สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: บรุกลินฟิสิกส์กูลเยลโม มาร์โกนีมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลินรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์หลอดรังสีแคโทด
- ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
บรุกลิน
รุกลิน (Brooklyn ตั้งชื่อตามเมืองในเนเธอร์แลนด์ว่า Breukelen) เป็นหนึ่งใน 5 เบอโรในนครนิวยอร์ก ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของควีนส์ ทางปลายสุดของลองไอแลนด์ เป็นเมืองอิสระจนกระทั่งรวมกับนิวยอร์กในปี 1898 บรุกลินถือเป็นเบอโรที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดของนิวยอร์กซิตี ด้วยจำนวนผู้อยู่อาศัย 2.5 ล้านคน และหากแยกเป็นเมืองแล้ว ถือว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริก.
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและบรุกลิน
ฟิสิกส์
แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและฟิสิกส์
กูลเยลโม มาร์โกนี
กูลเยลโม มาร์โกนี กูลเยลโม มาร์โกนี (Guglielmo Marconi; 25 เมษายน ค.ศ. 1874 – 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1937) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวอิตาลี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี ค.ศ.
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและกูลเยลโม มาร์โกนี
มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน (Humboldt-Universität zu Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงเบอร์ลิน เดิมทีเรียกว่า มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ก่อตั้งในปี..
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
หลอดรังสีแคโทด
องค์ประกอบของหลอดภาพ CRT สี: '''1.''' Three Electron guns (for red, green, and blue phosphor dots) '''2.''' Electron beams '''3.''' Focusing coils '''4.''' Deflection coils '''5.''' Anode connection '''6.''' Mask for separating beams for red, green, and blue part of displayed image '''7.''' Phosphor layer with red, green, and blue zones '''8.''' Close-up of the phosphor-coated inner side of the screen หลอดรังสีแคโทด (cathode ray tube ชื่อย่อ CRT) เป็นหลอดไฟสุญญากาศที่ประกอบไปด้วย ปืนอิเล็กตรอนซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่าหนึ่งอัน และเครื่องฉายฟลูออเรสเซนท์ ลำแสงอิเล็กตรอนจะปล่อยจากโลหะที่ร้อน แล้วเร่งไปทางด้านที่มีประจุบวกในท่อ โดยหลอดรังสีแคโทดใช้เพื่อสร้างภาพในรูปของแสงที่ปล่อยออกมาจากเครื่องฉายฟลูออเรสเซนท์http://www.neutron.rmutphysics.com/chemistry-glossary/index.php?option.
ดู คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรอนและหลอดรังสีแคโทด
ดูเพิ่มเติม
ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- วิลลี บรันท์
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- ฮันส์ ฟิชเชอร์
- ฮันส์ เบเทอ
- แฮร์ทา มึลเลอร์
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- กูลเยลโม มาร์โกนี
- จอร์จ สมูท
- จอห์น ครอมเวล เมเทอร์
- ฌ็อง แปแร็ง
- ดักลาส โอเชอร์ออฟ
- ปีเตอร์ ฮิกส์
- ปีเตอร์ เซมัน
- ปีแยร์ กูว์รี
- พอล ดิแรก
- ฟร็องซัว อ็องแกลร์
- มารี กูว์รี
- ริชาร์ด ไฟน์แมน
- วิลเลียม ชอกลีย์
- ว็อล์ฟกัง เพาลี
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สุพรหมัณยัน จันทรเศขร
- หลุยส์ เดอ บรอย
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์
- อาร์โน อัลลัน เพนเซียส
- อาลแบร์ แฟร์
- อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์
- อิซิโดร์ ไอแซก ราบี
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- ฮันส์ เบเทอ
- เจ. เจ. ทอมสัน
- เดนนิส กาบอร์
- เอนรีโก แฟร์มี
- แจ็ก คิลบี
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โรเบิร์ต วูดโรว์ วิลสัน
- ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส