ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย
การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การแจกแจงความน่าจะเป็นทฤษฎีความน่าจะเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็น
ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว.
การแจกแจงความน่าจะเป็นและการแจกแจงไคกำลังสอง · การแจกแจงความน่าจะเป็นและค่าคาดหมาย ·
ทฤษฎีความน่าจะเป็น
ทฤษฎีความน่าจะเป็น คือการศึกษาความน่าจะเป็นแบบคณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์จะมองความน่าจะเป็นว่าเป็นตัวเลขระหว่างศูนย์กับหนึ่ง ที่กำหนดให้กับ "เหตุการณ์" (ความน่าจะเป็นที่เท่ากับ 0 ก็คือไม่มีโอกาสที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น แต่ถ้าความน่าจะเป็นเท่ากับ 1 แสดงว่าเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน) ที่เกิดขึ้นแบบสุ่ม ความน่าจะเป็น P(E) ถูกกำหนดให้กับเหตุการณ์ E ตามสัจพจน์ของความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ E จะเกิดขึ้น เมื่อ กำหนด ให้อีกเหตุการณ์ F เกิดขึ้น เรียกว่าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไข ของ E เมื่อให้ F โดยค่าความน่าจะเป็นคือ P(E \cap F)/P(F) (เมื่อ P(F) ไม่เป็นศูนย์) ถ้าความน่าจะเป็นมีเงื่อนไขของ E เมื่อให้ F มีค่าเช่นเดียวกับความน่าจะเป็น (แบบไม่มีเงื่อนไข) ของ E เราจะกล่าวว่าเหตุการณ์ E และ F เป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกันเชิงสถิติ เราจะสังเกตได้ว่าความสัมพันธ์นี้เป็นความสัมพันธ์สมมาตร ทั้งนี้เนื่องจากการเป็นอิสระต่อกันนี้เขียนแทนได้เป็น P(E \cap F).
การแจกแจงไคกำลังสองและทฤษฎีความน่าจะเป็น · ค่าคาดหมายและทฤษฎีความน่าจะเป็น ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย
การเปรียบเทียบระหว่าง การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย
การแจกแจงไคกำลังสอง มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ค่าคาดหมาย มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 13.33% = 2 / (6 + 9)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การแจกแจงไคกำลังสองและค่าคาดหมาย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: