสายน้ำ ประชากรมีเชื้อสายทั้งชาวเขา ไทยใหญ่ จีน และพม่า นับเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดและของภาคเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอขุนยวม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปาย

อำเภอปาย (25px) เป็นอำเภอขนาดเล็กทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่รู้จักกันดีในด้านความงามของธรรมชาต.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอปาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปางมะผ้า

อำเภอปางมะผ้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่บริเวณเหนือสุดของจังหวัด ได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอปางมะผ้า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ลาน้อย

แม่ลาน้อย (70px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอแม่ลาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่สะเรียง

อำเภอแม่สะเรียง (50px) เป็นหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดเป็นอำเภอที่มีความสำคัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัด (อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน) มากถึงประมาณ 164 กิโลเมตร โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหุบเขาสลับซับซ้อน ประกอบกับเป็นอำเภอที่ติดกับชายแดนไทยพม่า และเป็นเมืองผ่านไปยังอำเภออื่นๆของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอแม่สะเรียง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโขงเจียม

งเจียม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศไทย โดยมีชื่อเดิมว่า อำเภอบ้านด่าน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอโขงเจียม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน

อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน (100px; မိူင်းမႄႈႁွင်ႈသွၼ်) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน และศูนย์ราชการของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติถ้ำปลา–น้ำตกผาเสื่อ

อุทยานแห่งชาติถ้ำปลา–น้ำตกผาเสื่อ เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน และอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทางภาคเหนือของไทย มีเนื้อที่ประมาณ 305,000 ไร่ (ประมาณ 511 ตารางกิโลเมตร หรือ 200 ตารางไมล์) ลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวเทือกเขาแดนลาวสลับเป็นลูกคลื่นต่อเนื่องไปจนจรดชายแดนไทย–พม่าทางด้านทิศเหนือ ด้วยภูมิประเทศที่ติดต่อกับแนวป่าในประเทศพม่า ทำให้มีความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้เป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำทำให้มีน้ำตกหลายสายที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย สิ่งที่น่าสนใจได้แก่ ถ้ำปลา ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยผา ตำบลห้วยผา ห่างจากตัวอำเภอเมืองประมาณ 17 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปชมได้ทุกฤดูกาล บริเวณโดยรอบเป็นลำธารและป่าเขา ถ้ำปลาตั้งอยู่บริเวณเชิงเขามีลักษณะเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 2 เมตร ลึก 1.50 เมตร ภายในแอ่งน้ำมีน้ำไหลออกจากถ้ำใต้ภูเขาอยู่ตลอดเวลา และมีปลาขนาดใหญ่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก คือ ปลาพลวงหิน หรือปลามุง หรือปลาคัง ซึ่งเป็นปลาที่มีเกล็ดขนาดใหญ่ในวงศ์เดียวกันกับปลาคาร์ป และถึงแม้จะมีอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่มีใครจับไปรับประทานหรือทำอันตราย เนื่องจากมีความเชื่อว่าเป็นปลาเจ้า หากใครนำไปรับประทานแล้วจะต้องมีอันเป็นไป โดยภายในถ้ำมีรูปปั้นฤๅษีอยู่เป็นเทพารักษ์ผู้ปกปักรักษาถ้ำและปลา นอกจากนี้แล้วยังมีปลาชนิดอื่น ๆ เช่น ปลากระแห, ปลาช่อนงูเห่า อีกสถานที่หนึ่งคือ น้ำตกผาเสื่อ เป็นน้ำตกที่ไหลมาจากน้ำตกแม่สะงาในพม่า เป็นน้ำตกขนาดกลางสูงประมาณ 10 เมตร กว้าง 15 เมตรในช่วงฤดูฝนจะมีน้ำไหลเต็มหน้าผากว้างทำให้ดูมีรูปร่างคล้ายเสื่อปูลาด จึงเป็นที่มาของชื่อน้ำตกผาเสื่อส่วนในฤดูแล้งจะมีน้ำน้อย แต่ก็มีถือว่าเป็นน้ำตกที่มีน้ำตลอดปี แม้จะสามารถมองเห็นหินที่สวยงามเหมาะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจแต่ทางอุทยานไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวลงเล่นน้ำเพราะน้ำค่อนข้างเชี่ยวและเป็นเหวลึกช่วงที่เหมาะสมจะไปท่องเที่ยวคือเดือนกรกฎาคม–กันยายน น้ำตกผาเสื่อตั้งอยู่ในเขตตำบลหมอกจำแป่ ห่างจากตัวอำเภอเมืองประมาณ 26 กิโลเมตร นอกจากนี้แล้วยังมีพรรณไม้ต่าง ๆ รวมถึงสัตว์ป่าต่าง ๆ เช่น กระทิง, เลียงผา, เก้ง, ชะมด, หมูป่า, เหยี่ยว และนกปรอ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอุทยานแห่งชาติถ้ำปลา–น้ำตกผาเสื่อ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์

น้ำตกแม่สุรินทร์ อุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ บ้านหัวแม่สุริน ตำบลแม่อูคอ ห่างจากตัวอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ประมาณ 50 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 247,875 ไร่ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2524 มีจุดเด่นคือเป็นน้ำตกชั้นเดียว ไหลจากหน้าผาสูงประมาณ 100 เมตร นับเป็นน้ำตกที่สูงที่สุดและได้ชื่อว่าเป็นน้ำตกที่สวยที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติแม่เงา

อุทยานแห่งชาติแม่เงา ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอแม่สะเรียง อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 257,650 ไร่ หรือ 412.24 ตารางกิโลเมตร จากการที่อุทยานแห่งชาติแม่โถ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ป่ารอบเขตอุทยานแห่งชาติแม่โถ เพื่อที่จะผนวกเข้าเป็นอุทยานแห่งชาติเพิ่มเติม และได้พบว่าพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ซึ่งอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนยังมีสภาพป่าที่สมบูรณ์เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งใหม่ และรายงานผลการสำรวจนี้ให้กรมป่าไม้ทราบ กรมป่าไม้จึงได้ออกคำสั่งที่ 1061/2536 ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2536 ให้นายนิรันดร์ กมลาพร นักวิชาการป่าไม้ 5 ปฏิบัติงานประจำอุทยานแห่งชาติภูกระดึง กองอุทยานแห่งชาติไปดำเนินการสำรวจข้อมูลรายละเอียดเบื้องต้น พื้นที่ป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย แปลงที่ 2 และพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ในระหว่างวันที่ 19 กรกฎาคม - 17 สิงหาคม 2536 ต่อมากรมป่าไม้ได้ออกคำสั่งที่ 614/2537 ลงวันที่ 17 เมษายน 2537 ให้นายนิรันดร์ กมลาพร ไปดำเนินการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมทั้งป่าท่าสองยาง จังหวัดตาก ป่าอมก๋อย จังหวัด เชียงใหม่ และจัดตั้งพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยให้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าอุทยานแห่งชาตินี้ด้วย และในการประชุมคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2538 วันที่ 18 พฤษภาคม 2538 มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ขณะนี้อยู่ระหว่างเสนอร่างพระราชกฤษฎีกา เพื่อกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติต่อไป มีเนื้อที่ประมาณ 257,650 ไร.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอุทยานแห่งชาติแม่เงา · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่อ

อ หรือภาษาถิ่นพายัพว่า ห้อ (ຮໍ່) บ้างเรียกว่า จีนยูนนาน เป็นการเรียกกลุ่มชนเชื้อสายจีนที่อพยพลงมาจากมณฑลยูนนานโดยไม่จำแนกว่านับถือศาสนาใด เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว มีทั้งอาศัยอยู่บนเทือกเขาและในเมือง ในประเทศไทยชาวจีนฮ่อมักอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง แล.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและฮ่อ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จั่น (พรรณไม้)

ั่นราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจั่น (พรรณไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต

แผนที่แสดงการแพร่กระจายของภาษากลุ่มจีน-ทิเบต (สีแดง) ตระกูลภาษาจีน – ทิเบต เป็นตระกูลของภาษาที่รวมภาษาจีนและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า มีสมาชิกทั้งสิ้น 250 ภาษา ส่วนใหญ่เป็นภาษาในเอเชียตะวันออกมีจำนวนผู้พูดเป็นอันดับสองของโลกรองจากภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ภาษาในตระกูลนี้มีลักษณะร่วมกันคือมีเสียงวรรณยุกต.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตระกูลภาษาจีน-ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาไท-กะได

ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตระกูลภาษาไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ซินตึ๊ง เกียรติบุษบา

ซินตึ๊ง เกียรติบุษบา ชื่อจริง ธวัช คำสม เกิด 6 กุมภาพันธ์หรือ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 เป็นชาวจังหวัดแม่ฮ่องสอน บางแห่งว่าเป็นชาวจังหวัดเชียงใหม่ สถิติการชก 18 ครั้ง ชนะ 11 (น็อค 10) แพ้ 7.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและซินตึ๊ง เกียรติบุษบา · ดูเพิ่มเติม »

ปกาเกอะญอ

ปกาเกอะญอ (ပှၤကညီ) หรือ กะเหรี่ยงสะกอ (စှီၤ) หรือ กะเหรี่ยงขาว เป็นกลุ่มชาวกะเหรี่ยงที่มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ พื้นที่แถบลุ่มน้ำต่างๆ บริเวณเทือกเขาตะนาวศรี เขตชายแดนไทย-พม่า มีหลักฐานการอยู่อาศัยมานาน เป็นชนเผ่าดั้งเดิมที่อยู่อย่างกระจัดกระจายมานานกว่า 100-200 ปี เช่น บริเวณลุ่มแม่น้ำวาง อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและปกาเกอะญอ · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล รุจนเสรี

นายประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตหัวหน้าพรรคประชามติ เจ้าของผลงานหนังสือ พระราชอำน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและประมวล รุจนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา จีนาคำ

นายปัญญา จีนาคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและปัญญา จีนาคำ · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ตัวอักษร190px) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ รูปแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนขุนลุมประพาส ตำบลจองคำ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นโรงเรียนในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและโรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ต-ตูน

น้ต-ตูน (Note Toon) เป็นศิลปินดูโอ้สัญชาติไทยประกอบด้วยสมาชิกคือโน้ต ณัฐกานต์ ประสพสายพรกุล และตูน สุภัชชา ปิตินันท.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและโน้ต-ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ไทลื้อ

ทลื้อ หรือ ไตลื้อ หรือ คนลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบสิบสองปันนาของจีน มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณีต่าง.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไทเขิน

ทเขิน หรือ ไทขึน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า มีบ้างที่อาศัยในประเทศไทย หรือจีน.

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและไทเขิน · ดูเพิ่มเติม »

เพชรงาม ชูวัฒนะ

รงาม ชูวัฒนะ หรือ นายสว่าง ตาจุมปา เกิดเมื่อ 27 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดแม่ฮ่องสอนและเพชรงาม ชูวัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.แม่ฮ่องสอนแม่ฮ่องสอน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »