โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี

การแจกแจงแบบทวินาม vs. การแจกแจงแบบเบอร์นูลี

ตัวแปรเชิงสุ่ม X แทนจำนวนครั้งของความสำเร็จจากการทดลองแบบเบอร์นูลีซ้ำๆกัน n ครั้ง ภายใต้สภาวะเดียวกันและการทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระต่อกัน การทดลองแต่ละครั้งต้องแบ่งผลลัพธ์ออกได้ 2 ทาง คือความสำเร็จและความไม่สำเร็จ โดย p คือความน่าจะเป็นที่เกิดความสำเร็จ X จะมีการแจกแจงแบบทวินาม ซึ่งฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็น ดังนี้ และมีค่าคาดหวังและค่าความแปรปรวนดังนี้ ฟังก์ชันความน่าจะเป็นสะสมคือ หมวดหมู่:แฟคทอเรียลและหัวข้อเรื่องทวินาม หมวดหมู่:การแจกแจงความน่าจะเป็น. ป็นการแจกแจงของตัวแปรเชิงสุ่มที่มีผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ 2 ทาง คือ ความสำเร็จและความไม่สำเร็จ มีกับไม่มี เป็นสมาชิกกับไม่เป็นสมาชิก ชายกับหญิง เป็นต้น ซึ่งตัวแปรเชิงสุ่ม X แทนผลลัพธ์จากการทดลอง 2 ทางนี้ โดยกำหนดให้ X.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี

การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ตัวแปรสุ่ม

ตัวแปรสุ่ม

สำหรับทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ ตัวแปรสุ่ม (random variable) หมายถึง ตัวแปรที่ค่าของมันวัดได้จากกระบวนการสุ่มหรือกระบวนการที่มีความไม่แน่นอนอยู่ ตัวแปรสุ่มจะเป็นฟังก์ชันที่แปลงเหตุการณ์หรือผล (เช่น ผลลัพธ์ของการทอยลูกเต๋า)ไปเป็นจำนวนจริง (เช่น 1, 2, 3,..., 6) ค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่มจะแทนผลที่เป็นไปได้ของการทดลองที่ยังไม่ได้ทำหรือค่าของปริมาณที่ค่าจริงนั้นไม่แน่นอน (เช่น ผลของข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ หรือการวัดที่ไม่เที่ยงตรง) หรืออาจมองได้ว่า ตัวแปรสุ่มก็คือปริมาณที่ค่าของมันไม่ถูกเจาะจงไว้ หรือไม่ได้รู้แน่ๆ แต่อาจเป็นได้หลายๆค่า โดยที่การแจกแจงความน่าจะเป็นจะใช้ในการอธิบายถึงโอกาสที่ค่าต่างๆของตัวแปรสุ่มจะเป็นไปได้ หมวดหมู่:ทฤษฎีความน่าจะเป็น หมวดหมู่:การสุ่ม หมวดหมู่:ทฤษฎีทางสถิติ.

การแจกแจงแบบทวินามและตัวแปรสุ่ม · การแจกแจงแบบเบอร์นูลีและตัวแปรสุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี

การแจกแจงแบบทวินาม มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ การแจกแจงแบบเบอร์นูลี มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 33.33% = 1 / (2 + 1)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การแจกแจงแบบทวินามและการแจกแจงแบบเบอร์นูลี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »