โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ก็อดเบลสอเมริกา

ดัชนี ก็อดเบลสอเมริกา

เซลีนร้องเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ในรายการโทรทัศน์ "อเมริกา: อะทริบิวต์ทูฮีโร่ส์" เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ก็อดเบลสอเมริกา เป็นอัลบั้มเพลงการกุศลอันเนื่องด้วยเหตุการณ์ วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 เซลีน ดิออนได้แสดงเพลงนี้ในรายการพิเศษ "อเมริกา: อะทริบิวต์ทูฮีโร่ส์" และนอกจากนี้เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ก็ได้วางจำหน่ายอัลบั้มเพื่อการกุศล ภายใต้ชื่ออัลบั้มว่า "ก็อดเบลสอเมริกา" ซึ่งภายในอัลบั้มก็ได้บรรจุเพลงนี้ไว้ด้วย ตัวอัลบั้มได้ขึ้นอันดับ 1 ชาร์ตบิลบอร์ด 200 และได้กลายเป็นอัลบั้มการกุศลที่สามารถขึ้นอันดับ 1 ได้เป็นอัลบั้มต่อไป หลังจากที่ USA for Africa's We Are the World ได้ทำไว้เมื่อปี พ.ศ. 2528 และเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ในแบบฉบับของเซลีน ดิออนก็ได้รับการตอบรับอย่างล้นหลามในการเปิดออกอากาสทางสถานีวิทยุต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา จนสามารถขึ้นสู่อันดับที่ 14 ในชาร์ต Hot Adult Contemporary Tracks ของบิลบอร์ดได้ มิวสิกวิดีโอ เพลงนี้ได้จัดทำและออกอากาศในเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 นอกจากนี้ เซลีนยังได้ร้องเพลงนี้ ในการแข่งขันซูเปอร์โบวล์ในปีพ.ศ. 2545 และเธอยังนำไปร้องในการแสดง อะนิวเดย์... ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งเป็นวันประกาศเอกราชของประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย หมวดหมู่:เพลงของเซลีน ดิออน หมวดหมู่:ซิงเกิลในปี พ.ศ. 2544.

22 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2528พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547กันยายนมิวสิกวิดีโอวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544สหรัฐสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์อะนิวเดย์...อีพิกเรเคิดส์ซิงเกิลซูเลอวองซูเปอร์โบวล์ป็อปโดนต์เซฟอิตออลฟอร์คริสต์มาสเดย์โคลัมเบียเรเคิดส์เซลีน ดิออน16 ตุลาคม24 กันยายน4 กรกฎาคม

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

หตุวินาศกรรม 11 กันยายน..

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์

ื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ (promotional recording, promo (โปรโมชั่นซิงเกิล) คือซิงเกิลที่ออกเผยแพร่ อาจเป็นรูปแบบเสียงหรือวีดิทัศน์ โดยส่วนมากจะใช้กันในสถานีวิทยุหรือสถานีโทรทัศน์เท่านั้น สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์จะถูกส่งโดยตรงไปยังผู้ออกอากาศ เช่น สถานีวิทยุเพลง สถานีโทรทัศน์ หรือนักจัดรายการวิทยุและนักข่าวฝ่ายเพลง ก่อนการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ของอัลบัมใหม่โดยตั้งใจให้สื่อต่าง ๆ ออกอากาศ วิจารณ์ หรือเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจของสาธารณชนในการเปิดตัวในเชิงพาณิชย์ต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายเท่านั้น ไม่ใช่สำหรับการขาย นอกจากนี้ยังอาจระบุว่า สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์สามารถกลับไปจำหน่ายต่อแล้วแต่ความต้องการของบริษัท ซึ่งเป็นที่สนใจของนักสะสมแผ่นเพลงเป็นอย่างยิ่ง โดยมีเพียง 1–2 เพลง หรือในบางประเทศอาจรวมรีมิกซ์หลายแบบของซิงเกิลนั้น ๆ ไว้ในแผ่นเดียว นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมีการส่งเสริมรูปแบบใหม่บนร้านค้าออนไลน์ซึ่งมีการนับถอยหลังก่อนการวางจำหน่ายอัลบัมใหม่ โดยไอทูนส์และร้านค้าออนไลน์เพลงอื่น ๆ จะมีการจำหน่ายตัวอย่างเพลงจากในอัลบัมใหม่ออกมาให้ลองฟัง ตัวอย่างเช่น หนึ่งสัปดาห์ก่อนวางจำหน่ายอัลบัมจริง ซึ่งเพลงบางส่วนที่ออกวางจำหน่ายก่อนส่วนใหญ่จะเรียกว่า "สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์".

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิวเดย์...

อะนิว... (A New Day...) เป็นมหรสพของเซลีน ดิออน จัดแสดงที่โรงมหรสพเดอะโคลอสเซียม ณ โรงแรมซีซาส์พาเลซ ในนครลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา โดยเป็นผลงานการสร้างสรรค์และอำนวยการผลิตของฟรังโก ดรากอน ซึ่งเดิมนั้นกำหนดแสดงสามปี (พ.ศ. 2546-2549) แต่ด้วยความสำเร็จทำให้มีการขยายเวลาออกไปอีกสองเป็น รวมการแสดงทั้งหมดเป็นระยะเวลาห้าปี เจ็ดร้อยรอบ และห้าคืนต่อหนึ่งสัปดาห์ มหรสพชุด อะนิว... สิ้นสุดลงในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีมหรสพของแชร์ ชื่อ "แชร์แอตเดอะโคลอสเซียม" (Cher at the Colosseum) และมหรสพของเบ็ตต์ มิดเลอร์ ชื่อ "เดอะโชว์เกิร์ลมัสต์โกออน" (The Showgirl Must Go On) มาแทน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและอะนิวเดย์... · ดูเพิ่มเติม »

อีพิกเรเคิดส์

อีพิกเรเคิดส์ คือบริษัทบันทึกเสียงในเครือโซนี่ บีเอ็มจี ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและอีพิกเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิล

ทกกิงแชนเซส ของเซลีน ดิออน แบบซีดีซิงเกิล ซิงเกิล (Single นิยมอ่านว่า ซิงเกิล) ในทางดนตรีคือการบันทึกอย่างสั้นอย่างน้อย 1 เพลง ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและซิงเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ซูเลอวอง

"ซูเลอวอง" (Sous le vent - "ในสายลม") คือการร้องคู่กันระหว่างเซลีน ดิออน และการู ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็นซิงเกิลที่ 3 ของการู จากอัลบั้ม Seul (พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) "ซูเลอวอง" ได้บรรจุลงในอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมของเซลีน ดิออน ในปี พ.ศ. 2548 องเนอชองเช่ปา "ซูเลอวอง" เป็นผลงานการประพันธ์ของ ชาก เวอเนอรุสโซผู้ประพันธ์เพลง "ตูลอร์เดซอม" และ "เชอเนอวูอูบลีปา" เซลีนและการู ในมิวสิกวิดีโอเพลง "ซูเลอวอง" (พ.ศ. 2544)มิวสิกวิดีโอ เพลง "ซูเลอวอง" อำนวยการสร้างโดย Istan Rozumny และแพร่ภาพเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้บรรจุลงในดีวีดีรวมมิวสิกวิดีโอของเซลีน ใน..

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและซูเลอวอง · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์โบวล์

้วยรางวัลวินซ์ลอมบาร์ดี ถ้วยรางวัลชนะเลิศซูเปอร์โบวล์ ซูเปอร์โบวล์ (Super Bowl) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์อเมริกันฟุตบอลอาชีพประจำปีของเอ็นเอฟแอล ระหว่างทีมผู้ชนะเลิศของ สายเอ็นเอฟซี (NFC, National Football Conference) และ สายเอเอฟซี (AFC, American Football Conference) จัดขึ้นวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมกราคม หรือวันอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและซูเปอร์โบวล์ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

โดนต์เซฟอิตออลฟอร์คริสต์มาสเดย์

"โดนต์เซฟอิตออลฟอร์คริสต์มาสเดย์" (Don't Save It All for Christmas Day) คือซิงเกิลที่ 3 และซิงเกิลสุดท้ายของเซลีน ดิออนจากอัลบั้มดีสอาร์สเปเชียลไทม์สเผยแพร่เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 "โดนต์เซฟอิตออลฟอร์คริสต์มาสเดย์" คือผลงานการประพันธ์ของเซลีน ดิออน ร่วมกับนักประพันธ์คนอื่นๆ อำนวยการสร้างโดย Ric Wake เพลงนี้เป็นซิงเกิลวิทยุหลังอัลบั้มออก 2 ปี.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและโดนต์เซฟอิตออลฟอร์คริสต์มาสเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบียเรเคิดส์

โคลัมเบียเรเคิดส์ เป็นเครื่องหมายการค้าในการบันทึกเสียง (ค่ายเพลง) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลือในปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและโคลัมเบียเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ก็อดเบลสอเมริกาและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »