เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน

การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษ vs. การไถดิน

วนาปลูกหญ้าแห้งโดยใช้เคียวและคราด ค.ศ. 1510 การพัฒนาเครื่องจักรกลในการปฏิวัติการเกษตร: เครื่องเก็บเกี่ยวในปี ค.ศ. 1881 การปฏิวัติเกษตรกรรม (British Agricultural Revolution) ใช้อธิบายช่วงของการพัฒนาเกษตรกรรมในสหราชอาณาจักรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคที่การขยายตัวของผลผลิตทางเกษตรกรรมและผลผลิตสุทธิทำลายวงจรการขาดแคลนอาหารในอดีต ทุกทวีปบนโลกต่างเคยเผชิญกับช่วงของสงครามในประวัติศาสตร์ สงครามเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนประชากรไม่ให้ขยายตัว เพื่อให้สอดคล้องกับอาณาเขตที่ประชากรเหล่านั้นอาศัยอยู่ สงครามจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดการขาดแคลนอาหารเป็นเวลานานช่วงใดช่วงหนึ่ง ซึ่งโดยมากแล้วจะเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานมากกว่าหนึ่งปี รวมไปถึงการที่ทรัพยากรอย่าง สภาพอากาศ, แรงงาน, ทรัพย์สิน, การคมนาคมขนส่ง และอื่นๆ ไม่มีเหลืออยู่หรือไม่สามารถทำให้เกิดการเพาะปลูกขึ้นได้ ต่อมาเมื่อสงครามหรือการขาดแคลนอาหารกลายมาเป็นปัญหาภายในประเทศ ความสามารถในการซื้อและขนส่งอาหารจากดินแดนที่อยู่ห่างไกลออกไปก็เข้ามาบรรเทาผลกระทบจากการขาดแคลนอาหารลงได้ การปฏิวัติเกษตรกรรมบนเกาะบริเตนใหญ่เกิดขึ้นผ่านช่วงเวลาหลายศตวรรษ (ซึ่งเหมือนการวิวัฒนาการมากกว่าจะเป็นการปฏิวัติ) ต่อมาจึงแพร่ขยายไปในประเทศอื่นๆ บนทวีปยุโรปและในอาณานิคมของประเทศเหล่านั้นด้วย สิ่งหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดการปฏิวัติเกษตรกรรมขึ้นคือการที่อังกฤษพัฒนาระบบที่ดินและการบำรุงรักษาที่ดินซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก โดยเป้าหมายก็เพื่อที่จะลดการสูญเสียสารอาหารสำหรับพืชในดิน ทำให้ผลผลิตต่อเอเคอร์สูงขึ้นตามลำดับ ชาวนาใช้เครื่องมือการผลิตและเครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่มากขึ้นซึ่งช่วยลดการใช้แรงงานคนลงด้วย การปฏิวัติการเกษตรเร่งตัวขึ้นพร้อมกับที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางเคมีก่อให้เกิดความรู้ทางวิทยาศาสตร์, ความมั่งคั่ง และเทคโนโลยี เครื่องจักรการเกษตรอื่นๆ และระบบการค้าขายสารอาหารพืชจึงเกิดขึ้นตามมา พรรณพืชชนิดใหม่อย่างเช่นมันฝรั่ง (ถูกนำเข้ามาประมาณปี ค.ศ. 1600), ข้าวโพด และพืชอื่นๆ ถูกนำมาจากทวีปอเมริกาซึ่งพัฒนาการเกษตรในพื้นที่เพาะปลูกเช่นกัน การปฏิวัติเกษตรกรรม, การปฏิวัติอุตสาหกรรม และการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ถูกพัฒนาไปอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการปฏิวัติวิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากปราศจากปริมาณอาหารที่เพิ่มขึ้นซึ่งนำไปหล่อเลี้ยงประชากรที่ขยายตัวตามเมืองใหญ่ นอกจากนี้ด้วยเงินทุน, เครื่องมือ, โลหะ, การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบตลาด, ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ ทำให้การปฏิวัติเกษตรกรรมเกิดขึ้นและดำเนินไปได้ จึงกล่าวได้ว่าแต่ละการปฏิวัติข้างต้นช่วยสนับสนุนกระบวนการของกันและกัน เป็นผลให้ทั้งสามการปฏิวัตินี้ยังคงเชื่อมโยงกันอย่างลึกซึ่งมาจนถึงปัจจุบัน. การไถนาโดยใช้ม้า การไถนา เป็นขั้นตอนหนึ่งในการปลูกข้าว โดยเฉพาะข้าวไรซ์ที่ต้องปลูกในพื้นที่ลุ่มที่เป็นดินเหนียง โดยจะใช้สัตว์หรือเครื่องยนต์ลากคันไถที่จะครูดไปกับพื้นดินในบริเวณที่จะทำการเพาะปลูก คันไถจะครูดลึกลงไปในผิวดิน และทำให้ดินปริเวณนั้นเกิดการพลิกตัวเอาหน้าดินลงไปข้างล่างและพลิกดินด้านล่างขึ้นมาด้านบน ถือว่าเป็นการพรวนดินแบบหนึ่งนั่นเอง ในประเทศไทยนิยมใช้ควายในการลากคันไถ แต่ในหลายๆประเทศจะใช้ม้าหรือวัวแทน หมวดหมู่:เกษตรกรรม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน

การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน

การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษ มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ การไถดิน มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (14 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การปฏิวัติเกษตรกรรมในอังกฤษและการไถดิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: