การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน
การเมืองภายหลังความจริง vs. ลัทธิอิงสามัญชน
การเมืองภายหลังความจริง (หรือเรียก การเมืองภายหลังข้อเท็จจริง) เป็นวัฒนธรรมการเมืองซึ่งมีการวางกรอบการอภิปรายส่วนใหญ่โดยการเน้นอารมณ์ (appeals to emotion) ที่ไม่เชื่อมต่อกับรายละเอียดของนโยบาย และโดยการแสดงข้อความโน้มน้าว (talking point) ซ้ำ ๆ ที่เพิกเฉยการโต้แย้งข้อเท็จจริง การเมืองภายหลังความจริงต่างจากการคัดค้านและการพิสูจน์ว่าเป็นเท็จซึ่งความจริงโดยทำให้ความจริงกลายเป็นมีความสำคัญ "รองลงไป" แม้มีการอธิบายปัญหาดังกล่าวว่าเป็นปัญหาร่วมสมัย แต่มีความเป็นไปได้ว่าปัญหานี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตการเมืองมานานแล้ว แต่ไม่ค่อยโดดเด่นนักจนกระทั่งมีอินเทอร์เน็ต ในนวนิยาย หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ จอร์จ ออร์เวลล์สร้างโลกซึ่งรัฐเปลี่ยนบันทึกประวัติศาสตร์รายวันเพื่อให้เข้ากับเป้าหมายโฆษณาชวนเชื่อของวันนั้น ออร์เวลล์ยึดการวิจารณ์ข้อนี้ส่วนมากต่อการปฏิบัติในโซเวียตรัสเซีย จุดกำเนิดร่วมสมัยของคำนี้มาจากบล็อกเกอร์ เดวิด โรเบิตส์ซึ่งใช้คำนี้ในคอลัมน์ของกริสต์ในปี 2553 นักวิจารณ์การเมืองระบุการเมืองภายหลังความจริงว่ามีอิทธิพลมากที่สุดในการเมืองรัสเซีย จีน อเมริกัน ออสเตเรลีย บริติช อินเดีย ญี่ปุ่นและตุรกี ตลอดจนในพื้นที่อภิปรายอื่น ซึ่งขับเคลื่อนโดยวัฏจักรข่าว 24 ชั่วโมง ความสมดุลเท็จในการรายงานข่าวและความแพร่หลายของสื่อสังคมที่เพิ่มขึ้น ในปี 2559 พจนานุกรมอ็อกซ์ฟอร์ดเลือกคำว่า "หลังความจริง" (post-truth) เป็นคำแห่งปี เนื่องจากความแพร่หลายในบริทของการลงประชามติเบร็กซิตและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในปีนั้น หมวดหมู่:การรณรงค์เลือกตั้ง หมวดหมู่:วัฒนธรรมการเมือง หมวดหมู่:ความจริง หมวดหมู่:เทคนิคการรณรงค์การเมือง. ประชานิยม (populism) นิยามว่าเป็นอุดมการณ์ หรือที่พบได้น้อยกว่าว่าเป็น ปรัชญการเมือง, p. 3 หรือเป็นวาทกรรมประเภทหนึ่ง นั่นคือ แนวคิดทางสังคมการเมืองซึ่งเปรียบ "ประชาชน" กับ "อภิชน" และกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงระบบสังคมและการเมือง นอกจากนี้ ประชานิยมยังสามารถนิยามได้ว่าเป็นรูปแบบวาทศิลป์ซึ่งสมาชิกความเคลื่อนไหวภาคการเมืองหรือสังคมหลายคนใช้ พจนานุกรมเคมบริดจ์นิยามว่าเป็น "แนวคิดและกิจกรรมทางการเมืองอันมีเจตนาเพื่อเป็นตัวแทนของความต้องการและความปรารถนาทั่วไปของประชาชน" ประชานิยมสามารถเข้าใจได้ว่าเป็นวาทกรรมการเมืองซึ่งดึงดูดใจประชากรส่วนใหญ่ โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างของชนชั้นและการถือพวกทางการเมือง ประชานิยมนั้นตรงกันข้ามกับรัฐนิยม ซึ่งถือว่านักการเมืองอาชีพเพียงจำนวนหนึ่งมีความรู้ดีกว่าประชาชนและการตัดสินใจของรัฐในนามของพวกนั้น อย่างไรก็ตาม มีการอธิบายว่าผู้นิยมประชานิยมนั้นค้ำจุนรัฐบาลอำนาจนิยม อันเกิดจากกระบวนการปลุกระดมทางการเมืองซึ่งผู้นำจะปราศรัยแก่มวลชนโดยปราศจากการประนีประนอมของพรรคหรือสถาบันใ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน
การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน
การเปรียบเทียบระหว่าง การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน
การเมืองภายหลังความจริง มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลัทธิอิงสามัญชน มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 1)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเมืองภายหลังความจริงและลัทธิอิงสามัญชน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: