โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเข้าป้อมและหมากรุกสากล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเข้าป้อมและหมากรุกสากล

การเข้าป้อม vs. หมากรุกสากล

การเข้าป้อม หรือ การเดินเข้าป้อม (castling) เป็นการเดินในเกมหมากรุกสากล ระหว่างขุนกับเรือในตำแหน่งแรกเริ่มของผู้เล่น ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ของหมากรุก 2 ตัวในตาเดียวกัน และเป็นการย้ายไปข้างหนึ่งนอกเหนือจากม้าที่สามารถ"กระโดดข้าม"กันได้ การเข้าป้อม ประกอบด้วยการย้ายขุนสองช่องไปทางที่มีเรือในแถวแรกของผู้เล่น จากนั้นก็ย้ายเรือไปยังช่องที่ขุนได้ข้ามมา การเข้าป้อมสามารถทำได้เฉพาะก็ต่อเมื่อตัวขุนไม่ยังเคยขยับ, เรือที่จะสับยังไม่เคยขยับ, ช่องระหว่างขุนและเรือไม่มีตัวใดขวาง, ตัวขุนยังไม่ถูกรุก และขุนจะไม่ข้ามฝั่งหรือจบในช่องที่มันถูกรุก การเข้าป้อมเป็นหนึ่งในกติกาหมากรุกสากล รวมถึงเป็นเทคนิคการย้ายขุน การบันทึกหมากสำหรับการเข้าป้อม ทั้งระบบเชิงพรรณนาและเชิงพีชคณิต คือ 0-0 ร่วมกับเรือฝั่งคิง และ 0-0-0 ร่วมกับเรือฝั่งควีน ส่วนในบันทึกเกมแบบพกพา จะใช้ O-O และ O-O-O แทน การเข้าป้อมฝั่งคิงบางครั้งเรียกการเข้าป้อมระยะใกล้ และการเข้าป้อมฝั่งควีนบางครั้งเรียกการเข้าป้อมระยะไกล – ความแตกต่างขึ้นอยู่กับว่าเรือจะเคลื่อนที่ระยะใกล้ (สองช่องสี่เหลี่ยม) หรือระยะไกล (สามช่องสี่เหลี่ยม) การเข้าป้อมได้รับการเพิ่มลงในหมากรุกยุโรปช่วงศตวรรษที่ 14 หรือ 15 และยังไม่ได้พัฒนาเป็นรูปแบบอย่างที่เห็นในปัจจุบันจนถึงศตวรรษที่ 17 ส่วนหมากรุกของเอเชียไม่ได้มีการเคลื่อนที่เช่นนี้. หมากรุกสากล เป็นเกมกระดานแนววางแผนสองผู้เล่น เล่นกันบนกระดานหมากรุก ซึ่งเป็นกระดานสลับสีซึ่งมีจัตุรัส 64 ช่อง จัดเรียงแบบ 8×8 หมากรุกสากลเป็นเกมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกเกมหนึ่ง โดยมีผู้เล่นหลายล้านคนในบ้าน สวนสาธารณะ สโมสร ออนไลน์ ทางจดหมายและในการแข่งขัน ผู้เล่นแต่ละคนเริ่มต้นด้วยตัวหมากรุก 16 ตัว ได้แก่ คิง 1 ตัว ควีน 1 ตัว เรือ 2 ตัว อัศวิน 2 ตัว บิชอป 2 ตัวและเบี้ย 8 ตัว ตัวหมากรุกทั้ง 6 ประเภทมีการเดินแตกต่างกัน ตัวหมากรุกใช้โจมตีและยึดตัวหมากรุกฝ่ายตรงข้าม โดยมีเป้าหมายเพื่อ "รุกจน" (checkmate) คิงของฝ่ายตรงข้ามโดยทำให้คิงนั้นเสี่ยงต่อการถูกยึดและเดินหนีไม่ได้ (inescapable threat of capture) นอกเหนือไปจากการรุกจนแล้ว หมากรุกสากลยังชนะได้หากฝ่ายตรงข้ามสมัครใจถอนตัว ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อเสียตัวหมากรุกมากเกินไป หรือหากการรุกจนดูเหมือนจะเกิดขึ้นแน่นอน หมากรุกสากลยังอาจจบลงด้วยการเสมอในหลายวิธี โดยไม่มีผู้เล่นฝ่ายใดชน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเข้าป้อมและหมากรุกสากล

การเข้าป้อมและหมากรุกสากล มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเข้าป้อมและหมากรุกสากล

การเข้าป้อม มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมากรุกสากล มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 1)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเข้าป้อมและหมากรุกสากล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »