โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คุมิ โคดะ

ดัชนี คุมิ โคดะ

มิ โคดะ หรือในชื่อจริงว่า คุมิโกะ โคดะ เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 ที่กรุงเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น เริ่มเข้าสู่วงการเพลงจากซิงเกิล TAKE BACK ในปี..

84 ความสัมพันธ์: บัต / ไอโชบัตเตอร์ฟลาย (เพลงคุมิ โคดะ)บิลบอร์ดฟรีกกีฟลาวเวอร์ฟีลพ.ศ. 2525พ.ศ. 2543พ.ศ. 2554กอสซิปแคนดี้ภาษาญี่ปุ่นมอร์นิงมูซูเมะมะกิ โกะโตมิวสิกวิดีโอมูน (เพลงคุมิ โคดะ)ยูเมโนะอุตะ / ฟูตาริเดะ...ริธึมโซนลาสแองเจิลวินด์สเตย์วิธมี (เพลงคุมิ โคดะ)สเต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธออิมาสุกุโฮชิอิอิตส์ออลเลิฟอไลฟ์/ฟิสิคัลธิงฮาร์ปฮ็อต สตัฟ ฟีเจอริ่ง เคเอ็ม-มาร์กิตทรัสต์ยัวร์เลิฟทริปเปิ้ลดี feat. SOULHEADทรีสแปลชทวีปอเมริกาทาบูทงบังชินกีขลุ่ยดีวีดีคอนเสิร์ตคัมวิธมีคัลเลอร์ออฟโซลคิเซะกิซัมเดย์/บอยส์&เกิลส์ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ / อะนะตะดะเกะกะประเทศญี่ปุ่นประเทศไทยป็อปดีวานักร้องนักแต่งเพลงแฮนด์ส (เพลง)แผ่นซีดีแคนวีโกแบ็กโฟร์ฮอตเวฟโวนท์บีลอง...โคะอิโนะสึโบะมิโซอินทูยูโนริเกร็ต (คุมิ โคดะ)ไฟนอลแฟนตาซี X-2ไลส์ไอโวะโทะเมะนะอิเดะไอโนะอุตะเชกอิตอัป (เพลงคุมิ โคดะ)เชสเชส (คุมิ โคดะ)เชอร์รีเกิร์ล/อุนเมเกมเล่นตามบทบาทเกาหลีเก็ตอิตออนเมซเรียล อีโมชั่น / 1000 โนะ โคโตบะเลิฟอะครอสดิโอเชียนเลิฟแอนด์โฮนีย์เอนีไทม์เอเว็กซ์กรุปเจป็อปเจนเทิ่ล วอร์ดส์เทกแบ็กเครซีโฟร์ยูเคียวโตะBirthday EveKAMEN feat. ทัตสึยะ อิชิอิLove Me BackPromise / StarYou (คุมิ โคดะ)13 พฤศจิกายน13 ธันวาคม14 มีนาคม4 ไทม์ ขยายดัชนี (34 มากกว่า) »

บัต / ไอโช

ัท / ไอโช เป็นซิงเกิลที่ 35 ของคุมิ โคดะ เป็นดับเบิ้ล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นซิงเกิลที่จำกัดขายในเฉพาะช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและบัต / ไอโช · ดูเพิ่มเติม »

บัตเตอร์ฟลาย (เพลงคุมิ โคดะ)

ัตเตอร์ฟลาย เป็นซิงเกิลที่ 16 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 2 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 125,662 แผ่น โดยเพลง Butterfly ได้รับรางวัลเพลงยอดเยี่ยมจากงาน Japan Record Award ครั้งที่ 47 และมิวสิกวิดีโอเพลงนี้ยังได้รางวัล Best Female Video และ Best Video of the Year จากงาน MTV Video Music Awards Japan 2006 อีกด้วย เพลง Butterfly เป็นเพลงประกอบละครเรื่องโดคสุเมะ โนะ มาโฮ ภาค 2 ทางช่องทีบีเอส ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง Your Sunshine เป็นเพลงประกอบโฆษณาของครีมกันแดดของนีเวีย และเพลง 大切な君へ เป็นเพลงประกอบรายการแซงชัวเอรี่ / โอโตนาโนะเซคิ ทางช่องนิปปอนทีวี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและบัตเตอร์ฟลาย (เพลงคุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

บิลบอร์ด

ลบอร์ด เป็นนิตยสารทางด้านเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเพลงฉบับหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีลักษณะของชาร์ทเพลงและอัลบั้ม ออกเป็นรายสัปดาห์ โดยนิตยสารฉบับนี้จะมีตารางจัดอันดับเพลงและอัลบั้มยอดนิยมตามแนวเพลงในแต่ละสัปดาห์ แต่ตารางอันดับเพลงซึ่งคนทั่วโลกเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ "Billboard Hot 100" ชาร์ทเพลงอันดับ 1 ของโลก เป็นการจัดอันดับเพลง 100 อันดับ โดยไม่แบ่งประเภทหรือแนวเพลง และอีกตารางคือ "Billboard 200" ซึ่งเป็นการจัดอันดับอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุด 200 อัลบั้มตามผลสำรว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและบิลบอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีกกี

ฟรีคกี้ เป็นซิงเกิลที่ 36 ของคุมิ โคดะ เป็นควอดรุพเพิ้ล เอ ไซด์ซิงเกิลหลังจากปีที่แล้วได้ออกซิงเกิล 4 hot wave ที่มีลักษณะเดียวกัน วางจำหน่ายในวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและฟรีกกี · ดูเพิ่มเติม »

ฟลาวเวอร์

ฟลาวเวอร์ เป็นซิงเกิลที่ 17 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 4 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 106,099 แผ่น เพลง flower เป็นเพลงประกอบนวนิยายเรื่องโคอิบานะ และซิงเกิล flower เป็นซิงเกิลเดียวของคุมิ โคดะที่ไม่มีมิวสิควิดีโอหรือโปรโมชั่นวิดีโอใดๆเลย โดยเพลงนี้ถูกบรรจุอยู่ในอัลบั้ม BEST~first things~.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและฟลาวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีล

ฟีล เป็นซิงเกิลหมายเลข 06 หรือซิงเกิลที่ 24 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2549 เปิดตัวที่อันดับที่ 1 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 39,110 แผ่น ซึ่งซิงเกิล feel เป็นซิงเกิลแรกที่ขึ้นอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ตที่มียอดขายน้อยกว่า 5 หมื่นแผ่น โดยจำกัดจำนวนการวางจำหน่ายแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น และเพลง feel ประกอบโฆษณาของ music.jp เพลง feel เป็นเพลงที่คุมิแต่งขึ้นกับฮิโตชิ ชิโมโนะ โดยคุมิเป็นคนแต่งเนื้อร้องภาษาอังกฤษและเป็นคนร้องคอรัสเพลงนี้เอง และยังเป็นซิงเกิลแรกของคุมิที่มีเนื้อร้องภาษาอังกฤษมากกว่าภาษาญี่ปุ่น มิวสิกวีดีโอเพลง feel เป็นเรื่องราวต่อจากมิวสิกวีดีโอเพลง you เป็นเรื่องราวของความรักของชายหนุ่มกับนักร้องคาเฟ่ซึ่งนำแสดงโดยโอชินาริ ชูโกะ และคุมิ โคดะ ธีมของปกซิงเกิล feel คือ ชุดมาธาดอร์ของประเทศสเปน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและฟีล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กอสซิปแคนดี้

"กอสซิป แคนดี้" เป็นผลงานซิงเกิลที่ 47 ของคุมิ โคดะ ในรูปแบบควอดรุพเพิล เอ ไซด์ซิงเกิล มีกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ในรูปแบบซีดีและซีดีคู่กับดีวีดี ประกอบไปด้วยเพลงหลัก 4 เพลง คือ Lollipop, Inside Fishbowl, Outside Fishbowl และ For you พร้อมกับเพลงพิเศษ Got To Be Real ที่มีในเฉพาะซีดีในการผลิตครั้งแรกเท่านั้น และซิงเกิล Gossip Candy มีคล้ายคลึงกับซิงเกิล 4 hot wave, FREAKY และ MOON ที่มีเพลงหลังในซิงเกิล 4 เพลง เพลง Inside Fishbowl และเพลง Outside Fishbowl เป็นเพลงที่มีทำนองเดียวกัน แต่ต่างเนื้อร้องเหมือนกับซิงเกิล ยูเมโนะอุตะ / ฟูตาร...

ใหม่!!: คุมิ โคดะและกอสซิปแคนดี้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: คุมิ โคดะและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มอร์นิงมูซูเมะ

มอร์นิงมูซูเมะ คือ กลุ่มนักร้องหญิงของประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่ายเฮลโล! โปรเจกต์ ได้รับการก่อตั้งในนามของสึงกุ (หรือเทราดะ มิตสึโอะ โปรดิวเซอร์และผู้ประพันธ์คำร้องและทำนองประจำกลุ่ม) มีแนวเพลงประจำคือแนวเจ-ป็อปที่มีจังหวะสนุกสนาน ชื่อ "มอร์นิงมูซูเมะ" เกิดจากการรวมกันของคำว่า "มอร์นิง" (Morning) ซึ่งเป็นคำในภาษาอังกฤษแปลว่า "ยามเช้า" กับคำว่า "มูซูเมะ" (娘) ซึ่งเป็นคำในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "บุตรสาว" หรือ "เด็กผู้หญิง" เมื่อรวมทั้งสองคำนี้เข้าด้วยกัน คำว่ามอร์นิงมูซูเมะจึงมีความหมายว่า "เหล่าสาวน้อยแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Girls) หรือ "บุตรสาวแห่งรุ่งอรุณ" (Morning Daughter) Keith Cahoon.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและมอร์นิงมูซูเมะ · ดูเพิ่มเติม »

มะกิ โกะโต

มากิ โกะโต (ญี่ปุ่น: 後藤真希/โรมะจิ: Gotō Maki/อังกฤษ: Maki Goto) (เกิดวันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2528) คือ นักร้องแนวเจ-ป็อปหญิงชาวญี่ปุ่น อดีตสมาชิกกลุ่มมอร์นิงมุซุเมะและอดีตสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ปัจจุบันเป็นศิลปินเดี่ยวภายใต้สังกัดริทึม โซน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและมะกิ โกะโต · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

มูน (เพลงคุมิ โคดะ)

มูน เป็นซิงเกิลที่ 40 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2551 โดยเป็นโฟร์อิลิเม็นตส์ซิงเกิลประกอบไปด้วย 4 เพลง คือ Moon Crying, That Ain't Cool, Once Again และ Lady Go! โดยเพลง That Ain't Cool ได้ร้องร่วมกับเฟอร์กี้จากวงเดอะ แบล็ค อายด์ พีส์ และซิงเกิลนี้เป็นซิงเกิลหน้าเอจำนวน 4 เพลงเหมือนกับซิงเกิล 4 hot wave และ FREAKY ที่ประสบความสำเร็จมาแล้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและมูน (เพลงคุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

ยูเมโนะอุตะ / ฟูตาริเดะ...

ูเมโนะอุตะ / ฟูตาร... เป็นซิงเกิลที่ 34 ของคุมิ โคดะ เป็นดับเบิ้ล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เป็นซิงเกิลที่วางคอนเซปต์ว่า "ดับเบิ้ลบัลลาดซิงเกิล" เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 1 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 175,643 แผ่น โดยมียอดขายรวมประมาณ 310,000 แสนแผ่น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและยูเมโนะอุตะ / ฟูตาริเดะ... · ดูเพิ่มเติม »

ริธึมโซน

ริทึม โซน (Rhythm Zone) เป็นค่ายเพลงในเครือของเอเว็กซ์แทร็กซ์ ซึ่งเป็นค่ายเพลงในแนวเพลงทันสมัย โดยมีศิลปินชื่อดังไม่ว่าจะเป็น คุมิ โคดะ, เอ็กซ์ไซล์, m-flo และโทโฮชินก.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและริธึมโซน · ดูเพิ่มเติม »

ลาสแองเจิล

ลาส แองเจิ้ล ฟีเจอริ่ง โทโฮชินกิ เป็นซิงเกิลที่ 38 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเป็นซิงเกิลแรกของคุมิที่ร้องร่วมกันกับนักร้องร่วมค่ายอย่างโทโฮชินกิ โดยเปิดตัวสัปดาห์แรกที่อันดับ 3 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 57,310 แผ่น และมียอดขายรวมประมาณ 89,620 แผ่น เพลง LAST ANGEL เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องผีชีวะ 3 สงครามสูญพันธุ์ไวรัส และยังเป็นเพลงโฆษณาของ music.jp อีกด้วย ในประเทศไทยซิงเกิล LAST ANGEL feat.東方神起 เคยมีตารางการวางจำหน่ายในประเทศไทยโดยบริษัท จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เป็นผู้จัดจำหน่ายในรูปแบบ ซีดี+วีซีดี แต่สุดท้ายได้ยกเลิกการผลิตในประเทศไทยด้วยเหตุผลปัญหาทางลิขสิทธิ์ในบางประการ.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและลาสแองเจิล · ดูเพิ่มเติม »

วินด์

วิน เป็นซิงเกิลหมายเลข 11 หรือซิงเกิลที่ 29 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 3 ของออริกอนชาร์ต จำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น เพลง WIND เป็นเพลงประกอบรายการ "Fuji TV's Torino 2006 Relay" ของฟูจิทีวีในประเทศญี่ปุ่น มิวสิกวิดีโอเพลง WIND เป็นเรื่องราวของนักวิทยาศาสตร์ที่รับบทโดยคุมิ โคดะทำการทดลองเฟื่อให้โลกสวยงาม แต่ก็ทดลองผิดพลาดทุกครั้ง โดยมิวสิกวิดีโอเพลงนี้มีสุนัขของคุมิที่ชื่อว่า "รัม" เล่นมิวสิกวิดีโอนี้ด้วย ธีมของปกซิงเกิล WIND คือ เสื้อผ้าตามแฟชั่นของประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและวินด์ · ดูเพิ่มเติม »

สเตย์วิธมี (เพลงคุมิ โคดะ)

"สเตย์วิธมี" เป็นซิงเกิลที่ 42 ของคุมิ โคดะ ออกจำหน่ายในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยออกจำหน่ายในสองรูปแบบ ได้แก่ รูปแบบปกติ และรูปแบบซีดีแฟนคลับ และในดีวีดีมีมิวสิกวีดีโอทั้งสองแบบเหมือนในซิงเกิล "TABOO" ในฉบับซีดีแฟนคลับจะมีกระจกกับแผ่นรองเมาส์แถมอยู่ด้วย เพลง "stay with me" เป็นเพลงประกอบโฆษณาโทรศัพท์มือถือโซนี่ อีริกสัน เอ็กซ์มินิ และโฆษณาระบบโทรศัพท์มือถือลิสโม่ของ au ซิงเกิล "stay with me" เดิมทีจะถูกวางจำหน่ายในวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและสเตย์วิธมี (เพลงคุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

สเต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธอ

ต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธอ (Step Up) เป็นภาพยนตร์โรแมนติกสไตล์เต้นรำ ที่ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 2006 โดย ทัชสโตน พิคเจอร์ส กำกับโดย แอนน์ เฟล็ตเชอร์ นำแสดงโดย แชนนิ่ง เททัม ดาราหนุ่มมาแรงจากซีรีส์ Coach Carter และหนังวัยรุ่น ‘She’s The Man’ ที่ทำให้เขาแจ้งเกิด ด้วยการประกบดาราสาวขวัญใจวัยรุ่นอเมริกันอย่าง เจนน่า เดแวน ร่วมด้วยนักแสดงสมทบอย่าง ราเชล กริฟฟิธส์ (จาก HBO Series ‘Six Feet Under’), ร็อบ บราวน์ (Take The Lead และ Coach Carter) และศิลปินอาร์แอนด์บี มาริโอ ก็มาร่วมแสดงในเรื่องนี้ด้วย สเต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธอ เข้าฉายในประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและสเต็ปโดนใจ หัวใจโดนเธอ · ดูเพิ่มเติม »

อิมาสุกุโฮชิอิ

อิมาสุกุโฮชิอิ เป็นซิงเกิลหมายเลข 09 หรือซิงเกิลที่ 27 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 5 ของออริกอนชาร์ต จำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น โดยเวอร์ชันเกาหลีใช้ชื่อว่า "지금 바로 원해요" เพลงอิมาสุกุโฮชิอิเป็นเพลงคัฟเวอร์จากเพลง Those Days ของวง Sugar Soul เมื่อปี พ.ศ. 2540 ธีมของปกซิงเกิล 今すぐ欲しい คือ ชุดประจำชาติฝรั่ง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและอิมาสุกุโฮชิอิ · ดูเพิ่มเติม »

อิตส์ออลเลิฟ

"อิตส์ออลเลิฟ" เป็นคอลแลบอเรชันซิงเกิลที่ 2 ของคุมิ โคดะ และเป็นซิงเกิลแรกที่มี "มิโซโนะ" น้องสาวของเธอมาร่วมร้องเพลงอีกด้วย กำหนดวางแผงเดิมวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552 แต่เนื่องจากเหตุผลบางประการจำเป็นต้องเลื่อนการวางจำหน่ายไปเป็นวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2552 แทน สามารถเปิดตัวอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ต ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ 7 ของคุมิ โคดะที่เปิดตัวอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ต และเป็นซิงเกิลแรกของมิโซโนะที่เปิดตัวในอันดับ 1 ออริกอนชาร์ต เพลง "It's all Love!" เป็นเพลงประกอบรายการ "สุคคิริ!!" ทางช่องนิปปอนทีวี เพลง "Faraway" เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "สึบารุ" และเพลง "天秤~強がりな私×弱がりな君~" เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "เอเลียตแยงกี้ซาบุโร" ซิงเกิล "It's all Love!" ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำจาก RIAJ ประจำเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและอิตส์ออลเลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

อไลฟ์/ฟิสิคัลธิง

"อไลฟ์/ฟิสิกเคิลธิง" เป็นซิงเกิลที่ 45 ของคุมิ โคดะ และเป็นดับเบิล เอ ไซด์ ซิงเกิล คือ เพลง "Alive" และเพลง "Physical thing" วางจำหน่ายวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2552 เพลง "Alive" เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "คามุอิไกเด็น" นำแสดงโดยเคนอิจิ มัทสึยามะ อไลฟ์ / ฟิสิกเคิล ติง เป็นซิงเกิลที่ยอดวางจำหน่ายในสัปดาห์แรกที่ต่ำที่สุดตั้งแต่ซิงเกิล ฮ็อต สตัฟ ฟีเจอริ่ง เคเอ็ม-มาร์กิต ที่วางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและอไลฟ์/ฟิสิคัลธิง · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ป

ร์ป ฮาร์ป (harp) หรือ พิณ คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายของตะวันตกมีเสียงเกิดขึ้นจากการใช้นิ้วดีด สายเสียงของเครื่องดนตรีนี้ปกติแล้วมี 47 สาย และที่เหยียบเพดดัล 7 อัน เพดดัลแต่ละอันจะควบคุมสายเสียงแต่ละชุด เช่น เพดดัล อันหนื่งจะบังคับสายเสียง C ทั้งหมดและอีกอันหนื่งจะบังคับสายเสียง D ทั้งหมด ฮาร์ปเป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ชนิดหนึ่งที่มีการกล่าวถึงตั้งแต่ราว 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ที่มาของเครื่องดนตรีชิ้นนี้น่าจะมาจากประเทศไอยคุปต์ (อียิปต์) เพราะตามภาพฝาผนังใต้สุสานของประเทศไอยคุปต์ที่เห็นจะมีรูปคนดีดพิณชนิดนี้อยู่เยอะมาก ฮาร์ป คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายซึ่งแตกต่างจากเครื่องสายประเภทอื่นๆ คือ การขึงของสายจะไม่ผ่านกล่องเสียง (Sounding Board) เหมือนเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ เช่น กีตาร์, ไวโอลิน หรือเปียโน โครงสำหรับขึงสายมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมโค้งงอเล็กน้อยเพื่อให้เกิดความสวยงาม ปกติจะเล่นด้วยการดีดที่สาย คุณภาพเสียงของฮาร์ปมีความแจ่มใสกว่าเสียงของเปียโน ใช้แสดงความสดชื่นแจ่มใส ลักษณะของอาร์พ       โครงสำหรับขึงสายมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม โค้งงอเล็กน้อย มี 47 สาย และ เสียงของฮาร์ปสามารถใช้เพื่อแสดงการไหลของสายน้ำ แสดงความสดชื่นแจ่มใส มีวิวัฒนาการมาจากไลร์ ฮาร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ   1.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและฮาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

ฮ็อต สตัฟ ฟีเจอริ่ง เคเอ็ม-มาร์กิต

็อต สตัฟ ฟีเจอริ่ง เคเอ็ม-มาร์กิต เป็นซิงเกิลที่ 15 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2548 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 10 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 29,000 แผ่น โดยจำกัดจำนวนขายแค่ 3 หมื่นแผ่นเท่านั้น เพลง Hot Stuff เป็นเพลงประกอบรายการริวฮะ-อาร์ ทางช่องทีวีโตเกียวในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและฮ็อต สตัฟ ฟีเจอริ่ง เคเอ็ม-มาร์กิต · ดูเพิ่มเติม »

ทรัสต์ยัวร์เลิฟ

"ทรัสต์ยัวร์เลิฟ" เป็นซิงเกิลที่ 2 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซีซิงเกิลทั้งในประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 18 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมในประเทศญี่ปุ่นประมาณ 42,100 แผ่น ซิงเกิล "ทรัสต์ยัวร์เลิฟ" เป็นซิงเกิลที่ 3 ของคุมิที่ออกจำหน่ายในสหรัฐอเมริกา เป็นเพลงแรกที่สามารถขึ้นไปถึงอันดับที่ 1 บิลบอร์ดแดนซ์ชาร์ตในสหรัฐอเมริกา เพลง "ทรัสต์ยัวร์เลิฟ" เป็นเพลงประกอบโฆษณารถยนต์ยี่ห้อเล็กซัสในสหรัฐอเมริกา และยังเป็นเพลงประกอบรถยนต์ยี่ห้อแซทเทิร์นในสหรัฐอเมริกาอีกด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทรัสต์ยัวร์เลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทริปเปิ้ลดี feat. SOULHEAD

"ทริปเปิ้ลดี ฟีเจอริ่ง โซลเฮด" เป็นซิงเกิลหมายเลข 03 หรือซิงเกิลที่ 21 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโครงการ "12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์" ออกจำหน่ายในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 5 ของชาร์ตออริกอนด้วยยอดขาย 42,548 ชุด โดยจำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นชุดเท่านั้น โดยเพลง "ทริปเปิ้ลดี" ได้ร่วมร้องกับวงโซลเฮด เพลง "ทริปเปิ้ลดี" ย่อมาจากคำว่า "Diamond Diamond Diamond" โดยรูปแบบของมิวสิกวิดีโออยู่ที่เพชรเม็ดงามทั้ง 3 คน ซึ่งแนวเพลงของเพลงนี้ออกแนวร็อกผสมผสานกับแนวอาร์แอนด์บี และนอกจากนี้ยังมีเพลงด้านกลับที่ชื่อว่า "เอ็กซ์เอ็กซ์เอ็กซ์" (Xxx) ออกมาในลักษณะดับเบิล เอ ไซด์ซิงเกิลที่ชื่อว่า "เพรย์ / เอ็กซ์เอ็กซ์เอ็กซ์" ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 เพลง "ทริปเปิ้ลดี" เป็นเพลงประกอบโฆษณาของซูซูกิและเชฟโรเลต และนอกจากนี้ซิงเกิล "ทริปเปิ้ลดี" ยังออกจำหน่ายในสหราชอาณาจักรอีกด้วย ธีมของปกซิงเกิล "ทริปเปิ้ลดี" คือ การแต่งกายด้วยชุดหนังตามแฟชั่นของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทริปเปิ้ลดี feat. SOULHEAD · ดูเพิ่มเติม »

ทรีสแปลช

"ทรี สแปลช" เป็นซิงเกิลที่ 44 ของคุมิ โคดะ และเป็นทริปเปิล เอ ไซด์ ซิงเกิล คือ เพลง "Lick me ♡", "ECSTASY", และ "走れ!" วางจำหน่ายวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เพลง "Lick me ♡" เป็นเพลงประกอบโฆษณาคอนเสิร์ต "SANKYO「KODA KUMI FEVER LIVE IN HALLⅡ」" เพลง "ESTACY" เป็นเพลงประกอบโฆษณา music.jp และเพลง "ฮาชิเระ!" (走れ!) เป็นเพลงประกอบรายการ "S☆1" ทางช่องทีบีเอส ซิงเกิล "3 SPLASH" มีเพลงอินโทรดักชันก่อนขึ้นเพลงหลัก และเอาโทรดักชันหลังเพลงหลักเหมือนกับซิงเกิล "4 hot wave" ซิงเกิล "3 SPLASH" ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำจาก RIAJ เนื่องจากมียอดขายและยอดส่งออกเกิน 100,000 แผ่น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทรีสแปลช · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทาบู

ทาบู เป็นซิงเกิลที่ 41 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โดยวางจำหน่ายถึงสองแบบ คือ แบบปกติ และแบบแฟนคลับซีดี เป็นเพลงที่แต่งร่วมกันระหว่างคุมิ โคดะ และ HIRO อดีตมือกลองวง Raphael ที่เคยร่วมงานกันในเพลง "อะไม วะนะ" ในอัลบั้ม Kingdom มาแล้ว ซิงเกิล TABOO เปิดตัวอันดับที่ 1 ออริกอนชาร์ตในสัปดาห์แรกด้วยยอดขาย 66,569 แผ่น โดยเป็นซิงเกิลเปิดตัวในอันดับที่ 1 หลังจาก 1 ปีกับอีก 3 เดือน โดยที่ซิงเกิลสุดท้ายที่เปิดตัวอันดับ 1 คือ FREAKY มิวสิกวิดีโอเพลง TABOO มีฉากหลังอยู่ที่ไนท์คลับในเวลากลางคืน โดยคุมิ โคดะและเพื่อนชายในมิวสิกวิดีโอเข้าไปพบปะสังสรรค์กันกับกลุ่มเพื่อนในคลับนั้น และมิวสิกวิดีโอนี้มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน เพลง TABOO เป็นเพลงประกอบโฆษณา music.jp เป็นเพลงประกอบการถ่ายทอดสดกีฬามวยปล้ำหญิงชิงแชมมป์โลกปี 2008 ทางช่องนิปปอนทีวี และนอกจากนี้ยังเป็นเพลงประกอบเกม "ไซไฮ โนะ ยุคุเอะ" บนเครื่องนินเทนโด ดีเอสอีกด้วย ซิงเกิล TABOO ได้รับรางวัลพลาตินัมดิสก์จาก RIAJ เนื่องจากมียอดขายและยอดสั่งจองเกิน 250,000 แผ่น พร้อมกับซิงเกิล Promise / Star.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทาบู · ดูเพิ่มเติม »

ทงบังชินกี

ทงบังชินกี หรือชื่อจีนว่า ตงฟังเฉินฉี่ (Tong Vfang Xien Qi, ย่อว่า TVXQ!) และชื่อญี่ปุ่นว่า โทะโฮะชิงกิ เป็นบอยแบนด์จากเกาหลีใต้ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและทงบังชินกี · ดูเพิ่มเติม »

ขลุ่ย

ลุ่ย เป็นเครื่องดนตรีโบราณของไทยชนิดหนึ่ง สันนิษฐานว่า อาจจะเกิดขึ้นก่อนหรือในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ร่วมสมัยกับเครื่องดนตรีประเภท กลอง ฆ้อง กรับ พิณเพียะ แคน ขลุ่ย ปี่ ซอ และกระจับปี่ แต่มีหลักฐานชัดเจนปรากฏ ในกฎมนเฑียรบาลสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) แห่งกรุงศรีอยุธยาว่าห้ามร้องเพลงหรือเป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีตะโพนในเขตพระราชฐานก่อนที่จะมาเป็นขลุ่ยอย่างที่ปรากฏรูปร่างในปัจจุบัน ขลุ่ยได้ผ่านการวิวัฒนาการมาเป็นระยะเวลายาวนาน มาจากปี่อ้อซึ่งตัวปี่หรือเลาทำจากไม้รวกท่อนเดียวไม่มีข้อ และมีลิ้นซึ่งทำด้วยไม้อ้อลำเล็กสำหรับเป่าให้เกิดเสียง หลังจากนั้นจึงปรับเปลี่ยนรูปร่าง และวิธีเป่าจนกลายมาเป็นขลุ่ยอย่างที่เรียกกันในปัจจุบันนี้ว่าเป็นขลุ่ยเพียงออ.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและขลุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีดี

right ดีวีดี (Digital Versatile Disc; ชื่อย่อ DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดี 1x มีค่าเท่ากับ 10.5 Mb/s หรือราวๆ 1.32 MB/s เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและดีวีดี · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ต

'''ไทยเทเนี่ยมในงาน MTV LIVE – Thaitanium Uncensored''' คอนเสิร์ต (Concert) คือการแสดงสด โดยมากหมายถึงดนตรี เป็นการแสดงต่อหน้าคนดู โดยอาจเป็นการแสดงของนักดนตรีคนเดียว หรือ อาจจะรวมหลายเครื่องดนตรี เช่น วงออร์เคสตรา, วงประสานเสียง หรือ วงดนตรี เราอาจเรียกการแสดงคอนเสิร์ตว่า โชว์ (Show) หรือ กิ๊ก (gig) ทัวร์ คอนเสิร์ต คือการทัวร์ของนักดนตรี กลุ่มดนตรี ศิลปิน ในหลายๆเมือง หลายๆสถานที่ โดยเฉพาะในวงการเพลงป็อปที่จะมีโปรเจกต์ใหญ่หลายเดือน หรือเป็นปี มีการทัวร์อีกประเภทหนึ่งที่มีจุดประสงค์เพื่อการโปรโมทอัลบั้ม ยอดขายของตัวศิลปิน เรียกว่า โปรโมทัวร.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและคอนเสิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

คัมวิธมี

ัม วิธ มี เป็นซิงเกิลที่ 8 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิลขนาด 12 ซม.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและคัมวิธมี · ดูเพิ่มเติม »

คัลเลอร์ออฟโซล

"คัลเลอร์ออฟโซล" เป็นซิงเกิลที่ 3 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 29 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 13,000 แผ่น มิวสิกวิดีโอเพลง "คัลเลอร์ออฟโซล" เป็นมิวสิกวิดีโอเพลงแรกของคุมิ โคดะที่ใช้แอนิเมชันมาใช้ในมิวสิกวีดีโอ เพลง "คัลเลอร์ออฟโซล" เป็นเพลงประกอบรายการ AX MUSIC FACTORY ทางช่องนิปปอนทีวี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและคัลเลอร์ออฟโซล · ดูเพิ่มเติม »

คิเซะกิ

ซะกิ เป็นซิงเกิลที่ 13 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2547 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 7 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 49,000 แผ่น เพลงคิเซคิเป็นเพลงประกอบการถ่ายทอดสดเจลีคของประเทศญี่ปุ่น ทางช่องเอ็นเอชเค ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง LOVE HOLIC เป็นเพลงปิดของรายการเซไค วาริ วาริ แวลูล.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและคิเซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ซัมเดย์/บอยส์&เกิลส์

ซัมเดย์/บอยส์&เกิลส์ เป็นซิงเกิลหมายเลข 12 หรือซิงเกิลที่ 30 ของคุมิ โคดะ เป็นซิงเกิลสุดท้ายของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 3 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมมากกว่า 90,000 แผ่น ซึ่งเพลง Someday เป็นเพลงประกอบละครญี่ปุ่นเรื่อง "ชินเกียวโตเมคิวอันไน ซีซั่น 8" และเพลง Boys♡Girls เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "โฮสท์คลับเด็ด เจ็ดหนุ่มฮอต" (WATERS) มิวสิกวิดีโอเพลง Someday เป็นเรื่องราวตอนจบของมิวสิกวิดีโอ Wish your Happiness & Love ที่มีมิวสิกวิดีโอเพลง you, feel และLies ธีมของปกซิงเกิล Someday / Boys♡Girls คือ เกอิชาในชุดกิโมโนในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและซัมเดย์/บอยส์&เกิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ / อะนะตะดะเกะกะ

"ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ / อะนะตะดะเกะกะ" เป็นผลงานซิงเกิลที่ 48 ของคุมิ โคดะ ในรูปแบบดับเบิล เอ ไซด์ซิงเกิล มีกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2553 ในรูปแบบซีดีและซีดีคู่กับดีวีดี ประกอบไปด้วยเพลงหลัก 3 เพลง คือ ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ / อะนะตะดะเกะกะ และ walk ~to the future~ เพลง "walk ~to the future~" เป็นเพลงที่ถูกนำมาเรียบเรียงใหม่อีกครั้งของเพลง "walk" ในอัลบัม affection เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 10 ในวงการเพลงของคุมิ โคดะ มิวสิกวิดีโอทั้ง 3 เพลงมีเรื่องราวต่อเนื่องกันโดยเพลง "ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ" เป็นภาคแรก เพลง "อะนะตะดะเกะกะ" เป็นภาคสอง และเพลง "walk ~to the future~" เป็นภาคจบ โดยในเพลง "ซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ" คุมิ โคดะเป็นตัวละครดำเนินเรื่อง ส่วนเพลง "อะนะตะดะเกะกะ" มิโซโนะ น้องสาวของคุมิ โคดะเป็นตัวละครดำเนินเรื่อง และในเพลง "walk ~to the future~" ทั้งสองได้แสดงร่วมกัน อีกทั้งเป็นครั้งแรกที่ซิงเกิลของคุมิ โคดะและซิงเกิลของอายูมิ ฮามาซากิวางจำหน่ายในวันเดียวกันซึ่งมีกลุ่มผู้ฟังกลุ่มเดียวกัน โดยเปิดตัวที่อันดับ 2 รองจากซิงเกิล crossroad ของอายูมิ ฮามาซากิ แต่ในระหว่างช่วงสัปดาห์แรกซิงเกิลก็ขึ้นสู่อันดับที่ 1 ของชาร์ตประจำวันได้.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและซุกิเดะซุกิเดะซุกิเดะ / อะนะตะดะเกะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป็อปดีวา

"ป็อปดีวา" เป็นผลงานซิงเกิลที่ 49 ของคุมิ โคดะ มีกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ใน 3 รูปแบบ คือ ซีดี, ซีดีคู่กับหูฟัง และซีดีคู่กับดีวีดี ซิงเกิล "POP DIVA" เป็นซิงเกิลในอัลบัมใหม่ "Dejavu" ที่จะวางจำหน่ายในวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและป็อปดีวา · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

นักแต่งเพลง

นักแต่งเพลง หมายถึง ผู้ที่ทำการประพันธ์ทำนอง และ/หรือ ผู้ที่ทำการประพันธ์คำร้อง โดย เพลง ประกอบไปด้วยโครงสร้างหลักๆ 2 ส่วน คือ ทำนอง และ คำร้อง (เนื้อเพลง) การแต่งเพลง ในสมัยแรกๆ ผู้ประพันธ์ทำนอง และ ผู้ประพันธ์คำร้อง มักจะเป็นคนๆเดียวกัน ต่อมาการแต่งเพลงพัฒนาไปตามแบบอย่างสากล คือ การสร้างเพลงมักจะถูกประพันธ์ทำนองขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงค่อยประพันธ์คำร้อง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและนักแต่งเพลง · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์ส (เพลง)

"แฮนด์ส" คือซิงเกิลที่ 14 ของคุมิ โคดะในรูปแบบซิงเกิลแม็กซี ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 7 ของชาร์ตออริกอน มียอดขายรวมประมาณ 49,000 ชุด โดยซีดีของซิงเกิลนี้เป็นซีดีที่ป้องกันการทำการคัดลอกข้อมูล หรือการทำซ้ำ เพลง "แฮนด์ส" เป็นเพลงประกอบรายการ อุชิมูระโปรดิวซ์ ทางช่องนิปปอนทีวี ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง "ธรูเดอะสกาย" เป็นเพลงปิดของรายการ เดอะซันเดย์ มิวสิกวิดีโอเพลง "แฮนด์ส" สร้างขึ้นใน 2 ฉบับ ฉบับแรกบรรจุในซิงเกิล "แฮนด์ส" ในส่วนของดีวีดี และอยู่ในอัลบั้ม เบสต์~เฟิสต์ธิงส์~ และฉบับอัลบั้มบรรจุในอัลบั้ม ซีเคร็ต.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและแฮนด์ส (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและแผ่นซีดี · ดูเพิ่มเติม »

แคนวีโกแบ็ก

"แคนวีโกแบ็ก" เป็นผลงานซิงเกิลที่ 46 ของคุมิ โคดะ มีกำหนดวางจำหน่ายวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2553 ในรูปแบบซีดีและซีดีคู่กับดีวีดี เพลง "Can We Go Back" เป็นเพลงคัฟเวอร์จากอัลบัม "All I Ever Wanted" ของเคลลี คลาร์กสัน ซิงเกิล "Can We Go Back" เป็นซิงเกิลที่วางจำหน่ายแบบจำกัดจำนวนเพียง 50,000 แผ่นเท่านั้นเหมือนกับซิงเกิล เอนีไทม์ โดยซิงเกิลนี้วางจำหน่ายก่อนการวางจำหน่ายอัลบั้ม BEST ~third universe~ & 8th AL "UNIVERSE เพียงสองสัปดาห์ เพลง "Can We Go Back" เป็นเพลงประกอบโฆษณาของ music.jp ส่วนเพลง "Good☆day" เป็นเพลงประกอบโฆษณาห้างสรรพสินค้าโซโก้.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและแคนวีโกแบ็ก · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์ฮอตเวฟ

"โฟร์ฮอตเวฟ" เป็นซิงเกิลที่ 32 ของคุมิ โคดะ เป็นควอดรุพเพิล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็นซิงเกิลที่ออกวางจำหน่ายพร้อมกับอัลบั้มภาพ "MOROC" ที่ถ่ายทำกันในประเทศโมร็อกโก ซึ่งมิวสิกวีดีโอทั้งหมดก็ถ่ายที่ประเทศโมร็อกโกด้วย เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 2 ของชาร์ตออริกอน ด้วยยอดขาย 207,484 แผ่น ซึ่งเป็นตัวซิงเกิลที่มียอดขายเปิดตัวมากที่สุดของนักร้องหญิงในประเทศญี่ปุ่นของปี พ.ศ. 2549 โดยมียอดขายรวมประมาณ 4 แสนชุด และเป็นซิงเกิลที่มียอดขายมากที่สุดของคุมิ โคดะ มิวสิกวิดีโอในซิงเกิล"โฟร์ฮอตเวฟ" เป็นเรื่องราวต่อเนื่องกันทั้งหมด โดยเริ่มจากเพลง JUICY, With your smile, I'll be there และ 人魚姫.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและโฟร์ฮอตเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

โวนท์บีลอง

"โวนท์บีลอง" เป็นซิงเกิลพิเศษระหว่างวงเอ็กซ์ไซล์ และคุมิ โคดะ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 เป็นเพลงเดิมของ DA BUBBLEGUM BROTHERS ในปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นซิงเกิลพิเศษที่ 2 ของวงเอ็กซ์ไซล์ หลังจากซิงเกิลแรก "SCREAM" ได้ร่วมงานกับวงเกลย์ เพลง "โวนท์บีลอง" ไม่ได้บรรจุไว้ในอัลบั้มใดเลย ในฉบับซิงเกิลมีการแบ่งช่วงออกเป็น 2 ฉบับ คือ คาราโอเกะสำหรับผู้ชาย และคาราโอเกะสำหรับผู้หญิง แต่ในฉบับอัลบั้มของเอ็กซ์ไซล์ ได้เปลี่ยนเป็นเพลง "โวนท์บีลอง" ร้องกับเนเวอร์แลนด์ โดยบรรจุในอัลบั้ม เอ็กไซล์อีโวลูชัน และ เอ็กซ์ไซล์แคทชีเบสท์ และเปลี่ยนช่วงร้องของคุมิ โคดะเป็น TAKAHIRO แทน ส่วนในฉบับอัลบั้มของคุมิ โคดะ ได้เปลี่ยนเป็นเพลง "โวนท์บีลอง~แบล็กเชอร์รีเวอร์ชัน~" และ "โวนท์บีลอง~เรดเชอร์รีเวอร์ชัน~" แทน และบรรจุในอัลบั้ม แบล็กเชอร์รี เพลง "โวนท์บีลอง" เป็นเพลงประกอบโฆษณา dwango.jp, mu-mo และ music.jp และนอกจากนี้ยังเป็นเพลงประกอบเกม "ไทโกะทัตสึจิน" บนเครื่องเกมนินเทนโด ดีเอสอีกด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและโวนท์บีลอง · ดูเพิ่มเติม »

โคะอิโนะสึโบะมิ

อิโนะสึโบะมิ เป็นซิงเกิลที่ 31 ของคุมิ โคดะ และเป็นแม็กซีซิงเกิลแรกหลังจากออกซิงเกิลติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ และเบสท์อัลบั้มที่ 2 อย่าง BEST~second session~ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 2 ของชาร์ตออริกอน มียอดขายรวมมากกว่า 273,000 แผ่น และมียอดดาวน์โหลดมากกว่า 1 ล้านครั้งภายใน 9 วัน ซึ่งเพลงโคะอิโนะสึโบะมิเป็นเพลงประกอบละครญี่ปุ่นเรื่อง "บุซุโนะฮิโตะมินิโคะอิชิเตะรุ" นำแสดงโดยอินางาคิ โกโร่แห่งวงSMAP มิวสิกวิดีโอเพลโคะอิโนะสึโบะมิ เป็นเรื่องราวของหญิงสาว 3 อาชีพ คือ ช่างซ่อมรถ, คนขายดอกไม้ และพนักงานบริษัทที่แต่งตัวล้าสมัย และมักจะมีความผิดพลาดในการทำงานบ่อยครั้ง จึงได้อธิษฐานต่อนางฟ้าให้เปลี่ยนแปลงตัวเธอให้สวยขึ้น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและโคะอิโนะสึโบะมิ · ดูเพิ่มเติม »

โซอินทูยู

"โซอินทูยู" เป็นซิงเกิลที่ 4 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซีซิงเกิล ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2545 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 50 ของออริกอนชาร์ต เป็นซิงเกิ้ลที่มียอดขายน้อยที่สุดของเธอ โดยมียอดขายรวมแค่ 5,800 แผ่นเท่านั้น เพลง "โซอินทูยู" เป็นเพลงประกอบรายการมากถึง 3 รายการคือ แรงค์ โอโคคุ เจแปน เคาท์ ดาวน์ และรายการโตเกียว คลับ แก๊ง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและโซอินทูยู · ดูเพิ่มเติม »

โนริเกร็ต (คุมิ โคดะ)

นริเกร็ต เป็นซิงเกิลหมายเลข 08 หรือซิงเกิลที่ 26 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 4 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมมากกว่า 131,000 แผ่น ซึ่งซิงเกิลนี้จะแตกต่างจากซิงเกิลที่ผ่านมาเพราะไม่ได้จำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่น โดยเพลง No Regret เป็นเพลงประกอบการ์ตูนเรื่องแสบซ่าส์ ผ่ากฎเทพ ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง Rain (Unplugged Version) ซึ่งเป็นเพลงจากอัลบั้ม "feel my mind" โดยเป็นเวอร์ชันคอนเสิร์ต ส่วนเพลงบรรเลงเป็นเวอร์ชันในอัลบั้ม ธีมของปกซิงเกิล No Regret คือ ชุดส่าหรีของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและโนริเกร็ต (คุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี X-2

ฟนอลแฟนตาซี X-2 (Final Fantasy X-2) เป็นเกมประเภท Console role-playing ที่พัฒนาและจัดจำหน่ายโดย Square (ปัจจุบันคือ สแควร์เอนิกซ์) สำหรับเครื่อง PlayStation 2 ของโซนี่ วางจำหน่ายเมื่อ..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและไฟนอลแฟนตาซี X-2 · ดูเพิ่มเติม »

ไลส์

"ไลส์" เป็นซิงเกิลหมายเลข 05 หรือซิงเกิลลำดับที่ 23 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลในโครงการ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 เปิดตัวในอันดับที่อันดับที่ 7 ของชาร์ตออริกอนด้วยยอดจำหน่าย 43,900 ชุด โดยจำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นชุดเท่านั้น และเพลง "ไลส์" เป็นเพลงประกอบโฆษณาของเว็บไซต์ music.jp และยังเป็นเพลงปิดของรายการ ADORE na! GAREJJI เพลง "ไลส์" เป็นผลงานการประพันธ์ของคุมิเอง เรียบเรียงโดยยานากิแมนซึ่งเป็นโปรดิวเซอร์ชื่อดังของประเทศญี่ปุ่นที่ร่วมงานกับศิลปินชื่อดังมากมายอย่าง โบอา, SMAP เป็นต้น มิวสิกวิดีโอเพลง "ไลส์" เป็นเรื่องราวต่อจากมิวสิกวิดีโอเพลง "ยู" และ "ฟีล" เป็นเรื่องราวของความรักของชายหนุ่มนักมายากลกับแฟนสาวซึ่งผู้ช่วยของเขาซึ่งนำแสดงโดยโชเก็น และคุมิ โคดะ ธีมของปกซิงเกิลเพลง "ไลส์" คือ ชุดกี่เพ้าประเทศจีน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและไลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอโวะโทะเมะนะอิเดะ

อโวะโทะเมะนะอิเดะ เป็นซิงเกิลที่ 51 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554 วางจำหน่าย 3 รูปแบ คือ ซีดี, ซีดี+ดีวีดี, ซีดี เวอร์ชันภาพยนตร์ เพลง ไอโวะโทะเมะนะอิเดะ เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง เซคคัน เวอร์จิน เหมือนกับเพลง อะนะตะดะเกะกะ ที่เป็นเพลงประกอบละครเรื่องเดียวกัน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและไอโวะโทะเมะนะอิเดะ · ดูเพิ่มเติม »

ไอโนะอุตะ

อโนะอุตะ เป็นซิงเกิลที่ 37 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยเพลงไอโนะอุตะเป็นเพลงรักฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูหนาวซึ่งคล้ายกันกับซิงเกิล "ยูเมโนะอุตะ / ฟูตาริเดะ" ที่วางจำหน่ายเมื่อปีที่แล้วแล้วประสบความสำเร็จไปอย่างงดงาม ซิงเกิลไอโนะอุตะเปิดตัวในอันดับที่ 2 ของออริกอนชาร์ต ด้วยยอดขาย 65,276 แผ่นในสัปดาห์แรก เพลงไอโนะอุตะเป็นเพลงแนวบัลลาดที่มีเนื้อหาเศร้า และเป็นเพลงประกอบโฆษณาของ music.jp ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง Come Over เป็นเพลงประกอบการแข่งขันยูโด 2007 ที่ประเทศญี่ปุ่น ในซีดีซิงเกิลไอโนะอุตะล็อตแรกจะมีเพลงไอโนะอุตะเวอร์ชันรีมิกซ์รวมอยู่ด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและไอโนะอุตะ · ดูเพิ่มเติม »

เชกอิตอัป (เพลงคุมิ โคดะ)

"เชกอิตอัป" เป็นซิงเกิลหมายเลข 04 หรือซิงเกิลลำดับที่ 22 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโครงการ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ ออกจำหน่ายในวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 6 ของชาร์ตออริกอนด้วยยอดขาย 44,419 แผ่น โดยจำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น และเพลง "เชกอิตอัป " ยังใช้เป็นเพลงปิดของรายการ เดอะซันเดย์ ทางช่องนิปปอนทีวี ธีมของปกซิงเกิล "เชกอิตอัป" คือ ชุดในงานคานิวัลของประเทศบราซิล.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเชกอิตอัป (เพลงคุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

เชส

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเชส · ดูเพิ่มเติม »

เชส (คุมิ โคดะ)

() เป็นซิงเกิลที่ 12 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล ซึ่งไม่ได้วางจำหน่ายในรูปแบบของซีดี+ดีวีดีเหมือนซิงเกิลที่แล้วอย่าง LOVE & HONEY วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 18 ของออริกอนชาร์ต ซึ่งเป็นซิงเกิลที่ไม่ประสบความสำเร็จมากนักเมื่อเทียบกับซิงเกิลที่แล้วอย่าง LOVE & HONEY โดยมียอดขายรวมเพียงแค่ 22,000 แผ่น เพลง Chase เป็นเพลงประกอบรายการซามาซู โตะ ยูกะ โนะ อายาชิ xx คาชิ ชาอุ โนะ คาโยะ!! ทางช่องทีวีอาซาฮี ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง Heat เป็นเพลงที่ร้องร่วมกับ MEGARYU.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเชส (คุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์รีเกิร์ล/อุนเม

อร์รีเกิร์ล/อุนเม เป็นซิงเกิลที่ 35 ของคุมิ โคดะ เป็นดับเบิ้ล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็นซิงเกิลที่วางขายก่อนอัลบั้มที่ 5 Black Cherry จะวางขาย 3 สัปดาห์ เปิดตัววันแรกที่อันดับที่ 2 ของออริกอนชาร์ต โดยสัปดาห์แรกอยู่ในอันดับที่ 3 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 61,817 แผ่น โดยมียอดขายรวมประมาณ 1 แสนแผ่น เพลง Cherry Girl เป็นเพลงประกอบโฆษณาโทรศัพท์มือถือของซอฟต์แบงค์รุ่น SoftBank 811T และนอกจากนี้ยังประกอบภาพยนตร์สั้นเรื่อง Cherry Girl ที่คุมิ โคดะนำแสดงโดยเป็นดีวีดีแผ่นที่ 2 ที่อยู่ในอัลบั้ม Black Cherry ของเธอ ส่วนเพลง 運命(อุนเมย์) เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "โอกุ สงครามจอมนาง".

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเชอร์รีเกิร์ล/อุนเม · ดูเพิ่มเติม »

เกมเล่นตามบทบาท

กมเล่นตามบทบาท หรือ เกมอาร์พีจี (Role-playing game: RPG) คือเกมประเภทหนึ่งที่ผู้เล่นสมมุติรับบทเป็นตัวละครหนึ่งในเกม โดยเล่นตามกฎกติกาของเกมผ่านการป้อนคำสั่งและเลือกเงื่อนไขที่เกมกำหนดมา โดยผลลัพธ์ที่เกิดจะแตกต่างกัน ตามเงื่อนไขที่เลือก โดยเกมอาจจะเป็นทั้งลักษณะ การเล่นโดยเขียนในกระดาษ วิดีโอเกมหรือคอมพิวเตอร์เกมก็ได้ ในยุคแรกๆเกมเล่นตามบทบาทจะเป็นลักษณะของเกมกระดาน ที่ผู้เล่นจะแบ่งฝ่ายเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้นำในเกม ทำหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆผ่านกระดานในเกม ขณะที่ผู้เล่นอีกฝ่ายจะเป็นผู้เล่นต้องสร้างตัวละครและทอยเต๋ากำหนดค่าต่างๆ รวมถึงกระทำตามกฎต่างๆ เช่น การพูดคุยหาข้อมูล, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, การเก็บวัตถุและอาวุธ, เก็บสะสมค่าประสบการณ์และเลื่อนระดับ (เลเวล) จุดเด่นที่ทำให้เกมเล่นตามบทบาทได้รับความนิยม เพราะเกมเล่นตามบทบาทจะมีอิสระในกฎกติกา ทำให้การเล่นในแต่ละครั้งจะเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับที่ผู้นำเกมเลือก เกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานที่ได้รับความนิยมในต่างประเทศมีมาก แต่ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เมื่อถึงยุคที่เครื่องเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เกมเล่นตามบทบาทหลายๆเกมก็พัฒนากลายมาเป็นวิดีโอเกมแนวเล่นตามบทบาท โดยยังคงลักษณะเดิมของตัวเกมไว้ เช่น การให้ผู้เล่นสร้างตัวละครขึ้นเอง การต่อสู้ที่อ้างอิงหลักการทอยลูกเต๋า และอิสรภาพในเกม แต่เมื่อความนิยมเกมเล่นตามบทบาทได้เข้าในประเทศญี่ปุ่นได้เกิดเกมเล่นตามบทบาทแบบญี่ปุ่นขึ้น หรือที่เรียกว่า คอนโซล-โรลเพลย์อิงเกม (Console-Roleplaying Game) ซึ่งจะตัดทอนเสรีภาพในการเล่นลง แต่จะเสริมเนื้อหาที่เรื่องราวและตัวละครให้มากขึ้น ส่วนเกมของฝั่งอเมริกาจะเรียกว่า คอมพิวเตอร์-โรลเพลย์อิงเกม (Computer-Roleplaying Game) และฝ่ายเกมกระดานก็ถูกเรียกว่า เทเบิ้ลทอป-โรลเพลย์อิงเกม (Tabletop-Roleplaying Game) ในปัจจุบันคำจัดการความของคำว่า เกมเล่นตามบทบาท หรือ RPG นั้น ในฝั่งประเทศแถบเอเชียจะหมายถึง เกมที่มีการเก็บค่าประสบการณ์, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, ฉากต่อสู้แบบตัดฉากจากฉากสนาม และเนื้อเรื่องที่สวยงามและสนุกสนาน แต่ในเกมฝั่งอเมริกาจะหมายถึง เกมที่มีเสริภาพในการเล่น, การสรรค์สร้างตัวละครได้ตามต้องการ ในประเทศไทย นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์บางส่วนเรียกเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลว่า เกมภาษา เนื่องจาก ผู้เล่นรู้สึกว่าเกมเล่นตามบทบาทมีใช้การเลือกคำสั่ง ผ่านบทสนทนาของตัวละคร (ในช่วงแรกเป็นภาษาญี่ปุ่น) สำหรับการดำเนินเกม ในปัจจุบันถึงแม้ว่าเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลยังเป็นที่นิยม แต่ก็ยังมีการจำหน่ายเกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานอยู่ เกมเล่นตามบทบาทแบบเกมกระดานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ เดียอาโบล และ ดิเอลเดอร์สครอลส์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมโซลที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ไฟนอลแฟนตาซี และ ดราก้อนเควสต.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเกมเล่นตามบทบาท · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลี

กาหลี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

เก็ตอิตออน

"เก็ตอิตออน" เป็นซิงเกิลหมายเลข 00 ของคุมิ โคดะ เป็นซิงเกิลพิเศษของภายหลังโครงการ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ ออกจำหน่ายในรูปแบบดิจิทัลดาวน์โหลดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในอัลบั้ม เบสต์~เซคอนด์เซสชัน~ จะถูกตัดอยู่ในรูปแบบของเพลงเปิดที่ชื่อว่า "Introduction to the second session" เพลง "เก็ตอิตออน" เป็นเพลงประกอบโฆษณาของ mu-mo และ ธีมของปกดิจิทัลซิงเกิล "เก็ตอิตออน" คือ การแต่งกายของชาวอาหรั.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเก็ตอิตออน · ดูเพิ่มเติม »

เมซ

มซ เป็นซิงเกิลที่ 6 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 25 ของออริกอนชาร์ต เป็น โดยมียอดขายรวม 12,816 แผ่น โดยเพลง m·a·z·e เป็นเพลงที่คุมิแต่งขึ้นมาเอง ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง one เป็นการแต่งระหว่างคุมิและลิซ่าอดีตสมาชิกของ m-flo.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเมซ · ดูเพิ่มเติม »

เรียล อีโมชั่น / 1000 โนะ โคโตบะ

รียล อีโมชั่น / 1000 โนะ โคโตบะ เป็นซิงเกิลที่ 7 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิลขนาด 12 ซม.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเรียล อีโมชั่น / 1000 โนะ โคโตบะ · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟอะครอสดิโอเชียน

"เลิฟอะครอสดิโอเชียน" เป็นซิงเกิลที่ 6 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซีซิงเกิล ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 19 ของออริกอนชาร์ต เป็น โดยมียอดขายรวม 22,100 แผ่น เพลง "เลิฟอะครอสดิโอเชียน" เป็นเพลงประกอบโฆษณาเครื่องสำอางของคาเนโบ ส่วนเพลงหน้าบีบรรจุเพลง "เดอะมีนงออฟพัซ" ฉบับคุมิร้องเดี่ยว และได้บรรจุเป็นเพลงพิเศษในอัลบั้ม เบสต์~เฟิสต์ติงส์~.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเลิฟอะครอสดิโอเชียน · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟแอนด์โฮนีย์

"เลิฟแอนด์โฮนีย์" เป็นซิงเกิลลำดับที่ 11 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซีซิงเกิล และเป็นซิงเกิลแรกของคุมิที่วางจำหน่ายในรูปแบบซีดีพร้อมดีวีดี ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 4 ของออริกอนชาร์ต โดยมียอดขายสัปดาห์แรก 34,681 แผ่น และมียอดขายรวม 151,000 แผ่น ในซิงเกิ้ลนี้มีเพลงเด่นอย่าง キューティーハニー (คิวตีฮันนี) ซึ่งเป็นเพลงประกอบการ์ตูนเรื่อง คิวตีฮันนี ในฉบับซีดีปกติเพลง "เดอะตีมออฟซิสเตอร์จิลล์" (The theme of Sister Jill) จะใช้ชื่อว่า The theme of Sister Jill (LOVE&HONEY version) แต่ในฉบับพร้อมดีวีดีจะเป็นเพลงสั้น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเลิฟแอนด์โฮนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนีไทม์

อนีไทม์ เป็นซิงเกิลที่ 39 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยวางแผงก่อนอัลบั้มที่ 6 "Kingdom" เพียง 1 สัปดาห์เท่านั้น โดยตอนแรกเพลง anytime ได้ถูกบรรจุอยู่ในซิงเกิล FREAKY แต่ตอนหลังล้มเลิกไปก่อนที่จะนำเพลง anytime ตัดเป็นซิงเกิลในที่สุด โดยมิวสิกวีดีโอเพลง anytime เวอร์ชันซิงเกิลและเวอร์ชันอัลบั้มจะแตกต่างกัน และในดีวีดีจะมีรีมิกซ์มิวสิกวีดีโอจากอัลบั้ม Kingdom อีกด้วย ซิงเกิล anytime เปิดตัวในอันดับที่ 4 ออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 43,051 แผ่น และจำกัดจำนวนเพียงแค่ 50,000 เท่านั้น เพลง anytime เป็นเพลงประกอบโฆษณาเครื่องดื่มของบริษัทคิริน และนอกจากนี้ยังเป็นเพลงประกอบโฆษณาของ music.jp อีกด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเอนีไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเว็กซ์กรุป

อเว็กซ์ แทร็กซ์ (Avex Trax) เป็นบริษัทค่ายเพลงแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น โดยมีชื่อเสียงในด้านผู้นำทางด้านเพลงแด๊นซ์ ซึ่งคำว่า "Avex" นั้นมาจากคำว่า "Audio Visual Express" และเป็นหนึ่งในค่ายเพลงที่มีอิทธิพลในเอเชียเป็นอย่างมากในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเอเว็กซ์กรุป · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เจนเทิ่ล วอร์ดส์

นเทิ่ล วอร์ดส์ เป็นซิงเกิลที่ 9 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 15 ของออริกอนชาร์ต โดยมียอดขายรวมประมาณ 27,164 แผ่น เพลง Gentle Words เป็นเพลงประกอบโฆษณายารักษาโรคไซนัสของซาโต้เฮลท์แคร.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเจนเทิ่ล วอร์ดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เทกแบ็ก

"เทกแบ็ก" เป็นซิงเกิลแรกของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซีซิงเกิลทั้งในประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2543 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 62 ของออริกอนชาร์ต ก่อนที่จะขึ้นมาถึงในอันดับที่ 59 ในอีก 2 สัปดาห์ต่อมา โดยมียอดขายรวมในประเทศญี่ปุ่นประมาณ 22,680 ชุด ถือเป็นการเปิดตัวที่ไม่ค่อยดีนักสำหรับชีวิตการเป็นนักร้องของเธอ ซิงเกิล "เทกแบ็ก" เป็นซิงเกิลที่ 2 ของคุมิที่ออกจำหน่ายในสหรัฐอเมริกา สามารถขึ้นไปถึงอันดับที่ 18 ชาร์ต บิลบอร์ด แด๊นซ์ในสหรัฐอเมริกา เพลง "เทกแบ็ก" เป็นเพลงประกอบโฆษณารถยนต์ยี่ห้อ แอคิวรา ในสหรัฐอเมริกา และยังเป็นเพลงประกอบเครื่องสำอางของคาเนโบในประเทศญี่ปุ่นอีกด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเทกแบ็ก · ดูเพิ่มเติม »

เครซีโฟร์ยู

รซี่ โฟร์ ยู (Crazy 4 U) เป็นซิงเกิลที่ 10 ของคุมิ โคดะในรูปแบบแม็กซี่ซิงเกิล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2547 เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 12 ของออริกอนชาร์ต โดยมียอดขายรวมประมาณ 28,272 แผ่น เพลง Crazy 4 U เป็นเพลงประกอบการ์ตูนเรื่องขบวนการพิทักษ์โลก มิวสิกวิดีโอเพลงนี้มีอยู่ 2 แบบคือ แบบปกติจะอยู่ในอัลบั้ม BEST~first things~ ส่วนแบบที่ 2 เป็นเวอร์ชันแดนซ์จะอยู่ในอัลบั้ม BEST~BOUNCE & LOVERS~.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเครซีโฟร์ยู · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

Birthday Eve

ร์ทเดย์ อีฟ เป็นซิงเกิลหมายเลข 02 หรือซิงเกิลที่ 20 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 6 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 44,294 แผ่น โดยจำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น และเพลง Birthday Eve เป็นเพลงประกอบโฆษณาของ NTT DoCoMo Tokai อีกด้วย ธีมของปกซิงเกิล Birthday Eve คือ การแต่งกายของประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและBirthday Eve · ดูเพิ่มเติม »

KAMEN feat. ทัตสึยะ อิชิอิ

มน เป็นซิงเกิลหมายเลข 10 หรือซิงเกิลที่ 28 ของคุมิ โคดะ เป็น 1 ใน 12 ซิงเกิลของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 โดยเปิดตัวที่อันดับที่ 3 ของออริกอนชาร์ต จำกัดจำนวนแค่ 5 หมื่นแผ่นเท่านั้น โดยเพลงนี้ได้ทัตสึยะ อิชิอิจากวงโคเมะโคเมะคลับมาร่วมร้องด้วย ธีมของปกซิงเกิล KAMEN feat.石井竜也 คือ ชุดระบำชาวเกาะฮาว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและKAMEN feat. ทัตสึยะ อิชิอิ · ดูเพิ่มเติม »

Love Me Back

ลิฟ มี แบค เป็นซิงเกิลที่ 52 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 วางจำหน่าย 3 รูปแบบ คือ ซีดี, ซีดี+ดีวีดี และซีดี+ของที่ระลึก เพลง Love Me Back เป็นเพลงละครเรื่อง นะโซะโทคิวะดินเนอร์โนะอะโทเดะ ทางช่องฟูจิทีวี มิวสิกวิดีโอ Love Me Back ถูกระงับการฉายเวอร์ชันเต็มทางทีวีเนื่องจากมิวสิกวิดีโอมีเนื้อหาล่อแหลม จึงมีการฉายเวอร์ชันตัดครั้งแรกทาง MTV Japan และมิวสิกวิดีโอได้แบ่งออกเป็น 2 เวอร์ชัน ทั้งในซิงเกิลและในอัลบัม JAPONESQUE ในส่วนดีวีดีมีบันทึกการแสดงสดจากงาน a-nation 10th Anniversary for Life Charge‣Go! รวมอยู่ด้ว.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและLove Me Back · ดูเพิ่มเติม »

Promise / Star

รอมิส / สตาร์ เป็นซิงเกิลที่ 18 ของคุมิ โคดะ เป็นดับเบิ้ลเอ ไซด์ ซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 4 ของออริกอนชาร์ต มียอดขายรวมประมาณ 61,312 แผ่น ซึ่งเพลง Promise ยังได้รางวัลจากงาน The Japan Gold Disc Award อีกด้วย เพลง Promise เป็นเพลงประกอบรายการคิเซคิโนะโทบิระทีวีโนชิคาระ ทางช่องทีวีอาซาฮี ส่วนเพลง Star เป็นเพลงประกอบเกมจากการ์ตูนเรื่องลามู ทรามวัยจากต่างดาว ของเครื่องเกมนินเทนโดดีเอส มิวสิกวิดีโอเพลง Promise เป็นเรื่องราวของหญิงสาวที่ไว้อาลัยให้กับความรักของตนเองหลังจากเลิกรากันไปตอนใกล้วันแต่งงาน ส่วนมิวสิกวิดีโอเพลง Star ทำออกมาในรูปแบบมิวสิกวิดีโอสั้น เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและPromise / Star · ดูเพิ่มเติม »

You (คุมิ โคดะ)

ู เป็นซิงเกิลหมายเลข 01 หรือซิงเกิลที่ 19 ของคุมิ โคดะ เป็นซิงเกิลแรกของโปรเจกต์ 12 ซิงเกิล 12 สัปดาห์ วางจำหน่ายในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เปิดตัวที่อันดับที่ 1 ของออริกอนชาร์ตด้วยยอดขาย 72,111 แผ่น เป็นซิงเกิลแรกของคุมิ โคดะที่เปิดตัวในอันดับที่ 1 ของออริกอนชาร์ต เพลง you เป็นเพลงประกอบโฆษณาของ music.jp และยังเป็นเพลงโฆษณาอัญมณีของ GemCEREY อีกด้วย ส่วนเพลงหน้าบีอย่าง Sweet Kiss เป็นเพลงประกอบโฆษณาหมากฝรั่งของล็อตเต้ มิวสิกวิดีโอเพลง you เป็นมิวสิกวิดีโอแรกของ Wish your happiness & love ซึ่งมิวสิกวิดีโอเพลง you นำแสดงโดยซึคาโมโตะ ทาคาชิและคุมิ โคดะ โดยเป็นเรื่องราวของช่างภาพหนุ่มกับนางแบบสาวที่ทะเลาะกันจนแฟนสาวหนีออกจากบ้าน โดยบทสรุปตอนจบอยู่ที่มิวสิกวิดีโอเพลง Someday ธีมของปกซิงเกิล you คือ การแต่งกายของรัฐอะแลสกาในประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและYou (คุมิ โคดะ) · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คุมิ โคดะและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 ไทม์

4 ไทม์ (4 TIMES) เป็นซิงเกิลที่ 50 ของคุมิ โคดะ วางจำหน่ายในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554 วางจำหน่าย 4 รูปแบ คือ ซีดีธรรมดา, ซีดี+ดีวีดี, ซีดี + Koda Kumi x Qlix Digital Camera และซีดี + 50th Aniversery Poster Box Set เพลง Poppin’love cocktail เป็นเพลงร้องร่วมกับ TEEDA จากวง BACK-ON เพลง Poppin’love cocktail feat.TEEDA เป็นเพลงประกอบโฆษณาของบริษัทท่องเที่ยว H.I.S. และเพลง KO-SO-KO-SO เป็นเพลงประกอบละครเรื่อง "พีซ โหวต" ทางช่องนิปปอนทีวี ซิงเกิล 4 ไทม์ ประกาศเลื่อนการวางจำหน่ายจากเดิมวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: คุมิ โคดะและ4 ไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Koda Kumiคึมิ โคดะคูมิ โคดะโคดะ คุมิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »