โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 vs. จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

หมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 (1 John) เป็นหนังสือฉบับที่ 23 ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด หนังสือเล่มนี้แต่แรกเป็นจดหมาย ซึ่งแม้ว่าจะไม่ได้ระบุชื่อผู้เขียนว่าเป็นใคร แต่คริสตจักรในยุคแรกเชื่อต่อกันมาว่า ผู้เขียนคือยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารที่ได้เขียนพระวรสารนักบุญยอห์น อันเป็นหนึ่งในสี่พระวรสาร และจากการวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่า ทั้งตอนเริ่มต้นของจดหมายและเนื้อหาภายในจดหมายถึง 11 ประโยคคล้ายกันกับในพระวรสารนักบุญยอห์น ผู้เชี่ยวชาญจึงสรุปตรงกัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้ยากที่จะระบุให้ชัดเจนได้ แต่จากหลักฐานอื่น ๆ ประกอบ พอจะคาดได้ว่าเป็นช่วงปลายศตวรรษแรก หรือราวปี.. หมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 (Second Epistle of John) เป็นหนังสือฉบับที่ 24 ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด หนังสือเล่มนี้แต่แรกเป็นจดหมาย ส่งถึงผู้รับที่ไม่ได้เอ่ยนาม เพียงแต่ถูกเรียกว่า ท่านสุภาพสตรีที่ทรงเลือกไว้และบรรดาบุตร ส่วนชื่อผู้เขียนก็ไม่ได้ระบุเช่นกัน แต่ผู้เขียนเรียกตนเองว่า ข้าพเจ้าผู้ปกครอง คริสตจักรในยุคแรกเชื่อต่อกันมาว่า ผู้เขียนคือยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร ผู้เดียวกันกับที่ได้เขียนพระวรสารนักบุญยอห์นและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 อันเป็นจดหมายฉบับแรกก่อนหน้านี้ด้วย จากการวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่า ในจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 มีเนื้อหาภายในจดหมายหลายข้อความที่คล้ายกัน เช่น 2 ยอห์น 5 กับ 1 ยอห์น 2:7, 2 ยอห์น 6 กับ 1 ยอห์น 5:3, 2 ยอห์น 7 และ 1 กับ 1 ยอห์น 4:2 - 3 และ 2 ยอห์น 12 กับ 1 ยอห์น 1:4 เป็นต้น ผู้เชี่ยวชาญจึงสรุปตรงกันว่าเป็นผู้เขียนคนเดียวกัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้น่าจะใกล้เคียงกับฉบับแรก นั่นคือช่วงปลายศตวรรษแรก หรือราวปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระวรสารนักบุญยอห์นพระเยซูพันธสัญญาใหม่ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3จดหมายของนักบุญยากอบจดหมายของนักบุญยูดาจดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2คริสตจักรคริสต์ศาสนิกชนคัมภีร์ไบเบิล

พระวรสารนักบุญยอห์น

ระวรสารนักบุญยอห์น (ศัพท์คาทอลิก) หรือ พระกิตติคุณยอห์น (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Gospel of John; ภาษากรีก: Κατά Ιωαννην, “Kata Iōannēn”) เป็นพระวรสารฉบับที่สี่ของ “พระวรสารในสารบบ ” (Canonical gospels) ซึ่งเป็นเอกสารหนึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ แต่มิได้ถูกนับเป็นพระวรสารสหทรรศน์สามฉบับซึ่งประกอบด้วยพระวรสารนักบุญมาระโก พระวรสารนักบุญลูกา และ พระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญยอห์น เป็นพระวรสารที่เขียนโดยยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร ชาวคริสต์เชื่อว่าเป็นท่านเดียวกับยอห์นอัครทูตซึ่งเป็น "สาวกที่พระองค์ทรงรัก" (john 13:23 One of his disciples, whom Jesus loved, was reclining at table close to Jesus) ผู้ซึ่งรู้วิถีชีวิตของชาวยิวเป็นอย่างดี และได้อ้างถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวอยู่หลายบทในพระวรสารเล่มนี้ ยอห์นเป็นอัครทูตแห่งความรัก ไม่มีใครบรรยายถึงพระลักษณะของพระเจ้าได้อย่างยอห์น เช่น "เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์" กับอีกหลายเหตุการณ์ที่ยอห์นบรรยายถึงพระเยซูได้อย่างจับใจ แสดงว่าเรื่องราวต่างๆถูกบันทึกจากความทรงจำที่ได้เห็นมากับตา พระวรสารเล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นประมาณปี..85 หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย เช่นเดียวกับพระวรสารอีกสามฉบับที่เล่าเรื่องชีวิตของพระเยซูคริสต์ แต่บางเหตุการณ์มีการตีความอย่างละเอียด พระวรสารนักบุญยอห์นเป็นพระวรสารของ “ความเชื่อ” ที่เขียนขึ้นเพื่อจะยืนยันกับผู้อ่านว่าพระเยซูเป็น "พระเมสสิยาห์" และเป็น “พระบุตรพระเป็นเจ้า” ดังที่ปรากฏอยู่ในพระวรสารว่า "แต่การที่ได้บันทึกเหตุการณ์เหล่านี้ไว้ ก็เพื่อท่านทั้งหลายจะได้เชื่อว่า พระเยซูทรงเป็นพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า และเมื่อมีความเชื่อแล้ว ท่านก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์" *คือการเข้าอาศัยอยู่ในพระเยซูคริสต์ รักษาชีวิตให้บริสุทธิ์ดั่งพระองค์ เชื่อและปฏิบัติตามคำสั่ง และคำสอนของพระองค์ ในแง่ของเทววิทยาศาสนาคริสต์แล้ว พระวรสารนักบุญยอห์นเป็นฉบับที่มีน้ำหนักที่สุดในทางคริสตวิทยา (Christology) ซึ่งบรรยายพระเยซูพระบุตรของพระเจ้าว่าเป็น “พระวจนะ” (Logos) (ภาษากรีกหมายความว่า “คำ” “เหตุผล” “ความเป็นเหตุเป็นผล” “ภาษา” หรือ “โอวาท”) ผู้เป็น “Arche” (ภาษากรีกหมายความว่า “ผู้เป็นตัวตนมาตั้งแต่ต้น” หรือ “เป็นสิ่งที่สุดของทุกอย่าง”), กล่าวถึงความเป็นผู้ที่มาช่วยมวลมนุษย์ และประกาศพระองค์ว่าเป็นพระเจ้า พระวรสารของยอห์นได้รับการทรงนำจากพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมเป็นอย่างมาก บทเริ่มต้นของพระวรสารนำผู้อ่านกลับไปสู่ช่วงก่อนกาลเวลา ซึ่งมีแต่พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงเป็นอยู่ คล้ายกับบทเริ่มต้นในพระธรรมปฐมกาลที่พระเจ้าทรงสร้างโลก รวมทั้งการกล่าวถึงเทศกาลของชาวยิวอยู่บ่อยๆ "ใน​ปฐม​กาล​พระ​วาทะ​ดำรง​อยู่ และ​พระ​วาทะ​ทรง​สถิต​อยู่​กับ​พระ​เจ้า และ​พระ​วาทะ​ทรง​เป็น​พระ​เจ้า ใน​ปฐม​กาล​พระ​องค์​ทรง​ดำรง​อยู่​กับ​พระ​เจ้า​ ​พระ​เจ้า​ทรง​สร้าง​สิ่ง​ทั้ง​ปวง​ขึ้น​มา​โดย​พระ​วาทะ ใน​บรรดา​สิ่ง​ที่​เป็นมา​นั้น ไม่​มี​สัก​สิ่ง​เดียว​ที่​ได้​เป็นมา​นอกเหนือ​พระ​วาทะ​ ​พระ​องค์​ทรง​เป็น​แหล่ง​ชีวิต และ​ชีวิต​นั้น​เป็น​ความ​สว่าง​ของ​มนุษย์​ ความ​สว่าง​ส่อง​เข้า​มา​ใน​ความ​มืด และ​ความ​มืด​หา​ได้​ชนะ​ความ​สว่าง​ไม่" (john 1:1-5) พระวรสารฉบับนี้กล่าวถึงพระเยซูอย่างมีเนื้อหา มีคำสอนเป็นอันมากที่พระองค์ทรงสอนกับสาวก อีกทั้งยังได้บันทึกเหตุการณ์บางอย่างที่พระวรสารเล่มอื่นไม่ได้กล่าวถึงไว้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาที่เรียกว่า "ห้องชั้นบน" เป็นช่วงเวลาของการร่วมรับประทานอาหารค่ำมื้อสุดท้าย พระเยซูคริสต์ตรัสเป็นส่วนตัวกับเหล่าสาวกของพระองค์ถึงเรื่องความรอด ประตูซึ่งนำไปสู่ความรอด พระบัญญัติแห่งพระเยซู ความรักที่พระองค์มีให้ต่อเหล่าสาวก การเปิดเผยถึงการทรยศของยูดาส อิสคาริโอท​ การสำแดงพระเจ้าและพระเยซูคริสต์ถึงความเป็นหนึ่งเดียว การเปิดเผยและทำนายการตายของพระองค์เอง และฟื้นขึ้นในวันที่สาม และความชื่นชมยินดี ยอห์นได้รับการทรงนำในการเขียนพระวรสารเล่มนี้ และพระวรสารเล่มนี้ได้บอกให้ทราบว่า พระเยซูทรงเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า เพราะว่าตั้งแต่ก่อนที่พระเยซูคริสต์จะเสด็จเข้ามาในโลก พระองค์ทรงดำรงอยู่กับพระเจ้า และยอห์นได้เน้นคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ของพระเยซู เช่น พระองค์มีความรู้สึกเหมือนมนุษย์ มีการกันแสงด้วยความเศร้าเสียใจ ฯลฯ ยอห์นยังได้บันทึกพระวรสารเล่มนี้ เพื่อให้ผู้ใดที่เชื่อในพระเยซู แล้ว "ก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์" *พระองค์โปรดประทานพระนามพระองค์ให้เหล่าผู้เชื่อ เพื่อเป็นสิทธิอำนาจในการอธิษฐาน และเกิดขึ้นจริงตามนั้นโดยพระนามของพระองค์ และยอห์นบอกเล่าถึงเหตุการณ์ล่วงหน้า เช่น "เราเป็นผู้เลี้ยงที่ดี ผู้เลี้ยงที่ดีนั้นย่อมสละชีวิตของตนเพื่อฝูงแกะ" ซึ่งนำมาสู่การสิ้นพระชนม์บนกางเขนของพระองค์ เพื่อไถ่บาปแก่คนที่เชื่อในพระองค์ทั้งสิ้น ให้ได้รับความรอดจากการถูกพิพากษา เป็นต้น พระวรสารนักบุญยอห์น ใช้ “ยอห์น” หรือ “ยน” ในการอ้างอิง.

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และพระวรสารนักบุญยอห์น · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และพระวรสารนักบุญยอห์น · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และพระเยซู · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาใหม่

ันธสัญญาใหม่ หรือ พระคริสตธรรมใหม่ (Καινή Διαθήκη; New Testament) เป็นภาคที่สองของคัมภีร์ไบเบิล จากทั้งหมด 2 ภาค ประกอบด้วยหนังสือภาษากรีกทั้งสิ้น 27 เล่ม ทุกเล่มเขียนโดยนักบุญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอัครทูตและนักบุญในช่วงเวลาเดียวกัน และทุกเล่มเขียนขึ้นหลังการตรึงพระเยซูที่กางเขน แม้ว่าพระเยซูจะไม่ได้ทรงเขียนด้วยพระองค์เอง แต่คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าผู้เขียนได้เขียนขึ้นจากการดลใจและการทรงนำของพระเป็นเจ้าและพระเยซูผ่านทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส่วนชาวมุสลิมแม้จะนับถือพระเยซูเป็นนบีอีซา แต่ก็ไม่ยอมรับคัมภีร์ไบเบิลในปัจจุบันว่าเป็นพระวจนะของพระเจ้า เพราะนักวิชาการอิสลามเห็นว่าคัมภีร์นี้ถูกตัดเสริมแต่งและสังคายนากันหลายครั้ง.

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และพันธสัญญาใหม่ · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และพันธสัญญาใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร

อห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร (John the Evangelist; “יוחנן” (The LORD); ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: “Yoḥanan”, ภาษาฮีบรูไทบีเรียน: “Yôḥānān”) หรือที่เรียกว่า “สาวกผู้เป็นที่รัก” (Beloved Disciple)) (เสียชีวิตประมาณปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1

หมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 (1 John) เป็นหนังสือฉบับที่ 23 ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด หนังสือเล่มนี้แต่แรกเป็นจดหมาย ซึ่งแม้ว่าจะไม่ได้ระบุชื่อผู้เขียนว่าเป็นใคร แต่คริสตจักรในยุคแรกเชื่อต่อกันมาว่า ผู้เขียนคือยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารที่ได้เขียนพระวรสารนักบุญยอห์น อันเป็นหนึ่งในสี่พระวรสาร และจากการวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่า ทั้งตอนเริ่มต้นของจดหมายและเนื้อหาภายในจดหมายถึง 11 ประโยคคล้ายกันกับในพระวรสารนักบุญยอห์น ผู้เชี่ยวชาญจึงสรุปตรงกัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้ยากที่จะระบุให้ชัดเจนได้ แต่จากหลักฐานอื่น ๆ ประกอบ พอจะคาดได้ว่าเป็นช่วงปลายศตวรรษแรก หรือราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

หมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 (Second Epistle of John) เป็นหนังสือฉบับที่ 24 ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด หนังสือเล่มนี้แต่แรกเป็นจดหมาย ส่งถึงผู้รับที่ไม่ได้เอ่ยนาม เพียงแต่ถูกเรียกว่า ท่านสุภาพสตรีที่ทรงเลือกไว้และบรรดาบุตร ส่วนชื่อผู้เขียนก็ไม่ได้ระบุเช่นกัน แต่ผู้เขียนเรียกตนเองว่า ข้าพเจ้าผู้ปกครอง คริสตจักรในยุคแรกเชื่อต่อกันมาว่า ผู้เขียนคือยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร ผู้เดียวกันกับที่ได้เขียนพระวรสารนักบุญยอห์นและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 อันเป็นจดหมายฉบับแรกก่อนหน้านี้ด้วย จากการวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่า ในจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 มีเนื้อหาภายในจดหมายหลายข้อความที่คล้ายกัน เช่น 2 ยอห์น 5 กับ 1 ยอห์น 2:7, 2 ยอห์น 6 กับ 1 ยอห์น 5:3, 2 ยอห์น 7 และ 1 กับ 1 ยอห์น 4:2 - 3 และ 2 ยอห์น 12 กับ 1 ยอห์น 1:4 เป็นต้น ผู้เชี่ยวชาญจึงสรุปตรงกันว่าเป็นผู้เขียนคนเดียวกัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้น่าจะใกล้เคียงกับฉบับแรก นั่นคือช่วงปลายศตวรรษแรก หรือราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3

หมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 (Third Epistle of John) เป็นหนังสือเล่มที่ 25 ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายทั่วไป อันได้แก่ ยากอบ 1 เปโตร 2 เปโตร 1 ยอห์น 2 ยอห์น 3 ยอห์น และ ยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสเตียนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด พระธรรมเล่มนี้แต่แรกเป็นจดหมาย ส่งถึงผู้รับที่มีชื่อว่า กายอัส (ผู้ซึ่งถูกอ้างถึงครั้งหนึ่งใน กิจการของอัครทูต 19:29) ส่วนชื่อผู้เขียนไม่ได้ระบุ แต่ผู้เขียนเรียกตนเองว่า ข้าพเจ้าผู้ปกครอง เช่นเดียวกันกับใน 2 ยอห์น คริสตจักรในยุคแรกเชื่อสืบกันมาว่าผู้เขียนคือนักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารซึ่งประพันธ์พระวรสารนักบุญยอห์น 1 ยอห์น และ2 ยอห์น อันเป็นจดหมายฉบับก่อนหน้านี้ด้วย จากการวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่า ใน2 ยอห์น และ3 ยอห์น มีเนื้อหาภายในจดหมายบางตอนที่ใช้ข้อความเดียวกัน เช่น "รักเนื่องในสัจจะ" ใน 2 ยอห์น 1 กับ 3 ยอห์น 1 หรือข้อความคล้ายกัน เช่น "ดำเนินตามสัจจะ" ใน 2 ยอห์น 4 กับ "ประพฤติตามสัจธรรม" ใน 3 ยอห์น 4 เป็นต้น นอกจากนี้รูปแบบของจดหมายยังเหมือนกันอีกด้วย ผู้เชี่ยวชาญจึงสรุปตรงกันว่าเป็นผู้เขียนคนเดียวกัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้น่าจะใกล้เคียงกับสองฉบับแรก นั่นคือช่วงปลายศตวรรษแรก หรือราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญยากอบ

หมายของนักบุญยากอบ (Epistle of James) เป็นหนังสือเล่มที่ 20 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายทั่วไป อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสตชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด หนังสือเล่มนี้เดิมเป็นจดหมายของท่านยากอบ ซึ่งน่าจะเป็นยากอบผู้ชอบธรรม น้องชายของพระเยซู ในช่วงก่อนการตรึงพระเยซูที่กางเขน ยากอบไม่เพียงแต่ไม่ได้เชื่อในพระเยซูเท่านั้น แต่ยังไม่เข้าใจและท้าทายในสิ่งที่พระเยซูทรงทำอีกด้วย ต่อมาภายหลังการคืนพระชนม์ของพระเยซู ท่านยากอบจึงกลับใจเชื่อและกลายเป็นผู้นำคริสตจักรคนสำคัญในกรุงเยรูซาเลม เนื้อหาในจดหมายเป็นเรื่องเกี่ยวกับชาวยิวอย่างเด่นชัด ไม่ได้กล่าวถึงการกลับใจของชาวต่างชาติ ดังนั้นจึงพอจะคาดได้ว่า จดหมายฉบับนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นในช่วงที่ยิวมีอำนาจเหนือคริสตจักร ซึ่งก็จะอยู่ในราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยากอบ · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญยากอบ · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญยูดา

หมายของนักบุญยูดา (Epistle of Jude) เป็นหนังสือเล่มที่ 26 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายทั่วไป อันได้แก่ ยากอบ 1 เปโตร 2 เปโตร 1 ยอห์น 2 ยอห์น 3 ยอห์น และ ยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสตชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด แต่เดิมพระธรรมเล่มนี้เป็นจดหมายส่วนตัว ผู้เขียนระบุชื่อของตนเองชัดเจนตั้งแต่ตอนต้นว่าเป็น ยูดา ทั้งยังบอกด้วยว่าเป็น น้องของ ยากอบ เมื่อวิเคราะห์เนื้อหาในจดหมายรวมกับหลักฐานอื่นๆแล้ว เชื่อได้ว่าผู้เขียนคือยูดาน้องชายของพระเยซู จดหมายถูกส่งถึงผู้รับที่ไม่ได้ระบุชื่อ แต่ถูกเรียกว่า "คนทั้งหลายที่พระองค์ได้ทรงเรียกไว้" ซึ่งน่าจะเป็นคริสเตียนทั่วไปที่กระจัดกระจายอยู่ในจักรโรมัน ช่วงเวลาในการเขียนจดหมายฉบับนี้น่าจะอยู่ในราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยูดา · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญยูดา · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1

หมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 (The First Epistle of Peter) เป็นหนังสือเล่มที่ 21 ของคัมภีร์ไบเบิลพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด แต่แรกหนังสือเล่มนี้เป็นจดหมายซึ่งระบุว่าผู้เขียนคือซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาในจดหมายที่มีการอ้างถึงข้อความในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมหลายข้อ มีการใช้คำศัพท์เฉพาะเกี่ยวกับพระวรสาร และมีคำกล่าวของอัครทูตเปโตรอยู่หลายตอนแล้ว ก็เป็นข้อสนับสนุนว่าอัครทูตเปโตรได้เขียนจดหมายนี้เอง จดหมายฉบับนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2

หมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 (The Second Epistle of Peter) เป็นหนังสือเล่มที่ 22 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในเจ็ดจดหมายสากล อันได้แก่ จดหมายของนักบุญยากอบ จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 3 และจดหมายของนักบุญยูดา เนื่องจากจดหมายเหล่านี้ถูกส่งถึงคริสต์ศาสนิกชนทั่วไป ไม่ได้ระบุว่าเป็นคริสตจักรใด เดิมทีหนังสือเล่มนี้เป็นจดหมาย ซึ่งในตอนต้นระบุว่าผู้เขียนคือซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู จากข้อความในจดหมายที่ว่าจดหมายฉบับนี้เป็นฉบับที่สอง และเรียกนักบุญเปาโลว่าน้องที่รักของเรา รวมถึงเนื้อหาอื่นๆในจดหมายแล้ว ก็น่าจะเชื่อได้ว่าเป็นอัครทูตเปโตรได้เขียนจดหมายนี้เอง จดหมายฉบับนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นราวปี..

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 · จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปโตร ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักร

ริสตจักร (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระศาสนจักร (ศัพท์คาทอลิก) (Christian Church; The Church) คือประชาคมของผู้เชื่อและยอมรับว่าพระเยซูเป็นพระคริสต์ มาบังเกิดเป็นมนุษย์เพื่อช่วยไถ่มนุษย์จากบาปราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 152 ประชาคมนี้ถือเป็นหนึ่งเดียวกัน หากเปรียบเป็นร่างกาย พระเยซูคือศีรษะ และคริสตจักรคือร่างกายส่วนอื่น ๆ ทั้งหมด หรืออีกนัยหนึ่งคือคริสตชนทุกคนเปรียบเหมือนอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกายเดียวกัน โดยมีพระเยซูทรงเป็นหลัก และคริสตชนทุกคนจะร่วมกันปฏิบัติพันธกิจคือการประกาศข่าวดีว่าพระเยซูสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อไถ่บาป มนุษย์ทุกคนที่เชื่อจะพ้นจากบาป และเชื่อว่าจะได้รับความรอดและบำเหน็จจากพระเป็นเจ้าในการพิพากษาครั้งสุดท้.

คริสตจักรและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 · คริสตจักรและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศาสนิกชน

ัญลักษณ์กางเขนและอิกธัส (Ichthys) ซึ่งคริสต์ศาสนิกชนมักใช้แทนศาสนาของตน คริสต์ศาสนิกชน หรือ คริสตชน หมายถึง บุคคลที่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยมอันเกิดจากคำสอนของพระเยซูชาวนาซาเรธ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าพระองค์คือพระคริสต์หรือพระเมสสิยาห์ที่ถูกพยากรณ์ไว้ในคัมภีร์ฮีบรู และเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าด้วย, BBC คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่เชื่อเรื่องพระตรีเอกภาพ คือ เชื่อว่าพระเป็นเจ้าพระองค์เดียวได้ปรากฏเป็น 3 พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามมีคริสต์ศาสนิกชนบางกลุ่มไม่ยอมรับเรื่องพระตรีเอกภาพ จึงเรียกว่า "อตรีเอกภาพนิยม" เช่น พยานพระยะโฮวา ในประเทศไทยเรียกคริสต์ศาสนิกชนชาวโรมันคาทอลิกว่าคริสตัง และชาวโปรเตสแตนต์ว่าคริสเตียน.

คริสต์ศาสนิกชนและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 · คริสต์ศาสนิกชนและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

คัมภีร์ไบเบิลและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 · คัมภีร์ไบเบิลและจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2

จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1 มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 40.00% = 14 / (16 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 1และจดหมายของนักบุญยอห์น ฉบับที่ 2 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »