โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์

การติดเชื้อ vs. จ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์

การติดเชื้อ หมายถึงการเจริญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นบนร่างกายของโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายหรือเกิดโรคได้ จุลชีพก่อโรคจะมีการพยายามใช้ทรัพยากรของโฮสต์เพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของตัวเอง จุลชีพก่อโรคจะรบกวนการทำงานปกติของร่างกายโฮสต์ซึ่งอาจทำให้เกิดบาดแผลเรื้อรัง (chronic wound), เนื้อตายเน่า (gangrene), ความพิการของแขนและขา และอาจทำให้เสียชีวิตได้ การตอบสนองของโฮสต์ต่อการติดเชื้อ เรียกว่า การอักเสบ (inflammation) จุลชีพก่อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อมักจะเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กซึ่งมีความหลากหลายเช่นแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อรา พรีออน หรือไวรอยด์ ภาวะพึ่งพิงซึ่งกันและกันระหว่างปรสิตและโฮสต์ซึ่งปรสิตได้ประโยชน์แต่โฮสต์เสียประโยชน์นั้นในทางนิเวศวิทยาเรียกว่าภาวะปรสิต (parasitism) แขนงของวิชาแพทยศาสตร์ซึ่งเน้นศึกษาในเรื่องการติดเชื้อและจุลชีพก่อโรคคือสาขาวิชาโรคติดเชื้อ (infectious disease) การติดเชื้ออาจแบ่งออกเป็นการติดเชื้อปฐมภูมิ (primary infection) คือการติดเชื้อหลังจากการได้รับจุลชีพก่อโรคเป็นครั้งแรก และการติดเชื้อทุติยภูมิ (secondary infection) ซึ่งหมายถึงการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังหรือระหว่างการรักษาการติดเชื้อปฐมภูม. จ้ำเลือดฮีน็อช-เชินไลน์ (Henoch–Schönlein purpura, HSP) หรือ โรคหลอดเลือดอักเสบจากไอจีเอ (IgA vasculitis) จ้ำเลือดอะนาฟิแล็กตอยด์ (anaphylactoid purpura) จ้ำเลือดรูมาติกา (purpura rheumatica) เป็นโรคของผิวหนัง เยื่อเมือก และอวัยวะภายใน ซึ่งมักพบในเด็ก ทำให้เกิดรอยจ้ำเลือดนูนคลำได้ มักพบมีอาการปวดข้อและปวดท้องร่วมด้วย บางรายอาจมีอาการทางไตร่วมด้วยทำให้เกิดไตอักเสบและมีโปรตีนและเลือดปนมากับปัสสาวะแต่มักไม่ปรากฎชัดเจน ผู้ป่วยจำนวนหนึ่งอาจมีอาการทางไตที่รุนแรงและกลายเป็นโรคไตเรื้อรังได้ โรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อที่คอหอย เป็นต้น HSP เป็นโรคในกลุ่มของโรคหลอดเลือดอักเสบทั่วร่าง มีลักษณะเฉพาะคือเกิดมีสารภูมิคุ้มกันเชิงซ้อน ซึ่งมีองค์ประกอบหนึ่งเป็นอิมมูโนกลอบูลินเอ (IgA) ไปจับในตำแหน่งต่างๆ ของร่างกาย ส่วนสาเหตุที่ทำให้เกิดกระบวนการนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ในเด็กมักพบว่าเป็นอยู่หลายสัปดาห์ และจะหายได้เองโดยไม่ต้องใช้การรักษาจำเพาะ (ใช้เฉพาะการรักษาบรรเทาอาการ) หนึ่งในสามจะกลับเป็นซ้ำ และหนึ่งในร้อยจะทำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง ส่วนในผู้ใหญ่จะมีพยากรณ์โรคที่ต่างไปจากเด็ก โดยอาการทางผิวหนังจะเป็นอยู่กว่า 2 ปีโดยเฉลี่ย และมักกลับเป็นๆ หายๆ ได้หลายปี ไม่ได้หายเองอย่างในเด็ก และมักพบภาวะแทรกซ้อนบ่อยกว่า หมวดหมู่:วิทยารูมาติก หมวดหมู่:กุมารเวชศาสตร์ หมวดหมู่:วักกวิทยา หมวดหมู่:โรคภูมิต้านตนเอง หมวดหมู่:โรคซึ่งไม่ทราบสาเหตุ หมวดหมู่:โรคผิวหนังที่สัมพันธ์กับหลอดเลือด.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์

การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์

การติดเชื้อ มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ จ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การติดเชื้อและจ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »