โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด vs. การจับลิ่มของเลือด

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด (antiphospholipid syndrome) หรือกลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด แอนติบอดี้ (antiphospholipid antibody syndrome) (APS, APLS) หรือกลุ่มอาการฮิวจส์ (Hughes syndrome) เป็นโรคภูมิต้านตนเองที่ทำให้มีภาวะเลือดแข็งตัวง่ายกว่าปกติอย่างหนึ่ง เกิดจากการมีแอนติบอดีต่อฟอสโฟไลปิด (antiphospholipid antibody) โรคนี้กระตุ้นให้เกิดลิ่มเลือดทั้งในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ เช่น การแท้ง การตายคลอด การคลอดก่อนกำหนด และครรภ์เป็นพิษรุนแรง เป็นต้น หมวดหมู่:การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ หมวดหมู่:วิทยารูมาติก หมวดหมู่:โรคภูมิต้านตนเอง หมวดหมู่:ความผิดปกติทางประสาทวิทยา หมวดหมู่:สูติศาสตร์ หมวดหมู่:กลุ่มอาการ. The classical blood coagulation pathway การแข็งตัวของเลือด (coagulation) คือกระบวนการซึ่งทำให้เลือดกลายเป็นลิ่มเลือด เป็นกลไกสำคัญของการห้ามเลือด ทำให้เกล็ดเลือดจับกับไฟบรินกลายเป็นลิ่มเลือด อุดรอยรั่วของหลอดเลือด ทำให้เลือดไม่ไหลออกจากหลอดเลือด หากมีความผิดปกติเกิดขึ้นกับกระบวนการนี้อาจทำให้เลือดไม่แข็งตัวอย่างที่ควรจะเป็น เกิดเลือดออกง่าย หรือเลือดแข็งตัวง่ายกว่าที่ควรจะเป็น เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด กระบวนการการแข็งตัวของเลือดเป็นกระบวนการที่มีการคงอยู่ในระบบพันธุกรรมสูงมาก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดมีกลไกการแข็งตัวของเลือดที่ได้รับการพัฒนาสูง กระบวนการนี้ประกอบขึ้นจากสองส่วนคือส่วนของเซลล์ (เกล็ดเลือด) และส่วนของโปรตีน (ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด) ระบบการแข็งตัวของเลือดในมนุษย์ได้รับการศึกษาวิจัยอย่างมาก จึงเป็นที่เข้าใจมากที่สุด กลไกการแข็งตัวของเลือดเริ่มต้นขึ้นแทบจะทันทีที่เกิดการบาดเจ็บต่อหลอดเลือด เกิดการเว้าแหว่งของผนังหลอดเลือด เมื่อเลือดได้สัมผัสกับโปรตีนที่อยู่นอกหลอดเลือด เช่น tissue factor ก็จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเกล็ดเลือดและไฟบริโนเจนซึ่งเป็นปัจจัยการแข็งตัวของเลือดตัวหนึ่ง เกล็ดเลือดจะมาจับที่จุดบาดเจ็บทันที เป็นกระบวนการห้ามเลือดขั้นปฐมภูมิ จากนั้นกระบวนการห้ามเลือดขั้นทุติยภูมิก็จะเริ่มขึ้นพร้อมๆ กัน โปรตีนต่างๆ ในเลือดที่รวมเรียกว่าปัจจัยการแข็งตัวของเลือดจะมีการกระตุ้นปฏิกิริยาอย่างเป็นลำดับและซับซ้อน จนสุดท้ายแล้วทำให้เกิดเส้นใยไฟบรินขึ้น ซึ่งจะเสริมความแข็งแรงของก้อนเกล็ดเลือดที่จับกันอยู.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด

กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ การจับลิ่มของเลือด มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (11 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิดและการจับลิ่มของเลือด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »