โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

ดัชนี จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

28 ความสัมพันธ์: ชาวจีนพ.ศ. 1897กบฏโพกผ้าแดงกลุ่มภาษาจีนภาษามองโกเลียภาษาเกาหลีมณฑลมณฑลยูนนานมณฑลเหอหนานราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์หยวนเหนือราชวงศ์โครยอลัทธิบัวขาวหนานจิงจอหงวนจักรพรรดิจักรพรรดิยฺเหวียนเจาจงจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิจีนจักรพรรดินีคีจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิข่านจักกาไทขงจื๊อปักกิ่งแม่น้ำแยงซีเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1897

ทธศักราช 1897 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและพ.ศ. 1897 · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโพกผ้าแดง

กบฏโพกผ้าแดง เป็นการกบฏในประเทศจีนราว..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและกบฏโพกผ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑล

มณฑล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม. มีประชากร ประมาณ 45,966,000 คน (2010) จีดีพี 10309.47 พันล้านหยวน (2012) ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น นอกจากนั้นยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆอีก 25 กลุ่มชาติพัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและมณฑลยูนนาน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหอหนาน

หอหนาน ตามสำเนียงกลาง หรือ ห้อหลำ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือชื่อย่อ อวี้ และชื่อเดิม จงโจว หรือ จงหยวน เป็นมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตอนกลางเยื้องทางตะวันออกของประเทศ อยู่ทางตอนกลางส่วนล่างของ แม่น้ำเหลือง (หวงเหอ) ซึ่งไหลผ่านเป็นระยะทาง 700 กว่ากิโลเมตร ถือเป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของจีน มีเมืองเอกชื่อ เจิ้งโจว (郑州) มีเนื้อที่ 167,000 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 97,170,000 คน ความหนาแน่น 582 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 881.5 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9070 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น มณฑลเหอหนานมีประชากรมากที่สุดในประเทศจีน ภูมิประเทศ ทิศตะวันตกเป็นเทือกเขาทอดตัวยาวสลับซับซ้อน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ทางตะวันออกเป็นพื้นที่ราบ สูงกว่าระดับน้ำทะเลราว 100 เมตร จุดที่สูงที่สุดของมณฑลอยู่ที่ยอดเหล่ายาช่า ในเมืองหลิงเป่า ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 2413.8 เมตร ภูมิอากาศมีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนกึ่งอบอุ่น มีฤดู 4 ฤดูอย่างชัดเจน อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี 13-15 องศาเซลเซียส เศรษฐกิจปี 2547 เหอหนันมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเท่ากับ 881,509 ล้านหยวน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 13.7 % อุตสาหกรรมเหอหนันถือเป็นฐานผลิตพลังงานที่สำคัญ มีธุรกิจถ่านหิน 65 ราย สามารถผลิตถ่านหินได้ปีละประมาณ 100 ล้านตัน เป็นที่ 2 ของจีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและมณฑลเหอหนาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวนเหนือ

ราชวงศ์หยวนเหนือ (Northen Yuan dynasty) ราชวงศ์ที่ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและราชวงศ์หยวนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิบัวขาว

ลัทธิบัวขาว (白蓮教 ไป๋เหลียนเจี้ยว) เป็นขบวนการทางศาสนาและการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์หยวน เป็นลัทธิบูชาพระแม่องค์ธรรมเป็นพระเป็นเจ้าสูงสุด และรอคอยยุคพระศรีอริยเมตไตรย ซึ่งเป็นอุตมรัฐที่เชื่อว่าสังคมจะรุ่งเรืองสงบสุขตลอดไป.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและลัทธิบัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

หนานจิง

หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ. 2470 ถึง พ.ศ. 2492 โดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีผู้นำขณะนั้น คือ นายพลเจียงไคเช็ค หลังสถาปนาเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลใหม่จึงได้ย้ายเมืองหลวงกลับมายังปักกิ่งดังเดิม บรรพบุรุษชาวหนานจิง จำนวนมากอพยพมาจากปักกิ่งตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง จึงมีส่วนทำให้ภาษาหนานจิงมีสำเนียงคล้ายภาษาจีนกลางที่ฟังเข้าใจได้ทั่วไป จนทำให้ปัจจุบันหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุดในประเทศจีน แต่เนิ่นๆการพัฒนา ตั้งแต่ 3 ราชอาณาจักรระยะเวลาหนานจิงได้กลายเป็นศูนย์แห่งอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมของหนานจิงราชวงศ์ถูกขยายเพิ่มเติมและเมืองกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่เจริญมากที่สุดในจีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและหนานจิง · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนเจาจง

หวียนเจาจง (23 มกราคม ค.ศ. 1340 – 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1378) หรือ ปี้หลี่เข่อถูข่าน อ้ายโหยวฉือหลี่ต๋าล่า (Biligtü Khan Ayushiridara) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์หยวนเหนือ จักรพรรดิยฺเหวียนเจาจงประสูติเมื่อวันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรพรรดิยฺเหวียนเจาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีคี

มเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลฉี (ภาษาจีน: 奇皇后; ภาษาเกาหลี: 기황후; ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1369) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค (ภาษาจีน: 完者忽都; ภาษามองโกล: Ölǰei Khutugh) เป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (ภาษาจีน: 惠宗 Huizong) ทอคอนเตมูร์ (ภาษามองโกล: toγan temür) มีพื้นเพเดิมเป็นชาวเกาหลีในสมัยอาณาจักรโครยอ เป็นสตรีที่ทรงอำนาจของจีนในสมัยราชวงศ์หยวนตอนปลาย นางสาวคีเกิดที่เมืองแฮงจู (ภาษาเกาหลี: Haengju; ปัจจุบันอยู่ทางตอนเหนือของโซล) ในค.ศ. 1315 เป็นบุตรสาวของคีจาโอ (ภาษาเกาหลี: Ki Ja-o 奇子敖) ขุนนางฝ่ายทหารคนหนึ่งของอาณาจักรโครยอ ไม่ปรากฏว่านางสาวคีนั้นมีชื่อเดิมเป็นภาษาเกาหลีว่าอย่างไร นางสาวคีมีพี่ชายชื่อว่า คี ชอล (ภาษาเกาหลี: Ki Cheol 奇轍) ในค.ศ. 1332 ทางฝ่ายราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์คือ พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ นางสาวคีอายุสิบเจ็ดปีได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบรรดาสาวดรุณีที่ราชสำนักโครยอต้องส่งมอบให้แก่ราชสำนักหยวนเป็นบรรณาการ นางสาวคีจึงจำต้องจากบ้านเกิดของตนเองไปยังกรุงต้าตู (Dadu) อันเป็นราชธานีของราชวงศ์หยวน หรือปักกิ่งในปัจจุบัน เพื่อเป็นนางในคอยปรนนิบัติรับใช้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์ ด้วยความช่วยเหลือของโคยงโบ (ภาษาเกาหลี: Go Yongbo 고용보) ขันทีชาวเกาหลีในราชสำนักหยวน ทำให้นางในคีได้มีโอกาสทำหน้าที่ถวายเครื่องดื่มและน้ำชาแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์อย่างใกล้ชิด จนเป็นที่ต้องพระเนตรของจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ ในค.ศ. 1340 พระสนมตระกูลคีได้ให้กำเนิดพระโอรสองค์แรกแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ คือ เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ (ภาษามองโกล: Ayushiridara) พระสนมตระกูลคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ พระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค แม้ว่าในขณะนั้นพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์จะทรงมีพระจักรพรรดินีอยู่แล้วก็ตามคือ พระจักรพรรดินี บายันคูตูค (ภาษามองโกล: Bayan Khutugh) เท่ากับว่าในเวลานั้นราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดินีในเวลาเดียวกันสองพระองค์ พระจักรพรรดินีดีทรงมีขันทีชาวเกาหลีคนสนิทคือ พัคบุลฮวา (ภาษาเกาหลี: Bak Bulhwa 박불화) ที่คอบรับใช้พระจักรพรรดินีทำงานต่างๆ ในค.ศ. 1353 พระจักรพรรดินีคีวางแผนร่วมกับพัคบุลฮวา และขุนนางมองโกลชื่อว่าฮามา (Hama) ทำการโน้มน้าวให้พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์แต่งตั้งเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์พระโอรสของพระนางเป็นไท่จื่อหรือเจ้าชายรัชทายาท แต่แผนการนี้ถูกอัครเสนาบดีทอคตอค (Toghtogha) คัดค้าน พระจักรพรรดินีคีจึงทรงกำจัดทอคตอคด้วยการสร้างข้อกล่าวทุจริตฉ้อฉลแก่โทคตา เป็นเหตุให้ทอคตอคถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศออกไปในค.ศ. 1354 และเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทในปีเดียวกัน ด้วยฐานะพระจักรพรรดินีแห่งหยวน ทำให้ตระกูลคีของพระนางเรืองอำนาจอยู่ในอาณาจักรโครยอบ้านเกิด พระเชษฐาคีชอลกลายเป็นผู้กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงและมีชื่อเสียงในด้านความทุจริตฉ้อฉล เป็นตัวแทนของมองโกลคอยกำกับดูแลให้ราชสำนักโครยอปฏิบัติตามนโยบายของหยวน แม้แต่พระมารดาของจักรพรรดินีคีนั้นก็มีศักดิ์สูงกว่าพระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (Gongmin of Goryeo) จนกษัตริย์เกาหลีต้องทรงทำความเคารพมารดาของพระนาง พระเจ้าคงมินทรงตัดสินพระทัยนำทัพเข้ายึดอำนาจจากตระกูลคี สังหารคีชอลรวมทั้งมารดาและสมาชิกครอบครัวคีไปจนหมดสิ้นในค.ศ. 1356 สร้างความพิโรธแค้นให้แก่จักรพรรดินีคีเป็นอย่างมากจึงส่งทัพบุกไปยังอาณาจักรโครยอเพื่อปลดพระเจ้าคงมินจากบัลลังก์แล้วตั้งเจ้าชายทัชเตมูร์ (Tash Temür) เป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์ใหม่ แต่ทัพมองโกลก็ได้ถูกทัพเกาหลีตีแตกพ่ายไป ในค.ศ. 1364 เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์เจริญชันษาขึ้นมาจึงคิดชิงราชบัลลังก์หยวนจากพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์พระบิดา แต่ทว่าแผนการล่วงรู้ไปถึงพอดลัดเตมูร์ (Bolad Temür) ผู้เป็นพระบิดาของพระจักรพรรดินีบายันคูตูค พอดลัดเตมูร์จึงนำกองกำลังเข้ายึดเมืองต้าตูข่านบาลิกเป็นเหตุให้เจ้าชายรัชทายาทต้องเสด็จหนีออกจากเมือง พอดลัดเตมูร์จับองค์จักรพรรดินีคีไว้เป็นตัวประกันและสังหารขันทีพัคบุลฮวา เมื่อทราบว่าเจ้าชายอายูร์ชีรีดาด้วยการสนับสนุนของโคเกเตมูร์ (Köke Temür) หมายจะยกทัพเข้ามายึดเมืองคืน พอดลัดเตมูร์จึงได้บังคับให้พระจักรพรรดินีดีออกพระราชเสาวนีย์เรียกให้พระโอรสมาเข้าเฝ้าตัวเปล่า แต่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ก็มิได้ทำตาม ยกทัพเข้ายึดเมืองต้าตูคืนได้สำเร็จ พอดลัดเตมูร์ถูกลอบสังหารโดยคนที่พระจักรพรรดิทรงส่งมา พระจักรพรรดินีคีและเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ประสงค์จะให้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์สละราชบัลลังก์ ซึ่งพระจักรพรรดิไม่ทรงยอมแต่มอบตำแหน่งทางทหารให้แก่พระโอรสจนเป็นที่พอพระทัย ในค.ศ. 1365 พระจักรพรรดินีบายันคูตูคสิ้นพระชนม์ พระจักรพรรดินีคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีเพียงหนึ่งเดียวของราชวงศ์หยวน อีกเพียงสามปีต่อมาค.ศ. 1368เมืองต้าตูข่านบาลิกเสียให้แก่พระจักรพรรดิหงหวู่ (Hongwu Emperor) จูหยวนจาง (ภาษาจีน: 朱元璋 Zhu Yuanzhang) แห่งราชวงศ์หมิง พระจักรพรรดิตอคอนเตมูร์พร้อมทั้งพระจักรพรรดินีคีและพระโอรสเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทั้งสามพระองค์เสด็จหนีไปยังเมืองซ่างตู (ภาษาจีน: 上都 Shangdu ปัจจุบันอยู่ในเขตมองโกเลียใน) ต่อมาค.ศ. 1370 เมืองซ่างตูเสียให้แก่ราชวงศ์หมิง ทั้งสามพระองค์จึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองอิงชาง (ภาษาจีน: 應昌 Yingchang) ซึ่งพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ประชวรสวรรคตที่นั่น ในปีเดียวกันทัพราชวงศ์หมิงตามมาถึงเมืองอิงชาง พระจักรพรรดินีคีพร้อมพระโอรสจึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองคาราโครุม (Karakorum) หลังจากที่เสด็จหนีไปยังมองโกเลียแล้วไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระจักรพรรดินีคีอีกเลย นักประวัติศาสตร์คาดการณ์ว่าหลังจากที่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทรงก่อตั้งราชวงศ์หยวนเหนือ ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิหยวนเจ้าจง (ภาษาจีน: 昭宗 Zhaozong) พระจักรพรรดินีคีน่าจะดำรงตำแหน่งเป็นไทเฮาอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะสิ้นพระชนม์ไปโดยที่ไม่ทราบว่าเป็นปีใ.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรพรรดินีคี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิข่านจักกาไท

ักรวรรดิข่านจักกาไท (Chagatai Khanate หรือ Chagata, Chugta, Chagta, Djagatai, Jagatai, Chaghtai) เป็นจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาเปลี่ยนไปเป็นเตอร์กิก จักรวรรดิข่านปกครองโดยข่านจักกาไทพระราชโอรสองค์ที่สองของเจงกีส ข่าน และผู้สืบเชื้อสายต่อจากพระองค์ เดิมจักรวรรดิข่านจักกาไทเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาแยกตัวมาเป็นอาณาจักรอิสระ ในจุดที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 จักรวรรดิข่านมีอาณาบริเวณตั้งแต่แม่น้ำอามูดาร์ยา (Amu Darya) ทางใต้ของทะเลอารัลไปจนถึงเทือกเขาอัลไตในบริเวณเขตแดนที่ปัจจุบันคือมองโกเลียและจีน จักรวรรดิข่านรุ่งเรืองในรูปใดรูปหนึ่งมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1220 จนกระทั่งถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าทางครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิจะเสียไปกับตีมูร์ ในคริสต์ทศวรรษ 1360 แต่ครึ่งตะวันออกยังคงอยู่ในมือของข่านจักกาไทที่บางครั้งก็เป็นปฏิปักษ์ต่อหรือบางครั้งก็เป็นพันธมิตรกับผู้ครองจักรวรรดิตีมูร์ต่อมา ในที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จักรวรรดิข่านจักกาไทที่ยังคงเหลือก็ตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของระบบเทวาธิปไตยของ Apaq Khoja และผู้สืบเชื้อสาย, โคจิจัน (Khojijan) ผู้ครองเติร์กสถานตะวันออก (East Turkestan) ภายใต้ดซุงการ์ (Dzungar) และในที่สุดประมุขของแมนจู.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและจักรวรรดิข่านจักกาไท · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง หรือ กวางสี หรือ กวางไซ (จ้วง: Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih) หรือชื่อย่อว่า กุ้ย (桂; จ้วง: Gvei) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกคือหนานหนิง.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตปกครองตนเองมองโกเลียใน (มองโกล) มีลักษณะพื้นที่แคบยาวพาดตามชายแดนภาคเหนือของจีน กั้นระหว่างจีนกับประเทศมองโกเลียและรัสเซีย มีเมืองหลวงชื่อ ฮูฮอต มีเนื้อที่ 1,183,000 ก.ม.

ใหม่!!: จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงและเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Toghon Temürยฺเหวียนฮุ่ยจงหยวนฮุ่ยจงจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »