โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535

7 พฤษภาคม vs. พ.ศ. 2535

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น. ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535

7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535 มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกระสวยอวกาศกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิทินเกรโกเรียน12 ธันวาคม18 มิถุนายน24 พฤศจิกายน3 เมษายน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

7 พฤษภาคมและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พ.ศ. 2535และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

7 พฤษภาคมและกระสวยอวกาศ · กระสวยอวกาศและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคม..

7 พฤษภาคมและกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ · กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

7 พฤษภาคมและปฏิทินเกรโกเรียน · ปฏิทินเกรโกเรียนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

12 ธันวาคมและ7 พฤษภาคม · 12 ธันวาคมและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

18 มิถุนายนและ7 พฤษภาคม · 18 มิถุนายนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤศจิกายน

วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.

24 พฤศจิกายนและ7 พฤษภาคม · 24 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

3 เมษายนและ7 พฤษภาคม · 3 เมษายนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535

7 พฤษภาคม มี 75 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2535 มี 251 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 2.45% = 8 / (75 + 251)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 7 พฤษภาคมและพ.ศ. 2535 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »