โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กางเขนและกางเขนมอลตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กางเขนและกางเขนมอลตา

กางเขน vs. กางเขนมอลตา

กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ. 1997) หรืออีกความหมายหนึ่งคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเทพที่เป็นแกนตั้งและโลกที่คือแกนนอน (คอค, ค.ศ. 1955). “กางเขนมอลตา” หรือ “กางเขนอามาลฟี” กางเขนมอลตา หรือ กางเขนอามาลฟี (Maltese Cross หรือ Amalfi cross) เป็นกางเขนที่เป็นสัญลักษณ์ของลัทธินักรบคริสเตียนที่เรียกว่าอัศวินฮอสพิทาลเลอร์ หรือ อัศวินแห่งมอลตา ที่กลายมาเป็นชื่อของกางเขนตามชื่อเกาะมอลตาในทะเลเมดิเตอเรเนียน กางเขนมอลตาปรากฏบนธงชาติมอลตาและถือว่าเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของมอลตา กางเขนมอลตาปรากฏบนเหรียญของมอลตา และในปัจจุบันปรากฏบนด้านหลังของเหรียญหนึ่งและสองยูโรที่เริ่มใช้เมื่อเดือนมกราคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กางเขนและกางเขนมอลตา

กางเขนและกางเขนมอลตา มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มุทราศาสตร์ธัชวิทยาธงชาติมอลตาเครื่องหมาย (มุทราศาสตร์)

มุทราศาสตร์

รื่องยอด มุทราศาสตร์ (heraldry) เป็นอาชีพ, สาขาวิชา หรือศิลปะของการออกแบบ การมอบ และการให้นิยามของตราอาร์ม และ การวางกฎที่เกี่ยวกับศักดิ์หรือข้อกำหนดของพิธีการใช้ที่ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่ตราอาร์ม (officer of arms) คำว่า “heraldry” มาจากภาษาแองโกล-นอร์มันว่า “herald” ที่มีรากมาจากคำสมาทของภาษาเจอร์มานิค “*harja-waldaz” ที่แปลว่า “ผู้นำทัพ”Appendix I. koro-.

กางเขนและมุทราศาสตร์ · กางเขนมอลตาและมุทราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธัชวิทยา

งของ ''Fédération internationale des associations vexillologiques''. ธัชวิทยา (vexillology) คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธง ชื่อวิชา Vexillology เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 โดย วิทนีย์ สมิท ผู้แต่งหนังสือเรื่อง ธง และบทความเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับธง ในช่วงแรกยังนับเป็นสาขาย่อยของ"วิชาการผูกตราสัญลักษณ์" (heraldry) ซึ่งบางครั้งก็ยังถือว่าเป็นดังนั้นอยู่ นอกจากนี้ก็ยังอาจถือว่าเป็นสาขาของวิชา สัญญาณศาสตร์ (semiotics) วิชานี้ได้มีการนิยามไว้ในข้อบังคับของ สหพันธ์ธัชวิทยานานาชาติ - FIAV (Fédération internationale des associations vexillologiques) ว่าเป็น "การสร้างสรรค์และพัฒนาการว่าด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับธงทุกประเภท ทุกรูปแบบ ทุกหน้าที่ใช้สอย และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และหลักการที่เป็นพื้นฐานแห่งความรู้นี้" บุคคลผู้ศึกษาเกี่ยวกับธงเรียกว่า "นักธัชวิทยา" (vexillologist) และเรียกผู้ทำงานเกี่ยวกับการออกแบบธงหรือนักออกแบบธง เป็นภาษาอังกฤษว่า vexillographer ในคำภาษาอังกฤษ Vexillology ได้มาจากการสังเคราะห์คำภาษาละติน vexillum และ หน่วยคำเติมหลัง –ology ที่แปลว่า "การศึกษาว่าด้ว..." สำหรับ vexillum หมายถึงธงประจำกองทหารโรมันในยุคคลาสสิก ธงสมัยนั้นต่างกันธงปัจจุบันตรงที่ธงปัจจุบันใช้ผูกกับเสาทางดิ่ง ส่วนธง vexillum เป็นผืนสี่เหลี่ยมจตุรัสแขวนอยู่กับแขนกางเขนทางนอนที่ยึดกับปลายหอก นักธัชวิทยารวมตัวกันในระดับนานาชาติจัดประชุมด้านธัชวิทยา (ICV - International Concress of Vexillology) ทุกๆ สองปี เมื่อ..

กางเขนและธัชวิทยา · กางเขนมอลตาและธัชวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมอลตา

งชาติสาธารณรัฐมอลตา เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งตามแนวตั้ง ครึ่งซ้ายเป็นพื้นสีขาว ครึ่งขวาเป็นพื้นสีแดง ที่มุมซ้ายบนของพื้นสีขาวมีภาพดวงตราเครื่องราชอิสรยาภรณ์จอร์จครอส พื้นสีขาวและสีแดงในธงนี้มาจากสีตราแผ่นดินของมอลตา ซึ่งมีที่มาจากสีธงที่เคานท์โรเจอร์แห่งซิซีลี (Count Roger of Sicily) กำหนดให้เป็นธงของมอลตาในปี พ.ศ. 1634 โดยธงนั้นเป็นธงลายตราหมากรุกสีขาวสลับแดง อย่างไรก็ตาม หลายคนก็กล่าวว่าที่มานี้เป็นเพียงตำนานที่ได้รับการต่อเติมเสริมแต่งมาตามกาลเวลาเท่านั้น ส่วนตราเครื่องราชอิสรยาภรณ์จอร์จครอสที่มุมธงด้านคันธงนั้น หมายถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร ได้พระราชทานแก่ชาวมอลตาทั้งมวลเพื่อแสดงถึงความกล้าหาญจากการเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2486 นับได้ว่ามอลตาเป็นชาติเดียวที่มีภาพดวงตราอิสริยาภรณ์ต่างประเทศประกอบในธงชาติ ซึ่งในที่นี้ได้แก่สหราชอาณาจักร ธงชาติมอลตาที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2507 อันเป็นวันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร สำหรับธงเรือพลเรือนของมลอตานั้นกำหนดให้ใช้ธงอีกแบบหนึ่งซึ่งต่างจากธงชาติโดยสิ้นเชิง โดยธงนี้เป็นสีแดงมีขอบสีขาว ที่กลางธงมีเครื่องหมายกางเขนมอลต.

กางเขนและธงชาติมอลตา · กางเขนมอลตาและธงชาติมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมาย (มุทราศาสตร์)

รื่องหมาย (Charge) ในมุทราศาสตร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของตราอาร์มที่เป็นเครื่องหมายที่อาจจะเป็นตราสัญลักษณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นตราของโล่ภายในตรา ซึ่งอาจจะเป็นลายเรขาคณิต (บางครั้งเรียกว่า “แถบ”) หรือสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์สำหรับของบุคคล สัตว์ สิ่งของ หรือ สิ่งอื่นๆ ในนิยามของตราของฝรั่งเศสแถบเรียกว่า “pièces” และเครื่องหมายอื่นๆ เรียกว่า “mobile” ซึ่งเป็นคำคำพ้องรูปพ้องเสียง (homonym) กับคำว่า “meuble” ในภาษาฝรั่งเศสปัจจุบันที่แปลว่าเครื่องเรือน การแบ่งเครื่องหมายออกเป็น “แถบ” หรือ “แถบย่อย” และกลุ่มอื่นๆ เป็นระเบียบใหม่ที่เป็นที่คัดค้านโดยนักเขียนเกี่ยวกับมุทราศาสตร์หลายคนที่รวมทั้งฟ็อกซ์-เดวิส ความสำคัญและความหมายของเครื่องหมายจะได้รับการระบุในนิยามของตรา คำว่า “charge” (“เครื่องหมาย”) อาจจะใช้เป็นคำกิริยา เช่นถ้าโล่มีสิงห์โตสามตัวก็จะนิยามว่า charged with three lions (เครื่องหมายด้วยสิงห์สามตัว) หรือ เครื่องยอดหรือตัว “เครื่องหมาย” เองก็อาจจะเป็น “เครื่องหมาย” ได้ เช่นเป็นปีกเหยี่ยวคู่ charged with trefoils (เป็นเครื่องหมายจิกสามแฉก) (เช่นตราแผ่นดินของบรันเดินบวร์ค) สิ่งสำคัญคือการแสดงความแตกต่างระหว่าง “แถบ” (ordinaries) กับ “ช่องตรา” (divisions of the field) เพราะเครื่องหมายทั้งสองอย่างนี้ใช้วิธีนิยามเดียวกัน เช่นโล่ divided "per chevron" (ช่องแบ่งด้วยแถบเชฟรอน) ที่ต่างจาก charged with chevron (เป็นเครื่องหมายเชฟรอน) สิ่งต่างที่ใช้เป็นเครื่องหมายมาจากธรรมชาติ ตำนาน หรือเทคโนโลยี สิ่งต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องหมายก็ได้แก่กางเขนที่เป็นเครื่องหมายของคริสต์ศาสนา เหยี่ยว สิงห์โต หรือ สิ่งก่อสร้าง.

กางเขนและเครื่องหมาย (มุทราศาสตร์) · กางเขนมอลตาและเครื่องหมาย (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กางเขนและกางเขนมอลตา

กางเขน มี 107 ความสัมพันธ์ขณะที่ กางเขนมอลตา มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 3.48% = 4 / (107 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กางเขนและกางเขนมอลตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »