โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 vs. วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป.. วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 มี 24 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์พ.ศ. 2556พรรคประชาธิปัตย์พรรคเพื่อไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553การุณ โหสกุลยิ่งลักษณ์ ชินวัตรรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550สมศักดิ์ โกศัยสุขสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสุริยะใส กตะศิลาสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจตุพร พรหมพันธุ์ทักษิณ ชินวัตรณัฐวุฒิ ใสยเกื้อประชา พรหมนอกประยุทธ์ จันทร์โอชาแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติไทยรัฐเฉลิม อยู่บำรุง

ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ · ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2556 · พ.ศ. 2556และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคประชาธิปัตย์ · พรรคประชาธิปัตย์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคเพื่อไทย · พรรคเพื่อไทยและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย คือ การทำให้ความเป็นสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยสิ้นสุดลง โดยนายกรัฐมนตรีเสนอให้พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นผลให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งปวงพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ เพื่อจัดการเลือกตั้งใหม่ การยุบสภาเป็นมาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ทำให้มีการคานอำนาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร อาจนำมาใช้แก้ปัญหาทางตันทางการเมือง นอกจากทางอื่น เช่น รัฐบาลลาออก อนึ่ง เหตุผลในการยุบสภานั้น หาได้มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดบัญญัติไว้ไม่ ดังนี้ จึงเป็นไปตามประเพณีการปกครองตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศในขณะนั้น อาทิ เกิดความขัดแย้งรุนแรงในรัฐสภาหรือระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล การใช้เป็นเครื่องมือในการชิงความได้เปรียบทางการเมือง เช่น ขณะที่ตนมีคะแนนนิยมสูงมาก การที่สภาวการณ์ต่าง ๆ สุกงอมพอสมควรที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งก่อนครบอายุสภา เช่น ดำเนินการตามรัฐธรรมนูญได้เสร็จสิ้นแล้ว.

การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทยและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม..

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

การุณ โหสกุล

การุณ โหสกุล (4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 สังกัดพรรคเพื่อไทย ประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.

การุณ โหสกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การุณ โหสกุลและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ โกศัยสุข

นายสมศักดิ์ โกศัยสุข เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2488 ที่ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอดีตหนึ่งในแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคการเมืองใหม่ (กมม.) เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นผู้นำสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคพรรคสังคมประชาธิปไตยไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมศักดิ์ โกศัยสุข · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมศักดิ์ โกศัยสุข · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะใส กตะศิลา

ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ. 2548-2552 สุริยะใสเป็นหนึ่งในแกนนำและเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ต่อมาได้เข้าเป็นเลขาธิการพรรคการเมืองใหม่ก่อนจะลาออกจากพรรคเนื่องจากมีความขัดแย้งภายในพรรค ในช่วงวิกฤตการณ์การเมือง..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสุริยะใส กตะศิลา · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสุริยะใส กตะศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และจตุพร พรหมพันธุ์ · จตุพร พรหมพันธุ์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และทักษิณ ชินวัตร · ทักษิณ ชินวัตรและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และประชา พรหมนอก · ประชา พรหมนอกและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ประยุทธ์ จันทร์โอชาและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2523 ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ปัจจุบันมี บริษัท วัชรพล จำกัด เป็นเจ้าของ, ยิ่งลักษณ์ วัชรพล เป็นผู้อำนวยการ และสราวุธ วัชรพล เป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการ มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 1,000,000 ฉบับ ราคาจำหน่าย 10.00 บาท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และไทยรัฐ · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และไทยรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และเฉลิม อยู่บำรุง · วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557และเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 มี 188 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 มี 239 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 24, ดัชนี Jaccard คือ 5.62% = 24 / (188 + 239)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »