โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด vs. การแท้ง

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด (antiphospholipid syndrome) หรือกลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด แอนติบอดี้ (antiphospholipid antibody syndrome) (APS, APLS) หรือกลุ่มอาการฮิวจส์ (Hughes syndrome) เป็นโรคภูมิต้านตนเองที่ทำให้มีภาวะเลือดแข็งตัวง่ายกว่าปกติอย่างหนึ่ง เกิดจากการมีแอนติบอดีต่อฟอสโฟไลปิด (antiphospholipid antibody) โรคนี้กระตุ้นให้เกิดลิ่มเลือดทั้งในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ เช่น การแท้ง การตายคลอด การคลอดก่อนกำหนด และครรภ์เป็นพิษรุนแรง เป็นต้น หมวดหมู่:การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ หมวดหมู่:วิทยารูมาติก หมวดหมู่:โรคภูมิต้านตนเอง หมวดหมู่:ความผิดปกติทางประสาทวิทยา หมวดหมู่:สูติศาสตร์ หมวดหมู่:กลุ่มอาการ. การแท้ง (abortion) คือการยุติการตั้งครรภ์โดยการนำทารกในครรภ์หรือเอ็มบริโอออกจากมดลูกก่อนให้กำเนิด เมื่อเกิดโดยไม่เจตนามักเรียกว่า การแท้งเอง และเรียกว่า การทำแท้ง เมื่อทำโดยเจตนา เมื่อไม่มีกฎหมายห้าม การทำแท้งในประเทศพัฒนาแล้วเป็นหนึ่งในกระบวนการทางการแพทย์ที่ปลอดภัยที่สุด แพทย์แผนปัจจุบันทำแท้งด้วยยาหรือศัลยกรรม การใช้ยาไมฟีพริสโตน (mifepristone) ร่วมกับโพรสตาแกลนดินเป็นวิธีทำแท้งแบบใช้ยาที่ปลอดภัยและให้ประสิทธิผลดีระหว่างไตรมาสแรกกับไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ หลังการแท้งสามารถใช้การคุมกำเนิด เช่น ยาคุมกำเนิด หรือ ห่วงอนามัยคุมกำเนิด ได้ทันที การทำแท้งไม่เพิ่มโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคทั้งทางจิตและทางกายภาพเมื่อทำอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในทางตรงข้าม การทำแท้งอย่างไม่ปลอดภัย เช่น การทำแท้งโดยผู้ไม่มีทักษะ การทำแท้งด้วยอุปกรณ์ไม่ปลอดภัย หรือการทำแท้งในสถานที่ไม่สะอาด นำไปสู่การเสียชีวิตของคนกว่า 47,000 คน และทำให้คนกว่า 5 ล้านคนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลในแต่ละปี องค์การอนามัยโลกสนับสนุนให้ผู้หญิงทุกคนมีทางเลือกที่จะทำแท้งอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในแต่ละปีมีการทำแท้งเกิดขึ้นประมาณ 56 ล้านครั้งทั่วโลก โดยมีประมาณ 45% ที่ทำอย่างไม่ปลอดภัย อัตราการทำแท้งแทบไม่เปลี่ยนแปลงระหว่าง..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การคลอดก่อนกำหนดการตั้งครรภ์ทารกตายคลอด

การคลอดก่อนกำหนด

การคลอดก่อนกำหนด (preterm birth) นั้นสำหรับมนุษย์มักหมายถึงการคลอดทารกก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ มักมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อย” ถ้าคลอดก่อน 30-32 สัปดาห์ น้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่า 1,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อยมาก” สาเหตุของการคลอดก่อนกำหนดนั้นในหลายครั้งมักไม่ปรากฏสาเหตุชัดเจน ปัจจัยที่มีผลหรือสัมพันธ์กับการเกิดการคลอดก่อนกำหนดนั้นมีหลายอย่างมาก ทำให้ความพยายามในการลดการคลอดก่อนกำหนดนั้นเป็นการยากอย่างยิ่ง premature birth มักใช้ในความหมายเดียวกันกับ preterm birth หมายถึงการที่ทารกคลอดก่อนที่อวัยวะต่างๆ จะเจริญเต็มที่พอที่จะมีชีวิตรอดและเจริญเติบโตได้ ทารกที่ premature จะมีความเสี่ยงสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงอาจมีความผิดปกติในการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ด้วย ในปัจจุบันการดูแลทารก premature มีความก้าวหน้ามาก แต่ยังไม่สามารถลดความชุก (prevalence) ของการคลอดก่อนกำหนดได้ ปัจจุบันการคลอด preterm เป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุดของการมีทารก premature และเป็นสาเหตุสำคัญของอัตราตายแรกเกิด (neonatal mortality) ในประเทศที่กำลังพัฒน.

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการคลอดก่อนกำหนด · การคลอดก่อนกำหนดและการแท้ง · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งครรภ์

การตั้งครรภ์ คือ การเจริญของลูกตั้งแต่หนึ่ง ที่เรียก เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ ในมดลูกของหญิง เป็นชื่อสามัญของการตั้งครรภ์ในมนุษย์ การตั้งครรภ์แฝดเกี่ยวข้องกับการมีเอ็มบริโอหรือตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งในการตั้งครรภ์ครั้งเดียว เช่น ฝาแฝด การคลอดปกติเกิดราว 38 สัปดาห์หลังการเริ่มตั้งท้อง หรือ 40 สัปดาห์หลังเริ่มระยะมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้ายในหญิงซึ่งมีความยาวรอบประจำเดือนสี่สัปดาห์ การร่วมเพศหรือเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการเริ่มตั้งท้อง เอ็มบริโอเป็นลูกที่กำลังเจริญในช่วง 8 สัปดาห์แรกหลังเริ่มตั้งท้อง จากนั้นใช้คำว่า ทารกในครรภ์ จนกระทั่งคลอด นิยามทางการแพทย์หรือกฎหมายของหลายสังคมมีว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วงการเจริญก่อนเกิด ไตรมาสแรกมีความเสี่ยงการแท้งเอง (การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) สูงสุด ในไตรมาสที่สองเริ่มเฝ้าสังเกตและวินิจฉัยการเจริญของทารกในครรภ์ได้ง่ายขึ้น ไตรมาสที่สามมีการเจริญของทารกในครรภ์เพิ่มและการเจริญของแหล่งสะสมไขมันของทารกในครรภ์ จุดความอยู่รอดได้ของทารกในครรภ์ (point of fetal viability) หรือจุดเวลาที่ทารกในครรภ์สามารถดำรงชีวิตได้นอกมดลูก ปกติตรงกับปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาสที่ 3 ทารกที่คลอดก่อนจุดนี้มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะทางการแพทย์หรือตาย ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร 40% ของการตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ และระหว่าง 25% ถึง 50% ของการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจเหล่านี้เป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา หญิง 60% ใช้การคุมกำเนิดระหว่างเดือนที่เกิดการตั้งครร.

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการตั้งครรภ์ · การตั้งครรภ์และการแท้ง · ดูเพิ่มเติม »

ทารกตายคลอด

ทารกตายคลอดนั้นเสียชีวิตตั้งแต่เป็นตัวอ่อนอยู่ในมดลูก โดยหากเสียชีวิตก่อนจะถึงอายุครรภ์ที่ถือว่าสามารถเลี้ยงให้รอดได้จะเรียกว่าการแท้ง ในไทยถือเอาอายุครรภ์ 24 สัปดาห์ หรือน้ำหนัก 600 กรัม เป็นเกณฑ์ตัดสิน แต่เกณฑ์นี้อาจแตกต่างกันไปในแต่ละโรงพยาบาล ขึ้นอยู่กับความสามารถของทีมแพทย์ในโรงพยาบาลนั้น ๆ หมวดหมู่:ภาวะเจริญพันธุ์ หมวดหมู่:ประชากรศาสตร์ หมวดหมู่:สูติศาสตร์ หมวดหมู่:มุมมองการแพทย์เกี่ยวกับความตาย.

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและทารกตายคลอด · การแท้งและทารกตายคลอด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ การแท้ง มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 3 / (11 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการแท้ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »