โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การฉ้อราษฎร์บังหลวงในประเทศไทย

ดัชนี การฉ้อราษฎร์บังหลวงในประเทศไทย

วนร่วมของธุรกิจกับรัฐบาลส่งผลให้มีการให้สินบนอย่างกว้างขวางในหลายภาคส่วนทั่วประทเศ การให้สินบนและการขัดกันของผลประโยชน์พบบ่อยทั้งภาคเอกชนและรัฐ การเมืองเงินในประเทศไทยเกิดจากจำนวนส่วนร่วมระหว่างภาคธุรกิจและการเมืองสูง แม้มีกฎหมายต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง แต่ระบบข้าราชการประจำของไทยไม่มีประสิทธิภาพในการใช้บังคับกฎหมายดังกล่าว มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยจัดทำการสำรวจในหมู่นักธุรกิจที่ติดต่อกับข้าราชการผู้ตัดสินมอบสัมปทาน กว่าร้อยละ 25 เป็นค่าเฉลี่ยของค่าสินบนที่จ่ายเพื่อให้ได้สัญญาจากหน่วยงานของรัฐ การสำรวจเดียวกันยังแสดงว่านักธุรกิจร้อยละ 78 ที่สำรวจยอมรับว่าต้องจ่าย "ค่าธรรมเนียม" ซึ่งพวกเขาเล่าวว่าดูเหมือนเพิ่มขึ้นในช่วงปีหลัง นักธุรกิจบางคนอ้างว่าอัตราที่ข้าราชการบางคนคิดค่าสัญญานั้นสูงถึงร้อยละ 40 การฉ้อราษฎร์บังหลวงตำรวจก็มีแพร่หลาย ในปี 2559 มีหลายคดีที่ตำรวจถูกตั้งข้อหาลักพาตัว คุกคามทางเพศ โจรกรรมและการกระทำมิชอบ ทางการจับกุมเจ้าหน้าที่ตำรวจและพิพากษาลงโทษฐานฉ้อราษฎร์บังหลวง ค้ายาเสพติด การลักลอบนำเข้าหรือส่งออก และการละเมิดสิทธิทรัพย์สินทางปัญญา ในปี 2558 องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) ตั้ง "พิพิธภัณฑ์กลโกงแห่งชาติ" ที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นักวิจารณ์บางคนวิจารณ์ว่าพิพิธภัณฑ์ดังกล่าวเน้น "การกระทำรับสินบนฉาวโฉ่ที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล" 10 อย่าง แต่ไม่มีกล่าวถึงกองทัพหรือธุรก.

3 ความสัมพันธ์: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐโจรกรรม

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร โดยมี "หอการค้าไทย" เป็นเจ้าของ และได้รับการยอมรับว่าเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจในประเทศไทย ประกอบด้วย 9 คณะ ได้แก่ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และคณะการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ รวมถึง 2 วิทยาลัย ได้แก่ วิทยาลัยผู้ประกอบการ และวิทยาลัยนานาชาติ โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทั้งหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: การฉ้อราษฎร์บังหลวงในประเทศไทยและมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ

ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (Office of Pubilc Sector Anti-Corruption Commission; ตัวย่อ PACC, สำนักงาน ป.ป.ท.) เดิมเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: การฉ้อราษฎร์บังหลวงในประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ · ดูเพิ่มเติม »

โจรกรรม

รกรรม (ศัพท์ทางศาสนาเรียกว่า ไถยกรรม) หมายถึงการกระทำที่นำเอาทรัพย์สินของผู้อื่นโดยเจตนา เพื่อยึดทรัพย์สินนั้นมาเป็นของตน ซึ่งเจ้าของทรัพย์สินไม่ได้อนุญาตหรือยินยอม คำนี้สามารถเรียกแทนอาชญากรรมบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินอาทิ การลักทรัพย์ (ขโมย) การลักทรัพย์ในเคหสถาน (ย่องเบา/ยกเค้า) การลักทรัพย์ในร้านค้า การยักยอก การชิงทรัพย์ (ปล้น) การฉกชิงทรัพย์ (ปล้นสะดม) และการฉ้อโกง ในบางเขตอำนาจศาล "โจรกรรม" (theft) มีความหมายเหมือนกับ "การลักทรัพย์" (larceny) โจร หมายถึงผู้ที่กระทำโจรกรรมดังกล่าว ภาษาพูดอาจเรียกว่า ผู้ร้าย โบราณเรียก ฎางการ ก็มี ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: การฉ้อราษฎร์บังหลวงในประเทศไทยและโจรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »