ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด
ความต้านทานและการนำไฟฟ้า vs. ระบบการวัด
วามต้านทานไฟฟ้า (electrical resistance) ของ ตัวนำไฟฟ้า เป็นตัวชี้วัดของความยากลำบากในการที่จะผ่าน กระแสไฟฟ้า เข้าไปในตัวนำนั้น ปริมาณที่ตรงกันข้ามคือ การนำไฟฟ้า (electrical conductance) เป็นความสะดวกที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ความต้านทานไฟฟ้าเปรียบเหมือน แรงเสียดทาน ทางเครื่องกล หน่วย SI ของความต้านทานไฟฟ้าจะเป็น โอห์ม สัญญลักษณ์ Ω ในขณะที่การนำไฟฟ้าไฟฟ้ามีหน่วยเป็น ซีเมนส์ (S) วัตถุที่มีหน้าตัดสม่ำเสมอจะมีความต้านทานเป็นสัดส่วนกับ สภาพต้านทาน และ ความยาวของมัน และแปรผกผันกับพื้นที่หน้าตัดของมัน วัสดุทุกชนิดจะแสดงความต้านทานเสมอยกเว้น ตัวนำยิ่งยวด (superconductor) ซึ่งมีความต้านทานของศูนย์ ความต้านทาน (R) ของวัตถุจะถูกกำหนดให้เป็นอัตราส่วนของ แรงดันไฟฟ้า ตกคล่อมตัวมัน (V) ต่อกระแสที่ไหลผ่านตัวมัน (I) ในขณะที่การนำไฟฟ้า (G) เป็นตรงกันข้าม ตามสมการต่อไปนี้: สำหรับวัสดุและเงื่อนไขที่หลากหลาย V และ I จะเป็นสัดส่วนโดยตรงซึ่งกันและกัน ดังนั้น R และ G จึงเป็นค่า คงที่ (แม้ว่าพวกมันยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ก็ตาม เช่นอุณหภูมิหรือความเครียด) สัดส่วนนี้จะเรียกว่า กฎของโอห์ม และวัสดุที่เป็นไปตามกฏนี้จะเรียกว่า วัสดุ โอห์ม (ohmic material) ในกรณีอื่น ๆ เช่น ไดโอด หรือ แบตเตอรี่ V และ I จะ ไม่ได้ เป็นสัดส่วนโดยตรงกัน อัตราส่วน V/I บางครั้งก็ยังคงเป็นประโยชน์และถูกเรียกว่า "ความต้านทานสถิตย์" ในสถานการณ์อื่น ๆ อนุพันธ์ \frac \,\! อาจจะมีประโยชน์มากที่สุด ค่านี้จะเรียกว่า "ความต้านทานดิฟเฟอเรนเชียล" (differential resistance). ระบบการวัด (อังกฤษ: systems of measurement) คือกลุ่มของหน่วยวัดที่สามารถใช้ระบุสิ่งใด ๆ ซึ่งสามารถวัดได้ และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ มีการวางระเบียบและนิยามเพื่อการค้าและการพาณิชย์ ในทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณบางชนิดที่ได้วิเคราะห์แล้วถูกกำหนดขึ้นให้เป็นหน่วยมูลฐาน ซึ่งหมายความว่าหน่วยอื่น ๆ ที่จำเป็นสามารถพัฒนาได้จากหน่วยมูลฐานเหล่านี้ ในขณะที่ยุคก่อนหน้า หน่วยวัดต่าง ๆ ถูกกำหนดขึ้นโดยคำสั่งจากการวินิจฉัยสิ่งเหล่านั้น (ดูเพิ่มที่กฎหมายลายลักษณ์อักษร) และไม่จำเป็นว่าจะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้งานทางสากลหรือความสอดคล้องในหน่วยตัวเอง ระบบการวัดสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ใช้ตาม พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด (ฉบับที่ ๒)..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด
ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กระแสไฟฟ้า
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด
การเปรียบเทียบระหว่าง ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด
ความต้านทานและการนำไฟฟ้า มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ ระบบการวัด มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.13% = 1 / (18 + 29)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความต้านทานและการนำไฟฟ้าและระบบการวัด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: