โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรดชิคิมิก

ดัชนี กรดชิคิมิก

กรดชิคิมิก Shikimic acid หรือในรูปไอออนลบที่เรียก ชิคิเมต (shikimate) เป็นเมทาบอไลต์ที่สำคัญในพืชและจุลินทรีย์ ชื่อของสารตัวนี้มาจากชื่อดอกไม้ในภาษาญี่ปุ่นคือ shikimi (シキミ, Illicium anisatum) ซึ่งเป็นพืชชนิดแรกที่แยกสารชนิดนี้ได้ กรดชิคิมิกเป็นสารตั้งต้นของสารหลายชนิด ได้แก.

9 ความสัมพันธ์: ฟลาโวนอยด์มหาวิทยาลัยเมนอินโดลนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟตแอลคาลอยด์แทนนินโอเซลทามิเวียร์เกี๊ยะEscherichia coli

ฟลาโวนอยด์

ฟลาโวนอยด์ หรือไบโอฟลาโวนอยด์ เป็นเมทาบอไลต์ที่สองของพืชกลุ่มหนึ่ง ฟลาโวนอยด์เคยถูกเรียกว่า วิตามินพี อาจเนื่องจากผลต่อสภาพให้ซึมผ่านได้ของหลอดเลือดฝอย) ระหว่างกลางคริสต์ทศวรรษ 1930 ถึง 1950 แต่หลังจากนั้นไม่ใช้แล้ว ในทางเคมี,มีโครงสร้างที่มี 15 คาร์บอนโดยประกอบด้วย 2 วงฟีนิล(A และ B) และ 1 Heterocyclic ring เขียนย่อได้ว่า C6-C3-C6 ตามการเขียนของ IUPAC หมวดหมู่:สารอาหาร หมวดหมู่:โภชนาการ.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและฟลาโวนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเมน

มหาวิทยาลัยเมน (University of Maine) ชื่อย่อว่า UMaine เป็นมหาวิทยาลัยรัฐประเภทศูนย์วิจัยที่ตั้งอยู่ที่เมืองโอโรโน, เมนในรัฐเมนในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเมนก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1865 เป็น "land grant college" และเป็นมหาวิทยาลัยหลักของ เครือมหาวิทยาลัยแห่งรัฐเมน (University of Maine System) มหาวิทยาลัยเมนเป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเมนที่มีนิสิตราว 12,000 คน โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี โท เอก ในหลายสาขา และได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยประเภทศูนย์วิจัยโดยระบบการจัดประเภทของสถาบันอุดมศึกษาคาร์เนกี (Carnegie Classification of Institutions of Higher Education).

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและมหาวิทยาลัยเมน · ดูเพิ่มเติม »

อินโดล

อินโดล(อังกฤษ:Indole)เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทอะโรมาติก เฮเทอโรไซคลิก มันเป็นโครงสร้าง 2 วงแหวน (bicyclic structure) ส่วนที่เป็น 6 เหลี่ยมเรียกเบนซีนเชื่อมกับวงแหวน 5 เหลี่ยมที่มีอะตอมไนโตรเจน1 อะตอม เชื่อมต่อกับคาร์บอน 4 อะตอมซึ่งเรียกว่า วงแหวน ไพร์โรล (pyrrole) การเชื่อมต่อไนโตรเจนกับวงแหวนอะโรมาติก มีความหมายว่าอินโดลจะประพฤติตัวไม่เป็นด่าง และมันก็ไม่เป็นอามีนธรรมดา อินโดลเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้องมีกลิ่น คล้าย อุจจาระ แต่ที่ความเข้มข้นต่ำๆ มันจะมีกลิ่นดอกไม้ โครงสร้าง อินโดล สามารถพบได้ในสารประกอบอินทรีย์มากมายเช่น กรดอะมิโน ทริปโตแฟน (tryptophan) ในอัลคะลอยด์ หรือ ในปิกเมนต์ อินโดล (indole) เป็นคำที่ได้จาก อินดิโก (indigo) เป็นสีน้ำเงินที่ได้จากพืชชนิดหนึ่ง โมเลกุลของอินดิโก ประกอบด้วยโครงสร้างอินโดล 2 หน่วยมาเชื่อมกัน.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและอินโดล · ดูเพิ่มเติม »

นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต (Nicotinamide adenine dinucleotide phosphate; NADP+) หรือไตรฟอสโฟไพริดีนนิวคลีโอไทด์ (triphosphopyridine nucleotide; TPN) เป็นโคแฟกเตอร์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ เช่น การสร้างไขมัน นิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลีอิก ซึ่งต้องใช้ NADPH เป็นตัวให้อิเล็กตรอน NADPH ต่างจาก NADH ตรงที่มีหมู่ฟอสเฟตเพิ่มที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 ของน้ำตาลไรโบสซึ่งจับกับเบสอะดีนีน หมวดหมู่:เซลล์.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แอลคาลอยด์

isbn.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและแอลคาลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนนิน

แทนนิน (tannin) เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่และโครงสร้างซับซ้อน มีสถานะเป็นกรดอ่อนรสฝาด เป็นสารให้ความฝาดในพืช พบได้ในพืชหลายชนิด แทนนิน มี 2 ชนิด คือ คอนเดนส์แทนนิน (condensed tannins) หรือเรียกอีกอย่างว่า โปรแอนโทรไซยานิน (proanthrocyanin) พบได้ในส่วนเปลือกต้น และแก่นไม้เป็นส่วนใหญ่ และ สารไฮโดรไลซ์แทนนิน (hydrolysable tannins) คือแบบที่สามารถถูกแยกออกเป็นโมเลกุลเล็กๆ ได้ พบมากในส่วนใบ ฝัก และส่วนที่ปูดออกมาจากปกติ เมื่อต้นไม้ได้รับอันตราย (gall) แทนนิน มีคุณสมบัติตกตะกอนโปรตีน ทำให้หนังสัตว์ไม่เน่าเปื่อย จึงมีการใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนังด้วย แทนนินมีฤทธิ์ฝาดสมาน จึงใช้เป็นยารักษาโรคท้องเสียได้ แทนนินมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียได้ ตัวอย่างแทนนินได้แก่ theogallin, gallic acid, ellagic acid แทนนิน มาจากคำว่า “แทนนิ่ง” "tanning" ซึ่งแปลว่ารักษาไว้และกันน้ำ แทนนิ่งคือการเปลี่ยนหนังสัตว์ที่ตายแล้วให้เป็นผลิตภัณฑ์หนังโดยการใช้สารสกัดจากพื.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและแทนนิน · ดูเพิ่มเติม »

โอเซลทามิเวียร์

อเซลทามิเวียร์ (Oseltamivir) หรือชื่อที่ถูกต้องอ่านว่า "โอเซิลแทมิวีร์" (/ɒsəlˈtæmɨvɪr/) เป็น ยาต้านไวรัส (antiviral drug) ที่มีฤทธิ์เป็น นิวรามินิเดส อินฮิบิเตอร์ (neuraminidase inhibitor) ใช้รักษาและป้องกัน (prophylaxis) ไข้หวัดใหญ่ (influenza) เอ และ บี โอเซลทามิเวียร์เป็นยาที่ใช้รับประทานและมีผลยับยั้งเอ็นไซม์ นิวรามินิเดส พัฒนาโดย ไกลีด ไซเอนซ์ (Gilead Sciences) และทำตลาดโดย ฮอฟฟ์แมน-ลา โรช ในชื่อการค้าว่า ทามิฟลู® (Tamiflu®).

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและโอเซลทามิเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกี๊ยะ

กี๊ยะ (Pine) เป็นต้นสนชนิดหนึ่ง เป็นหมู่สนในสกุลไพนัส (Pinus) ในวงศ์สนเขา ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่ามีอยู่ทั้งสิ้น 126 สายพันธุ์ และยังมีอีก 35 สายพันธุ์ที่รอการพิสูจน์ สนในหมู่นี้สามารถติดไฟได้ดีที่สุด ซึ่งมักจะเป็นสาเหตุของไฟป่า สนหมู่เกี๊ยะถูกแบ่งออกเป็น 3 หมู่ย่อย (subgenera) ซึ่งจำแนกตามลักษณะเมล็ด ใบ และ พุ่ม อันประกอบด้วย.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและเกี๊ยะ · ดูเพิ่มเติม »

Escherichia coli

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนของ ''E. coli'' กำลังขยาย 10,000 เท่า Escherichia coli ("เอสเชอริเชีย โคไล" หรือ ") หรือเรียกโดยย่อว่า E. coli (อี. โคไล) เป็นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม เป็นตัวชี้การปนเปื้อนของอุจจาระในน้ำ มีอยู่ตามธรรมชาติในลำไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ แบคทีเรียชนิดนี้ทำให้เกิดอาการท้องเสียบ่อยที่สุด ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ทำให้ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็นน้ำ แต่อาการมักไม่รุนแรง เพราะทั้งเด็ก และผู้ใหญ่มักมีภูมิต้านทานอยู่บ้างแล้ว เนื่องจาก ได้รับเชื้อนี้เข้าไปทีละน้อยอยู่เรื่อยๆ เชื้อนี้มักปนเปื้อนมากับอาหาร น้ำ หรือ มือของผู้ประกอบอาหาร ปกติเชื้อเหล่านี้อาจพบในอุจจาระได้อยู่แล้วแม้จะไม่มีอาการอะไร มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย ลาว กัมพูชา อินโดนีเซีย เป็นต้น ถูกค้นพบโดย Theodur Escherich มีลักษณะเป็นรูปท่อน ติดสีแดง เป็นแกรมลบ เป็น Facultative aerobe.

ใหม่!!: กรดชิคิมิกและEscherichia coli · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Shikimate

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »