โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83

ดัชนี งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

71 ความสัมพันธ์: บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกันฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลาพ.ศ. 2553ภาษากรีกภาษาฝรั่งเศสภาษาสวีเดนภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอาหรับภาษาเดนมาร์กมหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2มิเชล วิลเลียมส์ (นักแสดง)มนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิตราพันเซล เจ้าหญิงผมยาวกับโจรซ่าจอมแสบรางวัลออสการ์ สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาถ่ายภาพยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยมรางวัลออสการ์ สาขาเทคนิคพิเศษยอดเยี่ยมสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรอภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกรอลิซในแดนมหัศจรรย์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)อาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตูฮอลลีวูดฮันส์ ซิมเมอร์จิตพิฆาตโลกทรอน ล่าข้ามโลกอนาคตทรูอินไซด์ทอย สตอรี่ทอย สตอรี่ 2ทอย สตอรี่ 3คริสโตเฟอร์ โนแลนคริสเตียน เบลฆาบิเอร์ บาร์เดมประกาศก้องจอมราชาประเทศไทยนาตาลี พอร์ตแมน...นิโคล คิดแมนแบล็ค สวอนแบงก์ซี่แอนน์ แฮททาเวย์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1แดนนี บอยล์โคลิน เฟิร์ธเมลิสซา ลีโอเอมี แอดัมส์เฮเลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์เจฟฟรีย์ รัชเจฟฟ์ บริดเจสเจมส์ แฟรนโกเจสซี ไอเซนเบิร์กเจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์เจเรมี เรนเนอร์เดวิด ฟินเชอร์เดอะโซเชียลเน็ตเวิร์กDay & Night (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)127 ชั่วโมง7 มีนาคม ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน

ริษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพอเมริกัน (The American Broadcasting Company; ชื่อย่อ: เอบีซี; ABC) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ ในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2486 โดยมีที่มาจากเครือข่ายบลูเนตเวิร์ก (Blue Network) ของเอ็นบีซี เอบีซีเป็นกิจการของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ และเป็นองค์กรในสายงานโทรทัศน์ดิสนีย์-เอบีซี ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2491 มีสำนักงานใหญ่อยู่บริเวณอัปเปอร์เวสต์ไซด์ (Upper West Side) ของแมนแฮตตัน ในเมืองนิวยอร์กซิตี ขณะที่สำนักงานด้านรายการของสถานีฯ อยู่ที่เมืองเบอร์แบงก์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีพื้นที่ติดกับสตูดิโอของวอลต์ดิสนีย์ และสำนักงานใหญ่ของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ นอกจากนี้ยังมีสตูดิโออีกแห่ง ณ อาคาร 1500 Broadway ในไทม์สแควร์ในชื่อ Times Square Studios สำหรับออกอากาศรายการข่าวและวาไรตี้ยามเช้า Good Morning America และรายการในการเคาท์ดาวน์สู่ปีใหม่ชื่อดัง Dick Clark's New Year's Rockin' Eve with Ryan Secreat.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และบริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา

ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา (Francis Ford Coppola; 7 เมษายน ค.ศ. 1939) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากผลงานกำกับภาพยนตร์ เดอะก็อดฟาเธอร์ และ Apocalypse Now นอกเหนือจากผลงานภาพยนตร์แล้ว เขายังเป็นนักธุรกิจเจ้าของโรงบ่มไวน์ ธุรกิจโรงแรม และนิตยสาร คอปโปลาเกิดที่โรงพยาบาลเฮนรี ฟอร์ด ในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน จึงมีชื่อกลางว่า "ฟอร์ด" ตามชื่อของเฮนรี ฟอร์ด; can be viewed at http://www.youtube.com/watch?v.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษากรีก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2

มหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2 (Iron Man 2) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรอเมริกัน ในปี 2553 ที่สร้างจากตัวละครการ์ตูนของมาร์เวลเรื่อง ไอรอนแมน สร้างโดยมาร์เวลสตูดิโอและพาราเมาต์พิกเจอส์ เป็นภาคต่อของภาพยนตร์ที่ออกฉายปี พ.ศ. 2551 ไอรอนแมน, กำกับโดยจอน แฟฟโรว์ นำแสดงโดยโรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ ในบทโทนี สตาร์ก เศรษฐีพันล้าน และยังเป็นทีรู้จักในนามไอรอนแมน ภาพยนตร์ออกฉายที่ฝรั่งเศสเมื่อวันที 28 เมษายน และออกฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และมหาประลัยคนเกราะเหล็ก 2 · ดูเพิ่มเติม »

มิเชล วิลเลียมส์ (นักแสดง)

มิเชล อิงกริด วิลเลียมส์ (Michelle Ingrid Williams) เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และมิเชล วิลเลียมส์ (นักแสดง) · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต

มนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต หรือ The Wolfman เป็นภาพยนตร์ฮอลลัสู้ดที่นำต้นฉบับภาพยนตร์เขย่าขวัญในชื่อเดียวกันเมื่อปี พ.ศ. 2484 กลับมาทำใหม่ โดยผู้กำกับโจ จอห์นสตัน นำแสดงโดย เบนิซิโอ เดล โทโร่, แอนโทนี ฮ็อปกินส์, เอมิลี่ บลันท์, ฮิวโก วีฟวิง และเจอราดีน แชปลิน แต่เดิมมีกำหนดฉายในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 แต่ได้เลื่อนมาเข้าฉายวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และมนุษย์หมาป่า ราชันย์อำมหิต · ดูเพิ่มเติม »

ราพันเซล เจ้าหญิงผมยาวกับโจรซ่าจอมแสบ

ราพันเซล เจ้าหญิงผมยาวกับโจรซ่าจอมแสบ (Tangled) เป็น ภาพยนตร์เพลงแนวตลกและเพ้อฝันสัญชาติอเมริกัน วอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอส์สร้างด้วยคอมพิวเตอร์แอนิเมชันเมื่อ..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และราพันเซล เจ้าหญิงผมยาวกับโจรซ่าจอมแสบ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่มิกซ์เสียงหรือบันทึกเสียงได้ดีเยี่ยม โดยเฉพาะเสียงสนทนาของตัวละคร รางวัลนี้จะมอบให้กับโปรดักชันซาวนด์มิกเซอร์หรือรีเรคคอร์ดดิ้งมิกเซอร์ของภาพยนตร์ที่ได้รางวัล (รางวัลใกล้เคียงคือ รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม).

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับผู้เขียนบทภาพยนตร์ ซึ่งบทภาพยนตร์ที่จะถือว่าเป็นบทภาพยนตร์ดัดแปลงนั้นต้องแต่งขึ้นจากเค้าเรื่องที่มีอยู่แล้ว เช่น นวนิยาย บทละคร เรื่องสั้น หรือแม้แต่ภาพยนตร์เรื่องอื่น (รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยมเป็นสาขารางวัลที่ใกล้เคียงกัน).

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับบทภาพยนตร์ที่ไม่ได้ดัดแปลงมาจากแหล่งอื่น ซึ่งก่อนปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์หลายๆรางวัลที่มอบโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (AMPAS) รางวัลออสการ์สาขานี้เป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่และสำคัญที่สุดในงาน เนื่องจากภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลนี้ต้องเป็นภาพยนตร์ที่มีการผสมผสานที่ดีของการสร้าง การกำกับ การแสดง และการเขียนบท ดังนั้น สาขานี้จึงเป็นสาขาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ของรางวัลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกภาพยนตร์ ภาพยนตร์ที่ได้รางวัลจึงถือเป็นเกียรติอย่างสูงสุด ผู้ที่ขึ้นรับรางวัลสาขานี้จะเป็นผู้กำกับหรือโปรดิวเซอร์ที่ภาพยนตร์เรื่องนั้นให้เครดิตอย่างเป็นทางการ โปสเตอร์ภาพยนตร์ทุกเรื่องที่ได้รับรางวัลนี้จะถูกติดไว้ที่บันไดทางขึ้นของโกดักเธียเตอร์ ในลอสแอนเจลิส รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ตั้งแต่มีการมอบรางวัลมาได้มีการเปลี่ยนชื่อดังนี้.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์สารคดี รางวัลนี้มีการมอบครั้งแรกในปีค.ศ. 1942 และมีการแบ่งประเภทเป็นภาพยนตร์สารคดี และภาพยนตร์สารคดีขนาดสั้น ในปีค.ศ. 1943.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์แอนิเมชัน รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยมได้มอบครั้งแรกในปีค.ศ. 2001 ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง Beauty and the Beast (ปีค.ศ. 1991) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องแรกที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ก่อนที่จะมีสาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม) ส่วนเรื่อง Waltz with Bashir (ปีค.ศ. 2008) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องแรกและเรื่องเดียวที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม อย่างไรก็ตาม การตั้งรางวัลสาขานี้ขึ้นเพื่อมอบให้กับภาพยนตร์แอนิเมชันโดยเฉพาะไม่ได้หมายความว่าภาพยนตร์แอนิเมชันจะไม่มีสิทธ์ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมด้วย เช่น ภาพยนตร์เรื่อง UP (2009) และ Toy Story 3 (2010) เข้าชิงทั้งสาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม และภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลนี้จะมอบก็ต่อเมื่อมีภาพยนตร์แอนิเมชั่นอย่างน้อย 8 เรื่องออกฉายในปีนั้น ภาพยนตร์แอนิเมชั่นจะต้องมีความยาวมากกว่า 70 นาทีจึงจะถือว่าเป็นภาพยนตร์ขนาดยาวปานกลาง (Feature films) ภาพยนตร์แอนิเมชันทั้งหมดที่เข้าเงื่อนไขดังกล่าวจะถูกเลือกให้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเพียง 3 เรื่องเท่านั้น หากในปีนั้นมีภาพยนตร์แอนิเมชันมากกว่า 15 เรื่อง จะมีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล 5 เรื่อง คอมพิวเตอร์แอนิเมชันได้มีบทบาทมากขึ้นและมักจะได้รับรางวัลนี้ไป อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง Spirited Away ได้รับรางวัลนี้ในปีค.ศ. 2002 และภาพยนตร์สตอปโมชันเรื่อง Wallace & Gromit: The Curse of the Were-Rabbit ก็ได้รับรางวัลนี้ในปีค.ศ. 2005 เช่นกัน พิกซาร์ แอนิเมชัน สตูดิโอ เป็นสตูดิโอที่ประสบความสำเร็จสูงสุดที่ได้รับรางวัลนี้ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ รางวัลนี้มีการมอบครั้งแรกในปีค.ศ. 1934 ในชื่อรางวัล Academy Award for Best Film Editing และด้วยระบบการตัดต่อภาพแบบดิจิตอลแพร่หลายมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนชื่อรางวัลนี้เป็น Academy Award for Best Editing ในปีค.ศ. 1999 ล่าสุดได้มีการเปลี่ยนชื่อรางวัลในปีค.ศ. 2008 เป็น Academy Award for Achievement in Film Editing ได้มีการตั้งข้อสังเกตว่ารางวัลลำดับภาพยอดเยี่ยมเป็นรางวัลที่ใกล้เคียงกับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมากมาร์ก แฮร์ริส (2008).

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่มีการออกแบบเสียงหรือตัดต่อเสียงได้ดีเยี่ยม รางวัลนี้มักจะมอบให้กับ Supervising Sound Editor หรือ Sound Designer ของภาพยนตร์เรื่องนั้น ในปีหนึ่งๆ หากไม่มีภาพยนตร์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง การมอบรางวัลจะมอบเป็น Special Achievement Award นับตั้งแต่อดีต รางวัลนี้ได้มีการเปลี่ยนชื่อดังนี้.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ ได้มีการมอบรางวัลนี้ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับผู้กำกับที่ทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เหล่าผู้กำกับจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นผู้กำกับด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกโดยสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาถ่ายภาพยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาถ่ายภาพยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับผู้ถ่ายภาพยนตร์ ในปีแรกของการมอบรางวัล ผู้ถ่ายภาพยนตร์อาจจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจากผลงานการถ่ายทำภาพยนตร์หลายๆ เรื่อง เช่น จอร์จ บาร์นเนส ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงสาขานี้จากภาพยนตร์ถึง 3 เรื่อง ดังนั้นการมอบรางวัลในปีถัดมาจึงไม่มีการประกาศชื่อผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงอย่างเป็นทางการ ในที่สุด ในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาถ่ายภาพยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงชายผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เหล่านักแสดงชายจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกจากสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงหญิงผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เหล่านักแสดงหญิงจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกโดยสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม เป็นรางวัลประจำปีที่จัดโดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และวิทยาการ (AMPAS) เพื่อมอบให้กับนักแสดงชายผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงหญิงผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในอดีตจนถึงงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 49 (ปีค.ศ. 1977) รางวัลนี้ใช้ชื่อว่า รางวัลออสการ์ สาขาการแสดงโดยนักแสดงหญิง (Academy Award of Merit for Performance by an Actress) หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (Academy Award for Best Actress) เหล่านักแสดงหญิงจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกจากสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ รางวัลนี้ได้มีการมอบครั้งแรกในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 54 (ปีค.ศ. 1981) ซึ่งก่อนหน้านี้ได้มีการมอบเป็นรางวัลเกียรติยศ คือ ในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 37 (ปีค.ศ. 1964) ผู้ได้รางวัล คือ William Tuttle จากภาพยนตร์เรื่อง 7 Faces of Dr. Lao และในงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 41 (ปีค.ศ. 1968) ผู้ได้รางวัล คือ John Chambers จากภาพยนตร์เรื่อง Planet of the apes.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาเทคนิคพิเศษยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาเทคนิคพิเศษยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ที่มอบให้กับภาพยนตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จในด้านเทคนิคพิเศษ ครั้งแรกในการมอบรางวัล (ปีค.ศ. 1939) รางวัลนี้มีชื่อว่า Best Special Effects ต่อมาในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และรางวัลออสการ์ สาขาเทคนิคพิเศษยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร

อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร (How To Train You Dragon) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน 3 มิติ ของดรีมเวิร์กสแอนิเมชัน ปี ค.ศ. 2010 ที่ได้เอาแบบจากหนังสือเรื่อง How to Train Your Dragon ในปี 2003 ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ อภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร 2.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และอภินิหารไวกิ้งพิชิตมังกร · ดูเพิ่มเติม »

อลิซในแดนมหัศจรรย์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)

อลิซในแดนมหัศจรรย์ (Alice in Wonderland) คือภาพยนตร์ผจญภัยแฟนตาซีในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และอลิซในแดนมหัศจรรย์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

อาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู

อาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู (Alejandro González Iñárritu) เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และอาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู · ดูเพิ่มเติม »

ฮอลลีวูด

ป้ายฮอลลีวูด ฮอลลีวูด (Hollywood) เป็นชื่อเขตในนครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เหมือนกับเป็นถนนหรือเขตหนึ่งเท่านั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์กลางนครลอสแอนเจลิส เนื่องจากว่าฮอลลิวูดนั้นมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นศูนย์กลางแห่งประวัติศาสตร์ของโรงถ่ายทำภาพยนตร์ และดาราภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ชื่อของฮอลลีวูดจึงมักจะถูกเรียกเป็นชื่อแทนของโรงภาพยนตร์แห่งสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ทุกวันนี้มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์จำนวนมากที่ได้แพร่กระจายไปรอบๆพื้นที่ของแคลิฟอร์เนียและทางตะวันตกของนครลอสแอนเจลิส แต่อุตสาหรรมภาพยนตร์หลักๆที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การใส่เทคนิคพิเศษ ผู้สนับสนุน การผลิตขั้นสุดท้าย และบริษัททางด้านแสงประกอบ ยังคงอยู่ในฮอลลีวูด โรงละครสำคัญๆทางประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูดหลายแห่งถูกใช้เป็นสถานที่ชุมนุมและเวทีคอนเสิร์ตในงานเปิดตัวสำคัญๆระดับยักษ์ใหญ่ของโลกและยังเป็นเจ้าภาพในการประกาศรางวัลออสการ์หรือที่เรียกกันติดปากว่ารางวัลออสการ์นั่นเอง ฮอลลีวูดเป็นสถานที่ที่คนทั่วโลกต้องการมาเยือนทั้งนักผจญราตรีและนักท่องเที่ยวทั้งหลาย และยังเป็นที่ตั้งของถนน ฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม (Hollywood Walk of Fame) ที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ฮอลลีวูด ค.ศ. 1885 โรงแรมฮอลลีวูด ค.ศ. 1905 ใน ค.ศ. 1853 กระท่อมอิฐหลังเล็กๆหลังหนึ่งได้กลายมาเป็นฮอลลีวูดในทุกวันนี้ ในราวปี ค.ศ. 1870 ชุมชนเกษตรกรรมได้เจริญขึ้นมาในพื้นที่แห่งนี้พร้อมๆกับผลผลิตที่เจริญงอกงามมากในช่วงนั้น ที่มาของชื่อฮอลลีวูด ที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดนั้นน่าจะมาจากชื่อของต้น Tyon ท้องถิ่นหรือเรียกกันว่า "แคลิฟอร์เนียฮอลลี่" ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์ปกคลุมเนินเขาในสมัยนั้นและยังออกผลเบอร์รี่สีแดงกระจายอยู่ทั่วไปในช่วงหน้าหนาวของทุกปีอีกด้วย จากนั้นความเชื่อนี้และความเชื่อในเรื่องของที่มาของคำว่าฮอลลี่นี้ก็มีคนเชื่อถือมากขึ้นเรื่อยๆแต่ยังไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นความจริงแต่อย่างใด บ้างก็ว่าชื่อของฮอลลีวูดนี้เป็นชื่อที่ตั้งโดย เอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ บิดาแห่งฮอลลีวูด ซึ่งทั้งเขาและกีกี้ ภรรยาของเขาได้ตั้งชื่อนี้ขึ้นขณะที่มาฮันนีมูนกัน ตามบันทึกของมากาเร็ต เวอร์จิเนีย ไวท์ลี่ย์ บ้างก็ว่ามาจาก ฮาร์วี่ย์ วิลคอกซ์ ที่ได้มาซื้อที่ดินในบริเวณนี้และก็พัฒนาเป็นชุมชุนขึ้นมา โดยดาเออิดา ภรรยาของเขาได้พบกับผู้หญิงคนหนึ่งบนรถไฟที่บอกว่าเธอได้ตั้งชื่อบ้านพักฤดูร้อนที่รัฐโอไฮโอว่า ฮอลลีวูด ดาเออิดาชอบชื่อนี้และก็เอามาตั้งเป็นชื่อของชุมชนที่ตั้งขึ้นมาใหม่นี้ คำว่าฮอลลีวูดนี้ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในแผนที่ของวิลคอกซ์สำหรับการแบ่งสรรพื้นที่และปรากฏในเอกสารของบันทึกเขตปกครองของวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 ตามคำพูดของจอร์แดน แมกซ์เวลล์นั้น ชื่อของฮอลลีวูดนั้นอ้างอิงมาจากไม้กายสิทธิ์ Druidic ซึ่งทั้งไม้กายสิทธิ์และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ฮอลลีวูดนั้นเป็นเครื่องมือในการจัดการกับคน ราวปี ค.ศ. 1900 คณะบุคคลที่เรียกตัวเองว่า Cahuenga ได้จัดตั้งที่ทำการไปรษณีย์ หนังสือพิมพ์ โรงแรม และตลาดสองแห่งด้วยจำนวนประชากรเพียง 500 คน ซึ่งในขณะนั้น ลอสแอนเจลิสมีประชากรประมาณ 100,000 คนและมีเมืองที่ทอดผ่านสวนผลไม้รถส้มเป็นระยะทางกว่า 7 ไมล์ มีชื่อเส้นทางเดินรถเพียงชื่อเดียวจากใจกลางของ Prospent Avenue ที่พาดผ่านแต่มีการให้บริการไม่บ่อยนักและต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง แต่บ้านสำหรับการบรรจุหีบห่อผลไม้รสส้มในสมัยก่อนนั้นอาจจะกลายเป็นจุดสำคัญที่นำความเจริญและการคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้นมาสู่ผู้อยู่อาศัยในย่านฮอลลีวูด โรงแรมฮอลลีวูดอันเป็นโรงแรมใหญ่โรงแรมแรกของฮอลลีวูดที่มีชื่อเสียงนั้น เปิดบริการในปี ค.ศ. 1902 โดยเอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ เพื่อขายเป็นที่พักอาศัยเป็นจำนวนมากท่ามกลางฟาร์มปศุสัตว์ ตั้งอยู่หน้า Prospect Avenue และด้านข้างฝั่งตะวันตกของ Highland Avenue ปี ค.ศ. 1903 ฮอลลีวูดรวมเป็นเทศบาลแห่งหนึ่ง และในปี ค.ศ. 1904 รถบรรทุกวิ่งจากลอสแอนเจลิสมายังฮอลลีวูดคันใหม่ก็เปิดให้ใช้บริการ ระบบนี้เรียกว่า Hollywood Boulevard ซึ่งช่วยร่นระยะเวลาการเดินทางไป-กลับลอสแอนเจลิสได้อย่างมาก ปี ค.ศ. 1910 มีการพยายามจะรักษาระดับการขายน้ำอย่างพอเพียง ชาวเมืองจึงโหวตให้ฮอลลีวูดผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนครลอสแอนเจลิส จึงทำให้ระบบชลประทานเพื่อการพัฒนาเมืองนั้นถูกเปิดเป็น Los Angeles Aqueduct และต่อน้ำทางท่อจากแม่น้ำโอเว่นในหุบเขาโอเว่น นอกจากนั้น การโหวตครั้งนี้ก็ยังมีเหตุผลมาจากกาารต้องการให้ฮอลลิวูดกลายเป็นทางระบายน้ำเสียของนครลอสแอนเจลิสอีกด้วย หลังจากรวมกับนครลอสแอนเจลิสแล้ว ชื่อ Prospect Avenue ก็เปลี่ยนมาเป็น Hollywood Boulevard รวมทั้งหมายเลขถนนในพื้นที่แห่งนี้ เช่น จาก 100 Prospect Avenue ที่ Vermont Avenue กลายเป็น 6400 Hollywood Boulevard และ 100 Cahuenga Boulevard ที่ Hollywood Bouvelard เป็น 1700 Cahuenga Boulevard เป็นต้น.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และฮอลลีวูด · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ซิมเมอร์

ันส์ โฟลเรียน ซิมเมอร์ (Hans Florian Zimmer; 12 กันยายน ค.ศ. 1957 -) นักแต่งเพลง นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวเยอรมันเชื้อสายเฮสเซิน ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงทั้งรางวัลออสการ์ รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลบาฟตา และรางวัลแกรมมีหลายครั้ง ดนตรีของเขาเป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ผสมผสานกับการบรรเลงด้วยวงออเคสตรา ซิมเมอร์เกิดที่แฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เมื่อเป็นวัยรุ่นได้ย้ายมาอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เริ่มอาชีพนักดนตรีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และฮันส์ ซิมเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตพิฆาตโลก

ตพิฆาตโลก (Inception) เป็นภาพยนตร์อเมริกันปี 2010 แนวนวนิยายวิทยาศาสตร์-แอ็กชัน เขียนบท อำนวยการสร้างและกำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดยลีโอนาร์โด ดีคาปริโอ, เคน วะตะนะเบะ, โจเซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์, เอลเลน เพจ, มารียง กอตียาร์ และคิลเลียน เมอร์ฟี ภาพยนตร์ได้รับแรงบันดาลใจจากภาวะที่คนเราสามารถที่จะรู้สึกตัวและตระหนักได้ว่าตนเองนั้นอยู่ในความฝัน (lucid dream) โดยมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับการโจรกรรมของดอม คอบบ์ที่มีความสามารถในการเข้าไปในฝันของคนอื่นเพื่อขโมยข้อมูล ความสามารถนี้ทำให้คอบบ์กลายเป็นอาชญากรและต้องหลบหนี รวมทั้งสูญสิ้นทุกสิ่ง แต่เขาก็ได้รับข้อเสนอในการที่จะกลับมาใช้ชีวิตแบบเดิม แลกกับการปฏิบัติภารกิจปลูกฝังความคิดของเป้าหมาย กระบวนการในการปลูกฝังความคิดเรียกว่า "Inception" ในการพัฒนาของภาพยนตร์เรื่องนี้เริ่มต้นขึ้นอย่างหยาบ ๆ เมื่อ 10 ปีก่อนที่หนังจะออกฉาย เมื่อโนแลนเขียนบทจำนวน 80 หน้าเกี่ยวกับการขโมยความฝัน หลังจากที่เขาเสนอความคิดนี้กับวอร์เนอร์บราเธอร์ส ในปี 2001 เขาก็ต้องการให้บทนี้พัฒนาไปสู่ภาพยนตร์ฟอร์มใหญ่ เพราะเหตุนี้เขาจึงเลือกทำงานภาพยนตร์ แบทแมน บีกินส์ และ แบทแมน อัศวินรัตติกาล โดยเขาใช้เวลา 6 เดือนในการปรับปรุงบทภาพยนตร์ ก่อนที่วอร์เนอร์บราเธอร์สจะซื้อไปเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และจิตพิฆาตโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทรอน ล่าข้ามโลกอนาคต

ทรอน ล่าข้ามโลกอนาคต (Tron: Legacy) เป็นภาพยนตร์ไซไฟของดิสนีย์ ภาคต่อของ ทรอน ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และทรอน ล่าข้ามโลกอนาคต · ดูเพิ่มเติม »

ทรูอินไซด์

ทรูอินไซด์ (เดิม ยูบีซี อินไซด์) เป็นช่องรายการทางทรูวิชั่นส์ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546 ชื่อรายการที่เกี่ยวกับในวงการบันเทิง ภายใต้แนวคิด "อินไซต์ทุกเรื่องบันเทิง".

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และทรูอินไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอย สตอรี่

ทอย สตอรี่ (Toy Story) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันคู่หูแนวตลกผจญภัยสร้างด้วยคอมพิวเตอร์ สร้างโดยพิกซาร์ และจำหน่ายโดยวอลต์ดิสนีย์พิกเชอส์ ภาพยนตร์เป็นงานกำกับเรื่องแรกของจอห์น แลสเซเทอร์ ทอย สตอรี่เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องยาวเรื่องแรกที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่สร้างโดยพิกซาร์ เนื้อเรื่องเกิดขึ้นในโลกที่ของเล่นมานุษยรูปนิยมแสร้งทำเป็นไม่มีชีวิตในเวลาที่มนุษย์ไม่อยู่ ภาพยนตร์เล่าเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวูดี ตุ๊กตาคาวบอยยุคเก่า (ให้เสียงโดยทอม แฮงส์) และบัซซ์ ไลต์เยียร์ หุ่นแอ็กชันนักดาราศาสตร์ (ให้เสียงโดยทิม อัลเลน) โดยเริ่มจากความเป็นอริแข่งกันเรียกร้องความสนใจจากแอนดี เจ้าของของพวกเขา กลายเป็นเพื่อนร่วมมือกันเพื่อให้ได้กลับมาอยู่กับแอนดีที่กำลังจะย้ายบ้านไปอยู่หลังใหม่ บทภาพยนตร์เขียนโดยจอสส์ วีดอน แอนดรูว์ สแตนตัน โจล โคเฮน และอเล็ก โซโคโลว อ้างอิงเนื้อเรื่องของแลสเซเทอร์ พีต ด็อกเตอร์ สแตนตัน และโจ แรนฟต์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์โดยแรนดี นิวแมน และอำนวยการสร้างโดยสตีฟ จอบส์ และเอ็ดวิน แคตมัลล์ พิกซาร์ ซึ่งเคยเป็นผู้สร้างภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องสั้นเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ได้รับการทาบทามจากดิสนีย์ในการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันสร้างด้วยคอมพิวเตอร์ หลังจากภาพยนตร์เรื่องสั้นของเขาเรื่อง ทินทอย (1988) ประสบความสำเร็จ ซึ่งเล่าเรื่องด้วยมุมมองของของเล่นขนาดเล็กเช่นกัน แลสเซเทอร์ สแตนตัน และด็อกเตอร์เขียนบทรุ่นแรกแต่ถูกดิสนีย์พับทิ้งไป เนื่องจากเขาต้องการให้ภาพยนตร์มีเค้าโครงชัดเจนกว่านี้ หลังจากบทภาพยนตร์ถูกพับทิ้ง การสร้างต้องหยุดลงและมีการเขียนบทขึ้นมาใหม่ และสะท้อนโทนเรื่องและเนื้อหาที่พิกซาร์ต้องการให้เป็นมากขึ้น"โดยลึก ๆ แล้ว ของเล่นต้องการให้เด็ก ๆ เล่นกับพวกเขา และความต้องการนี้ผลักดันให้เกิดความหวัง ความกลัว และการกระทำต่าง ๆ" สตูดิโอมีพนักงานจำนวนไม่มาก และสร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ภายใต้ข้อจำกัดเกี่ยวกับการเงินที่น้อย ภาพยนตร์ออกฉายในวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และทอย สตอรี่ · ดูเพิ่มเติม »

ทอย สตอรี่ 2

ทอย สตอรี่ 2 (Toy Story 2) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันของดิสนีย์ โดยคอมพิวเตอร์ เป็นเรื่องที่ 3 ของ พิกซาร์ ภาคต่อของทอย สตอรี่ ออกฉายในปี พ.ศ. 2542 ทอย สตอรี่ 2 ภาพยนตร์เรื่องนี้ยอดเยี่ยม ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำเรื่องนี้ ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ 245,852,179 ดอลลาร์สหรัฐ และ 485,015,179 ดอลลาร์สหรัฐ งบประมาณได้ 115 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทอย สตอรี่ 2 คือหนังแอนิชั่นภาคต่อเรื่องแรกที่สามารถทำเงินได้มากกว่าหนังภาคแรก โดยทำลายสถิติรายได้เปิดตัวสัปดาห์แรกบนบ๊อกซ์ออฟฟิศทั้งในอเมริกา, อังกฤษ และ ญี่ปุ่น รวมทั้งกลายเป็นหนังแอนิชั่นที่ทำรายได้สูงสุดในปี 1999 โดยทำเงินในอเมริกาไปกว่า 245 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และกวาดรายได้ทั่วโลกไปอีก 485 ล้านเหรียญ.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และทอย สตอรี่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทอย สตอรี่ 3

ทอย สตอรี่ 3 (Toy Story 3) เป็นภาพยนตร์คอมพิวเตอร์แอนิเมชันสามมิติ จากสหรัฐอเมริกาซึ่งจัดฉายในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และทอย สตอรี่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โนแลน

ริสโตเฟอร์ เอ็ดเวิร์ด โนแลน (Christopher Edward Nolan) เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และคริสโตเฟอร์ โนแลน · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน เบล

ริสเตียน เบล (Christian Bale) มีชื่อจริงว่า คริสเตียน ชาร์ลส ฟิลิป เบล (Christian Charles Philip Bale) แต่เป็นที่รู้จักในชื่อ คริสเตียน มอร์แกน เบล (Christian Morgan Bale; เกิด 30 มกราคม ค.ศ. 1974) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในบทบาทผลงานภาพยนตร์อย่างเรื่อง American Psycho, Shaft, Equilibrium, The Machinist, Batman Begins, และ The Prestige.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และคริสเตียน เบล · ดูเพิ่มเติม »

ฆาบิเอร์ บาร์เดม

อร์ อังเฆล เอนซินัส บาร์เดม (Javier Ángel Encinas Bardem) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฆาบิเอร์ บาร์เดม เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1969 เป็นนักแสดงชาวสเปน ได้รับเสียงวิจารณ์จากบทบาทในภาพยนตร์อย่างในภาพยนตร์เรื่อง Jamón, jamón, Carne tremula, Boca a boca, Los Lunes al sol และ Mar adentro บาร์เดมได้รับรางวัลออสการ์ รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลแซกอวอร์ดส และรางวัลแบฟตารายการละ 1 รางวัล ได้รับรางวัลโกยา 4 รางวัล ได้รับรางวัลยูโรเปียนฟิล์ม 2 รางวัล ได้รับรางวัลคอปปาวอลปิส 2 รางวัล เขายังเป็นนักแสดงสเปนคนแรกที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงยอดเยี่ยม ในปี 2000 (จากเรื่อง Before Night Falls) เช่นเดียวกับเป็นคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ในปี 2007 จากเรื่อง No Country for Old Men) จากบทนักฆ่าโรคจิต แอนตัน ชิเกอร์ (Anton Chigurh) ด้านชีวิตส่วนตัว เขาสมรสกับเปเนโลเป กรุซ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2010 ที่บาฮามาส และมีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ เลโอ เอนซินัส กรุซ (เกิด 22 มกราคม 2011) และลูนา เอนซินัส กรุซ (เกิด 22 กรกฎาคม 2013) ใน ค.ศ. 2012 เขารับบทเป็นราอูล ซิลวา ตัวร้ายหลักใน พลิกรหัสพิฆาตพยัคฆ์ร้าย ภาพยนตร์ชุดเจมส์ บอนด์ลำดับที่ 23 ใน ค.ศ. 2017 เขารับบทเป็นกัปตันอามันโด ซาลาซาร์ กัปตันเรือไซเรนท์แมรี่ ซึ่งต้องคำสาปที่สามเหลี่ยมปีศาจในภาพยนตร์เรื่อง ไพเรทส์ออฟเดอะแคริบเบียน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และฆาบิเอร์ บาร์เดม · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศก้องจอมราชา

ประกาศก้องจอมราชา (The King's Speech) เป็นเรื่องราวของบุรุษผู้ต่อมาขึ้นครองบัลลังก์เป็นสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 พระบิดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ภายหลังพระเชษฐาของพระองค์สละราชสมบัติ จอร์จต้องขึ้นครองราชย์แทนอย่างไม่ได้เตรียมใจนัก แต่ด้วยปัญหาอาการพูดติดอ่างซึ่งนำมาสู่ความกังวลว่าจะไม่เหมาะสมที่จะเป็น กษัตริย์ที่ดี จอร์จได้รับความช่วยเหลือจากไลโอเนล ลอจ นักบำบัดอาการบกพร่องทางการพูด จนเกิดเป็นมิตรภาพ และทำให้จอร์จเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ต่อมา ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าจอร์จที่ 5 (ไมเคิล แกมบอน) ผู้เป็นพระบิดา พร้อมกับการสละโอกาสครองราชย์บัลลังก์ของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด (กาย เพียร์ซ) ส่งผลให้เบอร์ตี (โคลิน เฟริร์ธ) ผู้มีปัญหาทางการพูด ต้องขึ้นครองราชย์แทนในนามพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งอังกฤษ ด้วยเหตุที่ประเทศตกอยู่ในสถานการณ์จวนเจียนเข้าสู่สงครามและจำเป็นต้องมี ผู้นำที่เข้มแข็ง เอลิซาเบธ (เฮเลนน่า บอนแฮม คาร์เตอร์) ภรรยาของเบอร์ตี และอนาคตราชินี จึงจัดแจงให้สามีของเธอได้พบกับไลโอเนล ล็อก (เจฟฟรีย์ รัช) ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคผิดปกติทางการพูด จากการเริ่มต้นที่แสนลำบาก ผู้รักษาและผู้รับการรักษาต่างร่วมกันแสวงหาวิธีบำบัดใหม่ ๆ ซึ่งก่อกำเนิดมิตรภาพอันลึกซึ้งระหว่างชายทั้งคู่ ด้วยความช่วยเหลือของล็อก รวมทั้งครอบครัว, รัฐบาล และวินสตัน เชอร์ชิลล์ (ทิโมธี สปอลล์) กษัตริย์จอร์จที่ 6 จะต้องเอาชนะอาการพูดติดอ่างให้ได้ เพื่อกล่าวปลุกปลอบพสกนิกรของพระองค์ให้ลุกขึ้นยืนหยัดเคียงข้างประเทศชาติ ในภาวะสงคราม ภาพยนตร์เรื่องนี้ ชนะเลิศรางวัลจากสถาบันทางภาพยนตร์ต่างๆ รวมทั้งสิ้น 75 รางวัล โดยมีรางวัลที่สำคัญ คือการชนะเลิศรางวัลออสการ์ ใน 4 รางวัล ได้แก.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และประกาศก้องจอมราชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาตาลี พอร์ตแมน

นาตาลี พอร์ตแมน (Natalie Portman, ฮิบรู: נטלי פורטמן‎) เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และนาตาลี พอร์ตแมน · ดูเพิ่มเติม »

นิโคล คิดแมน

นิโคล แมรี คิดแมน เกิดวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1967 เป็นนักแสดงหญิงชาวออสเตรเลีย นักร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักมนุษยธรรม เริ่มเข้าสู่วงการผ่านการแสดงในภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ของออสเตรเลีย คิดแมนเริ่มเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์ระทึกใจเรื่อง Dead Calm (1989) และมีผลงานการแสดงหลากหลายเรื่องในช่วงต้นปี 1990 เธอเริ่มเป็นที่จดจำของคนทั่วโลกจากผลงานการแสดงของเธอเรื่อง Days of Thunder (1990), Far and Away (1992) และ Batman Forever (1995) หลังประสบความสำเร็จทางด้านภาพยนตร์ในช่วงปลายปี 1990 แล้ว เธอก็ยังมีผลงานการแสดงในด้านดนตรีอีกคือ Moulin Rouge! (2001) ที่ทำให้คิดแมนคว้ารางวัล Golden Globe Award เป็นครั้งที่สอง และได้รับเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Academy Award ในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นอกจากนี้บทบาทการแสดงของเธอในฐานะ Virginia Woolf จากภาพยนตร์ดราม่าเรื่อง The Hours (2002) ยังได้รับคำวิจารณ์ที่ยอดเยี่ยมและทำให้เธอได้รับรางวัล Academy Award สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ผลงานภาพยนตร์อื่นที่ประสบความสำเร็จของคิดแมนยังมีเรื่อง Cold Mountain (2003), Ther Interpreter (2005), Happy Feet (2006) และ Australia (2008) งานแสดงของเธอในปี 2010 เรื่อง Rabbit Hole (ซึ่งเธอเป็นงานกำกับของเธอเอง) ได้ทำให้เธอได้ถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Academy Award ในสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม คิดแมนได้เป็นทูตสันทวไมตรีให้กับองค์การUNICEFตั้งแต่ปี 1994 และให้กับองค์การUNIFEM ตั้งแต่ปี 2006 งานของคิดแมนทำให้เธอได้รับตำแหน่ง Star ใน Hollywood Walk of Fame, สามรางวัลสำหรับ Golden Globe Award, รางวัล BAFTA และรางวัล Academy Award ในปี 2006 คิดแมนถูกตั้งให้เป็น Companion of the Order of Australia ซึ่งถือเป็นเกียรติยศอันสูงสุดของประชาชนชาวออสเตรเลีย และยังได้เป็นนักแสดงหญิงที่มีค่าตัวสูงสุดในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ เนื่องจากเธอเกิดที่ฮาวายและมีพ่อแม่เป็นชาวออสเตรเลีย จึงทำให้คิดแมนถือสัญชาติทั้งออสเตรเลียและอเมริกัน.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และนิโคล คิดแมน · ดูเพิ่มเติม »

แบล็ค สวอน

แบล็ค สวอน (Black Swan) เป็นภาพยนตร์แนวจิตวิทยาสยองขวัญ กำกับโดย ดาร์เรน อโรนอฟสกี้ นำแสดงโดย นาตาลี พอร์ตแมน, วินเซนต์ คาสเซล และ มิล่า คูนิส เนื้อเรื่องนั้นอ้างอิงจากการแสดงบัลเล่ต์ชุด สวอน เลค ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับราชินีหงส์ ในการแสดงชุดนี้ต้องการนักบัลเล่ต์ที่สามารถแสดงเป็นได้ทั้งหงส์ขาวที่บริสุทธิ์และหงส์ดำที่ยั่วยวน คนหนึ่งคือนีน่า(พอร์ตแมน)ผู้ที่สามารถเป็นหงส์ขาวได้อย่างสมบูรณ์แบบ ส่วนอีกคนคือลิลลี่(คูนิส)ผู้ที่เหมาะสมกับบทหงส์ดำ และเมื่อทั้งสองต้องแข่งขันกัน นีน่าก็เริ่มพบด้านมืดของตัวเอง ภาพยนตร์เรื่องนี้ถูกรับเลือกให้เป็นภาพยนตร์เปิดงานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส ครั้งที่ 67 และได้ออกฉายในสหรัฐอเมริกา (limited Release)ในวันที่ 3 ธันวาคม และอย่างเป็นทางการทั่วประเทศในวันที่ 17 ธันวาคม ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเสียงชื่นชมอย่างมาก โดยเฉพาะประสิทธิภาพและความสามารถในการแสดงของ นาตาลี พอร์ตแมน และการกำกับของ ดาร์เรน อโรนอฟสกี้ ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้ นาตาลี พอร์ตแมน ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 อีกด้วย และยังถูกเสนอชื่อเข้าชิงอีก 4 รางวัล ได้แก่ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับยอดเยี่ยม(อโรนอฟสกี้), กำกับภาพยอดเยี่ยม และ ตัดต่อภาพยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และแบล็ค สวอน · ดูเพิ่มเติม »

แบงก์ซี่

หนูอนาธิปัตย์ โดย Banksy แบงก์ซี่ (Banksy) เป็นนามแฝงของศิลปินกราฟฟิตี้ชาวอังกฤษที่มีผลงานโดดเด่นจำนวนมาก ผลงานของเขาปรากฏทั่วทั้งลอนดอนและตามที่ต่าง ๆ ทั่วโลก Banksy ใช้เทคนิคต่าง ๆ กันในการสื่อสาร ซึ่งมักจะเป็นเรื่องการเมืองหรือเรื่องตลกขบขัน รูปแบบงานศิลปะข้างถนนดั้งเดิมของเขา ซึ่งผสมผสานกราฟฟิตี้เข้ากับเทคนิคการใช้ stencil ที่มีลักษณะเฉพาะนั้น มีชื่อเสียงอย่างมากในวงการใต้ดิน และยังมีการรายงานทั่วไปในสื่อกระแสหลัก ล่าสุด ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และแบงก์ซี่ · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์ แฮททาเวย์

แอนน์ แจ็กเกอลีน แฮททาเวย์ (Anne Jacqueline Hathaway; เกิด 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เริ่มเข้าวงการโดยการแสดงในซีรีส์ชุด Get Real ในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และแอนน์ แฮททาเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 (Harry Potter and the Deathly Hallows – Part 1) เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งดัดแปลงมาจากนิยายเรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ตอนที่ 7 ในชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ แต่เนื่องจากในภาคสุดท้ายนั้นมีรายละเอียดมากและทางผู้สร้างต้องการให้หนังจบลงอย่างสมบูรณ์แบบ จึงแบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตตอนที่ 1 และตอนที่ 2 สำหรับตอนที่ 1 เริ่มถ่ายทำเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และจะเข้าฉายในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตอนที่ 2 จะเข้าฉายในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ภาพยนตร์มีนักแสดงนำได้แก่ แดเนียล แรดคลิฟฟ์ รูเพิร์ท กรินท์ และเอ็มม่า วัตสัน กำกับการแสดงโดย เดวิด เยตส์ เขียนบทโดยสตีฟ โคลฟ อำนวยการสร้างโดย เดวิด เฮย์แมน และเดวิด แบร์รอน โดยเนื้อเรื่องของภาคนี้จะดำเนินเรื่องต่อจากภาค 6 หลังจากที่ดัมเบิลดอร์จากไปพร้อมกับปริศนาของฮอร์ครักซ์ทไว้ให้แฮร์รี่สานต่อ โลกเวทมตร์และโลกมนุษย์ได้ถูกแทรกแซงจากลอร์ดโวลเดอมอร์อย่างสมบูรณ์ แฮร์รี่ซึ่งถูกโวลเดอมอร์หมายหัวจึงต้องหลบหนีจากการตามล่า อีกทั้งยังต้องทำภารกิจของตามหาฮอร์ครักซ์ที่ดัมเบิลดอร์ทิ้งไว้ให้เขาโดยมีรอนและเฮอร์ไมโอนี่เป็นเพื่อนร่วมเดินทางโดยมีอุปสรรคและอันตรายรอพวกเขาอยู่ และผลสุดท้ายมันอาจนำมาซึ่งสงครามระหว่างแฮร์รี่และโวลเดอมอร์ แรกเริ่มเดิมทีนั้นภาพยนตร์ทั้งสองตอนมีกำหนดฉายในระบบสามมิติแต่เนื่องจากทางผู้สร้างมีเวลาน้อยในการแปลงภาพให้ออกมาเป็นสามมิติ จึงได้ระงับการฉายระบบสามมิติในส่วนของตอนที่ 1 เนื่องจากกลัวแฟนคลับที่เฝ้ารอผิดหวังกับภาพที่ออกมาไม่ดี อย่างไรก็ตามในส่วนของตอนที่ 2 ผู้สร้างยืนยันที่จะฉายในระบบสามมิติตามเดิม.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 1 · ดูเพิ่มเติม »

แดนนี บอยล์

แดเนียล แดนนี บอยล์ (Daniel "Danny" Boyle) เกิดวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และแดนนี บอยล์ · ดูเพิ่มเติม »

โคลิน เฟิร์ธ

ลิน แอนดรูว์ เฟิร์ธ (Colin Andrew Firth) เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1960 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เฟิร์ธมีชื่อเสียงครั้งแรกโดยเฉพาะในสหราชอาณาจักร จากการรับบทเป็น มร.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และโคลิน เฟิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

เมลิสซา ลีโอ

มลิสซา เชสซิงตัน ลีโอ (Melissa Chessington Leo) หรือเป็นที่รู้จักในอีกชื่อว่า มาร์กาเรต เมย์ ที่ 2 (Margaret May II) หรือ มาร์กาเรต เมย์ (Margaret May) เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเมลิสซา ลีโอ · ดูเพิ่มเติม »

เอมี แอดัมส์

อมี ลู แอดัมส์ (Amy Lou Adams) เกิดวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเอมี แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์

ลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์ (ชื่อย่อ: HBC) นักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายยิว สเปน ฝรั่งเศส ออสเตรีย เช็ก รัสเซีย เจ้าของรางวัลลูกโลกทองคำและอื่นๆอีกมากมาย ทั้งยังได้รับการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น CBE จาก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 อีกด้วย เธอรับบท เบลลาทริกซ์ เลสแตรงจ์ ผู้เสพความตายจอมวายร้ายจากภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์ นั่นเอง.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเฮเลน่า บอนแฮม คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟรีย์ รัช

ฟฟรีย์ รอย รัช เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย ถือเป็นนักแสดงออสเตรเลียคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาการแสดงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจฟฟรีย์ รัช · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟ์ บริดเจส

ฟฟรีย์ ลีออน "เจฟฟ์" บริดเจส (Jeffrey Leon "Jeff" Bridges) เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1949 เป็นนักแสดงและนักดนตรีชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในผลงานภาพยนตร์เรื่อง The Last Picture Show, Tron, Against All Odds, Starman, The Fabulous Baker Boys, The Fisher King, Fearless, The Big Lebowski, Arlington Road, The Contender, Iron Man, Seabiscuit และ Crazy Heart ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจฟฟ์ บริดเจส · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แฟรนโก

มส์ เอ็ดเวิร์ด แฟรนโก (James Edward Franco) เกิดเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1978 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้กำกับ นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ และ ศิลปิน เขาเริ่มแสดงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ปรากฏในซีรีส์เรื่อง Freaks and Geeks และ แสดงนำในภาพยนตร์วัยรุ่นอีกหลายเรื่อง และในปี 2001 ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ สาขานักแสดงยอดเยี่ยมจากซีรีส์เรื่อง James Dean จนเป็นที่รู้จักในต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 บทบาทแฮร์รี ออสบอร์น ในภาพยนตร์เรื่องสไปเดอร์แมน ในปี 2005 เขาแสดงในภาพยนตร์สงครามเรื่อง The Great Raid ในบทโรเบิร์ต พรินซ์ ในปี 2006 แฟรนโกได้แสดงนำในภาพยนตร์ฮอลลีวูด 3 เรื่อง คือ Tristan & Isolde, Annapolis และ Flyboys ในปี 2008 แฟรนโกนักแสดงในหนังตลกเรื่อง Pineapple Express ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำในสาขานักแสดงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์เพลงหรือภาพยนตร์ตลก เขายังรับบทเด่นในภาพยนตร์ชีวประวัติเรื่อง ฮาร์วี่ย์ มิลค์ ผู้ชายฉาวโลก.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจมส์ แฟรนโก · ดูเพิ่มเติม »

เจสซี ไอเซนเบิร์ก

ซี แอดัม ไอเซนเบิร์ก (Jesse Adam Eisenberg) เกิดเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจสซี ไอเซนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์

นนิเฟอร์ ชเรเดอร์ ลอว์เรนซ์ (Jennifer Shrader Lawrence) (เกิด 15 สิงหาคม, ค.ศ. 1990) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน บทบาทครั้งสำคัญของเธอคือการได้รับบทตัวละครนำภายในช่อง TBS ซิดคอม Bill Engvall Show (ค.ศ. 2007-2009) ภายหลังเธอได้ปรากฏในภาพยนตร์อิสระ The Burning Plain (ค.ศ. 2008) และ Winter's Bone (ค.ศ 2010) โดยเธอได้รับรางวัล รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นครั้งแรก เธอถูกเสนอชื่อเข้าชื่งเธอ: โดยเธอเป็นลำดับสองที่ได้รับเสนอชื่อเข้าในชิงที่อายุน้อยที่สุดในหมวดนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เมื่ออายุ 22, เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์แสดงเป็น Tiffany Maxwell ในภาพยนตร์โรแมนติกคอเมดี Silver Linings Playbook จากผลงานการกำกับของ David O.Russell (ค.ศ. 2012) และทำให้เธอได้รับรางวัลออสการ์มากมาย, เช่น รางวัลลูกโลกทองคำสำหรับนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม (มีทักษะทางดนตรีและรอยยิ้ม) และ รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม, ส่งผลให้เธอเป็นนักแสดงหญิงดีเด่นคนที่สองที่ได้รับรางวัลในออสการ.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจเรมี เรนเนอร์

รมี ลี เรนเนอร์ (Jeremy Lee Renner) เกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1971 เป็นนักแสดงชาวอเมริกันและนักดนตรี เขาปรากฏในบทสมทบในภาพยนตร์ในคริสต์ทศวรรษ 2000 และเป็นที่รู้จักมากขึ้นในการแสดงภาพยนตร์สงครามเรื่อง The Hurt Locker ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ในปี 2011 เราจะรู้จักภาพยนตร์ชื่อดัง Mission: Impossible – Ghost Protocol ซึ่งเจเรมี่ เรนเนอร์มารับบท วิลเลียม แบรนท์ นักวิเคราะห์ และเป็นทีมเดียวกับพระเอกในเวลาต่อมา ในต้นปี ค.ศ. 2012 เจเรมี เรนเนอร์รับบทเป็นมือธนูของหน่วยชิลด์จากภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ The Avengers รับบทเป็น เจ้าหน้าที่คลินท์ บาร์ตัน หรือ Hawkeye และตามมาติดๆกับ The Bourne Legacy และ Hansel and Gretel: Witch Hunters.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเจเรมี เรนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด ฟินเชอร์

วิด ฟินเชอร์ (David Fincher; เกิด: 28 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ที่เดนเวอร์ รัฐโคโลราโด; ชื่อเต็ม: เดวิด ลีโอ ฟินเชอร์ (David Leo Fincher)) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง ฟินเชอร์ เกิดที่เมืองเดนเวอร์ ในรัฐโคโลราโด มีพ่อเป็นผู้สื่อข่าวของนิตยสารไลฟ์ และขณะเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเคยเป็นผู้ผลิตข่าวให้กับสถานทีโทรทัศน์ท้องถิ่น ฟินเชอร์ เริ่มต้นงานในแวดวงภาพยนตร์ด้วยการเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพจากภาพยนตร์ไตรภาคชุด Star Wars ในตอน Return of the Jedi ในปี..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเดวิด ฟินเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะโซเชียลเน็ตเวิร์ก

อะโซเชียลเน็ตเวิร์ก (The Social Network) เป็นภาพยนตร์แนวดรามาที่กำกับโดย เดวิด ฟินเชอร์ และมี เควิน สเปซีย์ นักแสดงรางวัลออสการ์ เป็นผู้อำนวยการสร้างร่วม เนื้อหาเกี่ยวข้องกับประวัติการก่อตั้งเฟซบุ๊ก บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ชั้นนำของโลก ดัดแปลงจากหนังสือ "แบบว...บังเอิญรวย" (The Accidental Billionaires: The Founding Of Facebook, A Tale of Sex, Money, Genius, and Betrayal) ของเบ็น เมซริช นำแสดงโดย เจสซี ไอเซนเบิร์ก แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ และจัสติน ทิมเบอร์เลค ประพันธ์ดนตรีประกอบโดย เทรนต์ เรซเนอร์ นักร้องนำวงไนน์อินช์เนลส์ และแอตติคัส รอสส์ กำหนดออกฉายในอเมริกาวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 และในประเทศไทยวันที่ 2 ธันวาคม ปีเดียวกัน โดย โคลัมเบียพิกเจอส์ เป็นผู้จัดจำหน่าย ภาพยนตร์ได้รับรางวัลจากสถาบันและองค์กรภาพยนตร์ต่างๆ เป็นจำนวนมาก ที่สำคัญได้แก่ รางวัลลูกโลกทองคำ 4 สาขา ได้แก่ ภาพยนตร์ชีวิตยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และดนตรีประกอบยอดเยี่ยม นอกจากนี้ยงได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออกสาร์ ครั้งที่ 83 จำนวน 8 สาขา ได้แก่ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (ไอเซนเบิร์ก) บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม บันทึกเสียงยอดเยี่ยม ลำดับภาพยอดเยี่ยม และกำกับภาพยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และเดอะโซเชียลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

Day & Night (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553)

Day & Night เป็นภาพยนตร์สั้นของพิกซาร์ซึ่งกำกับโดย เท็ดดี้ นิวตัน โดยเป็นเรื่องราวของ กลางวัน และ กลางคืน ซึ่งเคยจัดฉายก่อน ทอย สตอรี่ 3 แต่ได้รับการเปิดตัวพร้อมกันกับ ทอย สตอรี่ 3 ในรูปแบบดีวีดี.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และDay & Night (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2553) · ดูเพิ่มเติม »

127 ชั่วโมง

127 ชั่วโมง (127 Hours) เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติแนวผจญภัย สร้าง ร่วมเขียนบท และกำกับโดย แดนนี บอยล์ ภาพยนตร์นำแสดงโดยเจมส์ แฟรนโก ในบทนักปีนเขาที่ชื่อ อารอน รัลส์ตัน ที่พลัดตกลงไปติดในร่องเขาอยู่ลำพังในหุบเขา ในร็อบเบอร์สรูสต์ รัฐยูทาห์ เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และ127 ชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

83rd Academy Awards

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »