โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

ดัชนี การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์ การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี..

19 ความสัมพันธ์: พระสันตะปาปาการปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปคาทอลิกการแยกศาสนจักรกับอาณาจักรมาร์ติน ลูเทอร์ยัน ฮุสรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสศาสนาศาสนาคริสต์ศตวรรษสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6สังคายนาแห่งเทรนต์สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียออกัสตินแห่งฮิปโปคริสตจักรคณะเยสุอิตโรมันคาทอลิกโปรเตสแตนต์เรลิก

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนา

การปฏิรูปศาสนา อาจหมายถึงการปฏิรูปทางศาสนาคริสต์ที่สำคัญๆในประวัติศาสตร์ยุโรป ซึ่งมีหลายครั้ง ได้แก.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และการปฏิรูปศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปคาทอลิก

การปฏิรูปคาทอลิกราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 147 (Catholic Reformation) หรือการปฏิรูปคู่เคียง (Counter-Reformation), from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และการปฏิรูปคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

การแยกศาสนจักรกับอาณาจักร

การแยกศาสนจักรกับอาณาจักร (separation of church and state) เป็นแนวคิดทางปรัชญาและนิติปรัชญาที่กำหนดให้มีระยะห่างทางการเมืองในความสัมพันธ์ขององค์การศาสนาและรัฐชาติ โดยเนื้อหาแล้ว แนวคิดนี้หมายถึงการสร้างรัฐที่เป็นฆราวาส (ไม่ว่าจะมีการแบ่งแยกระหว่างฝ่ายศาสนากับฝ่ายรัฐไว้โดยชัดแจ้งตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม) รวมถึงการยุบเลิกหรือเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์มีอยู่อย่างเป็นทางการในระหว่างศาสนากับรัฐ ในสังคมหนึ่ง ๆ ระดับการแบ่งแยกทางการเมืองระหว่างศาสนากับรัฐนั้นย่อมกำหนดตามโครงสร้างทางกฎหมายและแนวคิดทางกฎหมายที่นิยมอยู่ในเวลานั้น เช่น หลักความยาวแขน (arm's length principle) ซึ่งนำเสนอรูปแบบความสัมพันธ์ที่ทั้งสองมีปฏิสัมพันธ์กันในฐานะหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ต่างหากจากกัน แนวคิดเรื่องการแยกศาสนจักรกับอาณาจักรนั้นเป็นปรัชญาคู่ขนานกับแนวคิดฆราวาสนิยม (secularism), คตินิยมยุบเลิกศาสนจักร (disestablishmentarianism), เสรีภาพทางศาสนา (religious liberty), และพหุนิยมทางศาสนา (religious pluralism) ซึ่งด้วยแนวคิดเหล่านี้ รัฐในยุโรปจึงรับเอาบทบาทบางอย่างในทางสังคมขององค์การศาสนามาเป็นของตน เป็นการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ทางสังคมที่ก่อให้เกิดประชากรและพื้นที่สาธารณะที่เป็นฆราวาสในทางวัฒนธรรม ในทางปฏิบัติแล้ว การแยกศาสนจักรกับอาณาจักรแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ บางประเทศ เช่นฝรั่งเศส ใช้แนวคิดความเป็นฆราวาสอย่างเคร่งครัด บางประเทศแยกศาสนากับรัฐจากกันอย่างสิ้นเชิงโดยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น อินเดีย และสิงคโปร์ ขณะที่บางประเทศ เช่น เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และมัลดีฟส์ ยังยอมรับนับถือศาสนาประจำรัฐอยู่ในทางรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และการแยกศาสนจักรกับอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และมาร์ติน ลูเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฮุส

ัน ฮุส ยัน ฮุส (Jan Hus) หรือ จอห์น ฮัส (John Hus, John Huss; ประมาณ ค.ศ. 1369 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1415) เป็นนักปรัชญาและบาทหลวงชาวเช็ก ถือเป็นบุคคลแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการปฏิรูปศาสน.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และยัน ฮุส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศตวรรษ

ตวรรษ (จากภาษาสันสกฤต ศต (หนึ่งร้อย) และ วรรษ (ปี) หมายถึงช่วงเวลาติดต่อกัน 100 ปี ในทุกระบบวันที่ ศตวรรษจะถูกกำหนดให้เป็นตัวเลขแบบมีลำดับ ดังนั้น เราจะกล่าวถึง "ศตวรรษที่สอง" แต่ไม่กล่าวว่า "ศตวรรษสอง" ยังมีความเห็นไม่ตรงกันอยู่มากว่าจะนับปีหลักพัน (เช่น ปี 2000) ว่าเป็นปีแรกหรือปีสุดท้ายของศตวรรษ ความสับสนนี้มีหลักฐานปรากฏทุก ๆ ปี หลังจากปีคริสต์ศักราช 1500 และยิ่งเป็นสิ่งที่สับสนยิ่งขึ้นเมื่อมียุโรปได้มีการนำเลขอารบิกและแนวคิดของศูนย์เข้ามาใช้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ศตวรรษมีทั้งคริสต์ศตวรรษและพุทธศตวรรษ.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และศตวรรษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6

''Desiderando nui'', 1499 สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (Alexander VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1492 ถึง ค.ศ. 1503.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาแห่งเทรนต์

การประชุมสภาที่โบสถ์ซันตามาเรียมัจโจเร เมืองเตรนโต สังคายนาแห่งเทรนต์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 149(Council of Trent) เป็นการประชุมสภาสังคายนาสากลของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ถือเป็นการประชุมครั้งสำคัญที่สุดครั้งหนึ่งของฝ่ายโรมันคาทอลิกWetterau, Bruce.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และสังคายนาแห่งเทรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย

ัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย หรือ สนธิสัญญาโอสนาบรึคและ มึนสเตอร์ (Westfälischer Friede, Peace of Westphalia หรือ Treaties of Osnabrück and Münster) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1648 ที่เมืองออสนาบรึค และต่อมาเมื่อวันที่24 ตุลาคม ค.ศ. 1648 ที่เมืองมึนสเตอร์ สัญญาสันติภาพที่เขียนเป็นฝรั่งเศสเป็นการยุติสงครามสามสิบปีในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ สงครามแปดสิบปี ระหว่างสเปน และ สาธารณรัฐดัตช์และรัฐทั้งเจ็ด ผู้เข้าร่วมในการสร้างสัญญาสันติภาพก็ได้แก่ สมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ฮับส์บวร์ก), ราชอาณาจักรสเปน, ฝรั่งเศส และ สวีเดน, สาธารณรัฐดัตช์ และพันธมิตรของแต่ละฝ่าย สัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียเป็นผลของการประชุมทางการทูตสมัยใหม่ และเป็นการเริ่มวิถีการปฏิบัติสมัยใหม่ (new order) ของยุโรปกลางในบริบทของรัฐเอกราช กฎที่ปฏิบัติของสัญญาสันติภาพกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายรัฐธรรมนูญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ สนธิสัญญาพิเรนีสที่ลงนามกันในปี ค.ศ. 1659 ในการยุติสงครามฝรั่งเศส-สเปนของปี..

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ออกัสตินแห่งฮิปโป

นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป (Augustine of Hippo) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และออกัสตินแห่งฮิปโป · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักร

ริสตจักร (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระศาสนจักร (ศัพท์คาทอลิก) (Christian Church; The Church) คือประชาคมของผู้เชื่อและยอมรับว่าพระเยซูเป็นพระคริสต์ มาบังเกิดเป็นมนุษย์เพื่อช่วยไถ่มนุษย์จากบาปราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 152 ประชาคมนี้ถือเป็นหนึ่งเดียวกัน หากเปรียบเป็นร่างกาย พระเยซูคือศีรษะ และคริสตจักรคือร่างกายส่วนอื่น ๆ ทั้งหมด หรืออีกนัยหนึ่งคือคริสตชนทุกคนเปรียบเหมือนอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกายเดียวกัน โดยมีพระเยซูทรงเป็นหลัก และคริสตชนทุกคนจะร่วมกันปฏิบัติพันธกิจคือการประกาศข่าวดีว่าพระเยซูสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อไถ่บาป มนุษย์ทุกคนที่เชื่อจะพ้นจากบาป และเชื่อว่าจะได้รับความรอดและบำเหน็จจากพระเป็นเจ้าในการพิพากษาครั้งสุดท้.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เรลิก

รลิก (relic) คือชิ้นส่วนร่างกายของนักบุญหรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิเชมัน ฯลฯ คำว่า relic มาจาก ภาษาละติน “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือศาสนสถานสถานที่เช่นมหาวิหารหรือวั.

ใหม่!!: การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์และเรลิก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Protestant Reformationการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์การปฏิรูปโปรเตสแตนต์การปฏิวัติของนิกายโปรเตสแตนต์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »