โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดตราด

ดัชนี จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

63 ความสัมพันธ์: บุญส่ง ไข่เกษพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)พระวิมลเมธาจารย์ (เจ้ง จนฺทสโร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณยาภาธรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติกรมทางหลวงกฤษณาภาคตะวันออก (ประเทศไทย)มหาเถรสมาคมรัฐภูมิ อยู่พร้อมรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดตราดรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดตราดวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดตรีทศเทพวรวิหารวิทยาลัยชุมชนตราดสมเด็จพระราชาคณะสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)สุธี สุขสมกิจหมู่บ้านหูกวางอัมพร จินตกานนท์อำเภออำเภอบ่อไร่อำเภอขลุงอำเภอคลองใหญ่อำเภอแหลมงอบอำเภอโป่งน้ำร้อนอำเภอเกาะช้างอำเภอเกาะกูดอำเภอเมืองตราดอำเภอเขาสมิงอุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้วอ่าวไทยผู้สำเร็จราชการจังหวัดพระตะบองจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดโพธิสัตว์จังหวัดเกาะกงธรรมยุติกนิกายธีระ สลักเพชรธนิต ไตรวุฒิตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตร...ตำบลฉลาด วรฉัตรประเวศน์ ปฐวิกรณ์ยิมประเทศกัมพูชาประเทศไทยปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยแท่งทอง เกียรติทวีสุขเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจ้าอาวาสเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4เจ้าคณะใหญ่2 มิถุนายน ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

บุญส่ง ไข่เกษ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง ไข่เกษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดตราด เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเป็นอาจารย์ประจำวิทยาลัยนครราชสีม.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและบุญส่ง ไข่เกษ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)

ลตำรวจตรี พระพิจารณ์พลกิจ (9 มกราคม พ.ศ. 2435 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ ดำรงตำแหน่งระหว่างปี..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระวิมลเมธาจารย์ (เจ้ง จนฺทสโร)

หลวงพ่อเจ้ง จันทสโร (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2406 - 27 เมษายน พ.ศ. 2499) อดีตเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม และ อดีตเจ้าคณะจังหวัดตราด ได้รับการขนานนามว่า บิดาแห่งการศึกษาของจังหวัดตราด ในฐานะที่เป็นพระผู้เคร่งครัด ในพระธรรมวินัย เป็นนักปกครอง เป็นแบบอย่างที่ดีและที่สำคัญท่านให้การสนับสนุนทางการศึกษาในจังหวัดตราดเป็นอย่างมาก แม้แต่ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช ยังเคยย้ำพระราชดำรัสถึง 2 ครั้งว่า พระเจ้งเป็นพระที่ดีมาก.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระวิมลเมธาจารย์ (เจ้ง จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณยาภาธร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณยาภาธร เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 4 กับ เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติ ณ วันพุธ ขึ้นห้าค่ำ เดือนอ้าย ปีขาล ฉศก ตรงกับวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ แรมสามค่ำ เดือนสิบเอ็ด ปีระกา ตรงกับวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2428 พระชันษา 32 ปี ที่วังกรมหลวงอดิศรอุดมเดช ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ พระราชทานโกศกุดั่นใหญ่ ตั้งเมรุพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง เมื่อวันจันทร์ แรมสิบสองค่ำ เดือนแปด ปีจอ อัฐศก จุลศักราช 1248..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณยาภาธร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี (18 กันยายน พ.ศ. 2395 — 13 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ และเป็นพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติกาลพระราชบุตร แต่เมื่อมีพระประสูติกาล พระราชบุตรพระองค์นั้นก็ได้สิ้นพระชนม์ไปอย่างกระทันหันภายในเวลาอันสั้น พระองค์เจ้าทักษิณชาทรงเสียพระทัยยิ่งนักจนสูญเสียพระจริตในเวลาต่อมา และมิสามารถสนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในได้ต่อไป ทรงอยู่ในสภาพผู้ป่วยตลอดชีพตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็ง นพศก..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา

กฤษณา สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและกฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)

ตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและภาคตะวันออก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและมหาเถรสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐภูมิ อยู่พร้อม

รัฐภูมิ อยู่พร้อม อดีตทหารเรือชาวไทย จาก มติชน ผู้พายเรือคายัคคนเดียวเป็นระยะทาง 1500 ไมล์ ตลอดชายฝั่งทะเลอันดามัน และอ่าวไทย เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและรัฐภูมิ อยู่พร้อม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดตราด

รายชื่อวัดในจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและรายชื่อวัดในจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดตราด

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: จังหวัดตราดและวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดตรีทศเทพวรวิหาร

วัดตรีทศเทพ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและวัดตรีทศเทพวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนตราด

วิทยาลัยชุมชนตราด เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 เพื่อเป็นสถาบันที่จัดการศึกษาในจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา ตามนโยบายการกระจายการศึกษาสู่ท้องถิ่นของรัฐบาล ในระยะเริ่มต้นวิทยาลัยชุมชนตราด ได้ใช้ "สำนักงานจังหวัดตราด" เป็นสถานที่ปฏิบัติราชการของวิทยาลัย เนื่องจากอยู่ระหว่างการจัดตั้ง จนเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2549 จึงมีการย้ายที่ทำการจากสำนักงานจังหวัดตราด มายังอาคารเรียนของโรงเรียนวิเวกเมืองตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด ซึ่งยุบเลิกการจัดการเรียนการสอนไปแล้ว บนพื้นที่ 8 ไร่ 2 งาน ตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ 2 ถนนตราด-คลองใหญ่ ตำบลเนินทราย อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ในระยะเริ่มดำเนินการของวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้แต่งตั้งนางสมเสน่ห์ พ่วงพี อดีตหัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์จังหวัดตราด กรมสามัญศึกษา ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนตราด ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและวิทยาลัยชุมชนตราด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาคณะ

ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและสมเด็จพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)

มเด็จพระวันรัต ฉายา พฺรหฺมคุตฺโต (นามเดิม:จุนท์ พราหมณ์พิทักษ์) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร และผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สุธี สุขสมกิจ

ี สุขสมกิจ เกิดวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2521 เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเป็นเฮดโค้ชให้กับสโมสรลำปางเอฟซี โดย สุธี สุขสมกิจ ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นนักฟุตบอลคนแรกที่สามารถคว้าตำแหน่งดาวซัลโวไทยพรีเมียร์ลีกได้ถึง 2 ฤดูกาลติดต่อกัน โดยเขาทำได้ในฤดูกาล 2542 และฤดูกาล 2543 สมัยที่ยังเล่นให้กับสโมสรธนาคารกสิกรไทย ในนามทีมชาติไทย สุธี เริ่มสร้างชื่อเสียงจากทีมชาติไทยชุดเยาวชน จากการคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ในรุ่นอายุไม่เกิน 16 ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและสุธี สุขสมกิจ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หูกวาง

''Terminalia catappa'' หูกวาง เป็นไม้ยืนต้นประเภทผลัดใบ มีความสูงประมาณ 8-25 เมตร มีเปลือกเรียบ กิ่งแตกรอบลำต้นตามแนวนอนเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ โคนใบสอบแคบ เว้า ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ขนาดเล็ก มีสีขาวนวล ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ผลเป็นรูปไข่หรือรูปรีป้อม ๆ แบนเล็กน้อยคล้ายเมล็ดแอลมอนด์ มีขนาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร มีสีเขียว เมื่อแห้งมีสีดำคล้ำ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในเขตร้อนของอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ ไปจนถึงภูมิภาคโอเชียเนียและหมู่เกาะฮาวาย โดยมักจะพบประจำที่บริเวณชายหาดหรือป่าชายหาดริมทะเล เพราะเป็นไม้ที่ขึ้นได้ดีในดินแบบดินร่วนปนทราย มีประโยชน์โดยเปลือกและผลมีรสฝาดมาก ใช้แก้อาการท้องเสีย ย้อมหนังสัตว์ ทำหมึก เมล็ดในผลรับประทานได้ และให้น้ำมันคล้ายน้ำมันอัลมอนด์ นอกจากนี้แล้วใบของหูกวางโดยเฉพาะใบแห้ง เป็นที่รู้จักดีของผู้นิยมเลี้ยงปลาสวยงามหรือปลากัด เนื่องจากใช้ใบแห้งหมักน้ำที่ใช้เลี้ยงปลาได้ เพราะสารแทนนินในใบหูกวาง จะทำให้สภาพน้ำมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) สูงขึ้น เหมาะสำหรับใช้เลี้ยงปลาที่มาจากแหล่งน้ำที่มีค่าความเป็นกรดสูง ทั้งนี้ยังช่วยลดการสะท้อนแสงของน้ำ เพื่อให้ปลาสบายตา ไม่เสียสายตา รู้สึกปลอดภัย ไม่ใช้ปากคีดกระจก และใช้รักษาอาการบาดเจ็บของปลากัดได้เป็นอย่างดี เพราะมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราและแบคทีเรียได้เป็นอย่างดี หูกวางเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดตราด และเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยสยาม หูกวางยังมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ละจังหวัดหรือภูมิภาคด้วย เช่น โคน (นราธิวาส), ดัดมือ หรือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปัง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส), หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี) เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและหูกวาง · ดูเพิ่มเติม »

อัมพร จินตกานนท์

ลโทอัมพร จินตกานนท์ (พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2531) เป็น กรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ ตามประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 คณะบริหารประเทศชั่วคราว ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 ผู้มีชื่อเสียงในช่วง..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอัมพร จินตกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ่อไร่

อำเภอบ่อไร่ เป็นอำเภอขนาดเล็กในจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอบ่อไร่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอขลุง

ลุง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดจันทบุรี คำว่า "ขลุง" หมายถึงพื้นที่ลุ่ม น้ำท่วมถึง เดิมชาวขลุงมีอาชีพทำนาและประมง ปัจจุบันมีการปลูกผลไม้อย่างเป็นล่ำเป็นสัน ตามตำนานเล่ากันว่าชาวพื้นเมืองมีเชื้อสายจาก "ชอง" มีภาษาพูดเป็นภาษาชองซึ่งแตกต่างจากภาษาเขมรและไท.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอขลุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองใหญ่

ลองใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอคลองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแหลมงอบ

อำเภอแหลมงอบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอแหลมงอบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโป่งน้ำร้อน

อำเภอโป่งน้ำร้อน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอมะขาม อยู่ห่างจากอำเภอเมืองจันทบุรี 42.8 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอโป่งน้ำร้อน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกาะช้าง

อำเภอเกาะช้าง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอเกาะช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกาะกูด

กาะกูด เกาะกูด เป็นเกาะสุดท้ายแห่งน่านน้ำตะวันออกไทย ปัจจุบันรวมกับเกาะเล็ก ๆ ข้างเคียงมีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอเกาะกูด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตราด

อำเภอเมืองตราด เป็นอำเภอหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดตราด เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด และหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอเมืองตราด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาสมิง

อำเภอเขาสมิง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอำเภอเขาสมิง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว

อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองบอน ตำบลช้างทูน ตำบลบ่อพลอย ตำบลนนทรีย์ และตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ก่อนได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานมีฐานะเป็นป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่และป่าเขาไฟไหม้) โดยได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติอย่างไม่เป็นทางการเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2543 และเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดตร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและอ่าวไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการ

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ หรือ ข้าหลวงใหญ่ (governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์ (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่ง.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและผู้สำเร็จราชการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและจังหวัดพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโพธิสัตว์

ัตว์สำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและจังหวัดโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกาะกง

กาะกง (កោះកុង) เดิมไทยเรียก ปัจจันตคิรีเขตรรุ่งมณี เมฆโสภณ.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและจังหวัดเกาะกง · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: จังหวัดตราดและธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สลักเพชร

นายธีระ สลักเพชร (9 พฤศจิกายน 2500 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด หลายสมั.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและธีระ สลักเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ธนิต ไตรวุฒิ

นิต ไตรวุฒิ (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด 3 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและธนิต ไตรวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาด วรฉัตร

รืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดและกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ผู้ได้รับฉายาว่า "จอมอด".

ใหม่!!: จังหวัดตราดและฉลาด วรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศน์ ปฐวิกรณ์ยิม

ประเวศน์ สิงห์วังชา หรือ ณรงค์เวศน์ ขันต้น เป็นชาวจังหวัดตราด เกิดเมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2520 สถิติการชก 34 ครั้ง ชนะ 30 (น็อค 18) เสมอ 2 แพ้ 2.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและประเวศน์ ปฐวิกรณ์ยิม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก

ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก (leopard grouper) เป็นปลากระดูกแข็งในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) วงศ์ย่อย Epinephelinae มีชื่อสามัญอื่น ๆ ว่า "ปลากุดสลาด", "ปลาเก๋าจุดฟ้า" หรือ "ปลาย่ำสวาท" เป็นต้น ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กมีลำตัวแบนยาว มีความยาวลำตัวได้จนถึง 120 เซนติเมตร บริเวณรอบดวงตาแบน ไม่มีเกล็ด ก้านซี่เหงือกจำนวน 6–10 อัน หลังมีก้านครีบแข็ง 7–8 ก้าน ครีบที่ 3 หรือ 4 ยาวที่สุด ก้านครีบอ่อน 10–12 อัน ครีบอกมีก้านครีบอ่อน 15–17 อัน ครีบก้นมีก้านครีบแข็ง 3 อัน และก้านครีบอ่อน 8 อัน หางเป็นแบบตรงเว้ากลางเล็กน้อย สีลำตัวมีหลากหลายตั้งแต่สีเขียวมะกอกถึงแดงน้ำตาล สีส้มแดงถึงแดงเข้ม จะมีจุดสีฟ้าเล็ก ๆ บนหัวและแก้มมากกว่า 10 จุด และที่ลำตัว ยกเว้นใต้ท้อง พบในทะเลความลึกตั้งแต่ 3–100 เมตร พบชุกชุมแถบทะเลเขตร้อน ได้แก่ ประเทศไทย, อินเดีย, ศรีลังกา, พม่า, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, สิงคโปร์, ออสเตรเลียตอนเหนือ, ทะเลแดง, ทะเลอาหรับ และทวีปแอฟริกาตอนใต้ ในเขตอบอุ่นพบบ้างแต่ไม่มากเท่า ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กสืบพันธุ์วางไข่ในทะเล ลูกปลาจะเข้ามาเจริญเติบโตอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำ สามารถเปลี่ยนเพศได้ ขนาดสมบูรณ์เพศอายุประมาณ 3 ปี น้ำหนักตัวประมาณ 3 กิโลกรัม จะเป็นเพศเมียทั้งหมด เมื่อปลาเจริญเติบโตมีน้ำหนักตัวประมาณ 7 กิโลกรัม ก็จะเปลี่ยนเป็นเพศผู้ ดังนั้นการผสมพันธุ์ของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติจะเกิดจากปลาเพศผู้ที่มีขนาดใหญ่กับปลาเพศเมียที่มีขนาดเล็กกว่า ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายนจนถึงเมษายน แต่ละตัวสามารถวางไข่ได้ 208,000–269,500 ฟอง โดยปริมาณและคุณภาพของไข่ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของตัวปลา ปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็กเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีเนื้อรสชาติอร่อย มีราคาขายที่สูงกว่าปลากะรังชนิดอื่น ๆ โดยมีราคาขายตกถึงตัวละ 750–800 บาท จึงมีการเพาะเลี้ยงกันในกระชัง.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและปลากะรังจุดฟ้าจุดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดตราดและนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย · ดูเพิ่มเติม »

แท่งทอง เกียรติทวีสุข

แท่งทอง เกียรติทวีสุข มีชื่อจริงว่า แท่งทอง คลองจันทร์ (เดิมชื่อ: ทองแดง คลองจันทร์; ชื่อเล่น: แดง) เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2521 ที่ตำบลหนองบอน อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด เป็นนักมวยสากลชาวไทย และเป็นอดีตแชมป์มวยไทยหลายเวที.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและแท่งทอง เกียรติทวีสุข · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาจันทร์ในรัชกาลที่ 4 เป็นบุตรีคนรองสุดท้องของพระยาพิพิธสมบัติ (ทองสุก) ผู้สำเร็จราชการเมืองตราด มีมารดาเป็นชาวจังหวัดตราด คุณตาชื่อ “หยง” เป็นจีนฮกเกี้ยนที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายที่เมืองตราด คุณยายชื่อ “อิ่ม” เป็นคนพื้นเพเมืองตราด เมื่อพระยาพิพิธสมบัติถึงแก่อนิจกรรมในตอนต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บุตรชายคนหนึ่งของพระยาพิพิธสมบัติได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองตราดสืบต่อจากบิดา ท่านเจ้าเมืองคนใหม่นี้ภายหลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถ” และพระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถนี้เองที่เป็นผู้ชักชวนให้เจ้าจอมมารดาจันทร์ซึ่งขณะนั้นอยู่ในวัยรุ่นสาวมีรูปโฉมงดงามเป็นที่เลื่องลือไปทั่วเมืองตราด ให้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในพระบรมมหาราชวัง จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณชุบเลี้ยงให้เป็นพระสนมเอก พระราชทานเครื่องยศพานทองคำ เครื่องใช้สอยทองคำ หีบทองลงยาราชาวดี กับได้เบี้ยหวัดเงินปี ปีละ 10 ชั่ง เจ้าจอมมารดาจันทร์ได้รับราชการสนองคุณพระกรุณา ฯ ถวายพระประสูติกาลพระเจ้าลูกเธอและพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสิ้น 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่

้าคณะใหญ่ เป็นตำแหน่งทางพระสังฆาธิการระดับสูงในการปกครองคณะสงฆ์ไทย รองจากสกลมหาสังฆปริณายก โดยแบ่งการปกครอง ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและเจ้าคณะใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดตราดและ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.ตราดตราด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »