โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

7 ประจัญบาน vs. หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

7 ประจัญบาน เป็นภาพยนตร์ไทย ซึ่งดัดแปลงจากภาพยนตร์เรื่อง 1 ต่อ 7 ของ ส.อาสนจินดา โดยเป็นเรื่องราววีรกรรมการกอบกู้ชาติไทยที่เกิดขึ้นในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2506 กำกั.อาสนจินดา นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา, คริสติน เหลียง, รุจน์ รณภพ และ ทักษิณ แจ่มผล.อาสนจินดา ได้นำเรื่อง 7 ประจัญบาน มาสร้างและกำกับเองเป็นครั้งที่สอง โดยมีสหมงคลฟิล์ม เป็นผู้จัดจำหน่าย ออกฉายวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, สรพงศ์ ชาตรี, วิยะดา อุมารินทร์ และ นิรุตติ์ ศิริจรรยา ในปี พ.ศ. 2545 สหมงคลฟิล์ม นำเรื่อง 7 ประจัญบาน มาสร้างภาพยนตร์อีกครั้ง โดยมี เฉลิม วงศ์พิมพ์เป็นผู้กำกับ ออกฉายวันที่ 26 เมษายน.. 1 ต่อ 7 หรือ หนึ่งต่อเจ็ด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2520 โดยนำภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน ของ ส.อาสนจินดา นำกลับมาสร้างใหม่ เนื่องจากในยุคนั้น ขณะที่กระแสหนังแนวบู๊ประเภทประกบดาราและชื่อตัวละครต้องอ่านได้สัมผัสคล้องจองกันกำลังเป็นที่นิยม ทางค่ายก็หยิบเอาหนังเก่าเรื่องราวของนักสู้ 7 คนซึ่งเขียน.อาสนจินดา กลับมาปัดฝุ่นสร้างใหม่อีกครั้ง ในระบบ 35 มม.พากย์เสียงในฟิล์ม.อาสนจินดา มาสร้างและกำกับเองเป็นครั้งที่สอง บทของจ่าดับ จำเปาะ ตกเป็นของ ทักษิณ แจ่มผล แต.อาสนจินดา ยังคงรับหน้าที่กำกับเช่นเคย และที่สำคัญเนื้อหาเรื่องราวในแต่ละภาค มักหยิบนำเอาเรื่องของสถานการณ์ปัจจุบันในยุคสมัยนั้น โดยมี สหมงคลฟิล์ม เป็นผู้จัดจำหน่าย อำนวยการสร้างโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, นิรุตติ์ ศิริจรรยา, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, ทักษิณ แจ่มผล, ลักษณ์ อภิชาติ สร้างกลางปี พ.ศ. 2519 ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายต้อนรับตรุษจีน 11 กุมภาพัน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2520กรุง ศรีวิไลฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทยภาพยนตร์ไทยลักษณ์ อภิชาติสมชาย อาสนจินดาสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐสรพงศ์ ชาตรีสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสายัณห์ จันทรวิบูลย์หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501)ทักษิณ แจ่มผลนิรุตติ์ ศิริจรรยาเก่งกาจ จงใจพระ7 ตุลาคม

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

7 ประจัญบานและพ.ศ. 2520 · พ.ศ. 2520และหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

กรุง ศรีวิไล

กรุง ศรีวิไล มีชื่อจริงว่า กรุงศรีวิไล สุทินเผือก (ชื่อเดิม: นที สุทินเผือก; ชื่อเล่น: เอ๊ด) เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ลูกยอด ชู้ ทอง ตัดเหลี่ยมเพชร ซุปเปอร์ลูกทุ่ง คืนนี้ไม่มีพระจันทร์ มีนัดไว้กับหัวใจ เสาร์ห้า เดียมห์ เพศสัมพันธ์อันตราย แมงดาปีกทอง สาวแรงสูง.

7 ประจัญบานและกรุง ศรีวิไล · กรุง ศรีวิไลและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

ฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย

นข้อมูลภาพยนตร์ไทย (Thai Film Database) เป็นฐานข้อมูลออนไลน์รวบรวมเกี่ยวกับเรื่องราวของ นักแสดง ผู้กำกับ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในวงการภาพยนตร์ไทย เป็นส่วนหนึ่งของมูลนิธิหนังไทย และเว็บไซต์ http://www.thaifilm.com เว็บไซต์ฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย เริ่มเปิดใช้งานตั้งแต่ปี..

7 ประจัญบานและฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย · ฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทยและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

7 ประจัญบานและภาพยนตร์ไทย · ภาพยนตร์ไทยและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณ์ อภิชาติ

ลักษณ์ อภิชาติ (9 ตุลาคม พ.ศ. 2498-26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) อดีตนักแสดงผู้ล่วงลับ มีชื่อจริงว่า ลักษณ์ กุลศิริวุฒิชัย เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

7 ประจัญบานและลักษณ์ อภิชาติ · ลักษณ์ อภิชาติและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

7 ประจัญบานและสมชาย อาสนจินดา · สมชาย อาสนจินดาและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ

มศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ หรือ เสี่ยเจียง ผู้ก่อตั้งบริษัท สหมงคลฟิล์ม จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ในปี พ.ศ. 2545) ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ สุริโยไท และ องค์บาก.

7 ประจัญบานและสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ · สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

7 ประจัญบานและสรพงศ์ ชาตรี · สรพงศ์ ชาตรีและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

7 ประจัญบานและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

สายัณห์ จันทรวิบูลย์

ัณห์ จันทรวิบูลย์ ชื่อเล่น ตุ๋ย เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตนักแสดงที่เคยได้รับฉายาว่า หุ่นทรมานใจสาว สายัณห์เกิดในครอบครัวลิเก ฉะอ้อน เรืองศิลป์ มีพี่น้อง 7 คน เข้าสู่วงการบันเทิงขณะที่กำลังศึกษาต่อที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร ขณะที่กำลังรับบทพระรามในละครเวทีของกรมศิลปากรเรื่องรามเกียรติ์ จากการชักนำของหลานพระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ ยุคล ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมห้องให้มาเป็นพระเอกเรื่อง ละครเร่ ของอัศวินภาพยนตร์ ก้าวสู่วงการบันเทิงโดยการสนับสนุนของหม่อมปริม บุนนาค ต่อด้วยบทพระรองในเรื่อง โทน และมีผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง และยังมีผลงานทางจอแก้วด้วยการแสดงละครทีวีเรื่องแรกในเรื่อง "รอยมลทิน" ของคณะศรีไทยการละคร เรื่องต่อมา "นางพญาม่านจู" และ "หัวหมู่เจน" เมื่อปี..

7 ประจัญบานและสายัณห์ จันทรวิบูลย์ · สายัณห์ จันทรวิบูลย์และหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501)

หนึ่งต่อเจ็ด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 ในระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม., สี เป็นผลงานกำกับของ ส.อาสนจินดา เป็นภาพยนตร์ตอนแรกในภาพยนตร์ชุด หนึ่งต่อเจ็ด โดยเป็นเรื่องราววีรกรรมการกอบกู้ชาติไทย มีตัวละครที่เด่นสุดคือ จ่าดับ จำเปาะ รับบทโดย ส.อาสนจินดา ปรากฏโฉมครั้งแรกในภาพยนตร์เรื่องนี้ ชื่อของ จ่าดับ จำเปาะ, เหมาะ เชิงมวย, ตังกวย แซ่ลี้, อัคคี เมฆยันต์, ดั่น มหิธา, กล้า ตะลุมพุก, จุก เบี้ยวสกุล ก็กลายเป็นวีรบุรุษของคนไทยเฉพาะในภาพยนตร์ หนึ่งต่อเจ็ด สร้างมาจากความเคืองแค้นโรงภาพยนตร์อันเนื่องมาจากภาพยนตร์ตั้งใจสร้างอย่าง พ่อจ๋า (2500) ที่ฉายโรงภาพยนตร์แกรนด์ โดนกลั่นแกล้งที่กำลังทำเงินแต่โดนออกจากโรง ขณะภาพยนตร์อีกเรื่อง สุภาพบุรุษสลึมสลือ (2500) ภาพยนตร์แอ็คชั่นที่ไม่ได้บรรจงสร้างเหมื่อนพ่อจ๋ากลับทำเงิน ต่อมาเจ้าของโรงภาพยนตร์พัฒนากรให้เงินก้อนหนึ่งให้.อาสนจินดา ไปสร้างภาพยนตร์แอ็คชั่นมาเข้าช่วงเทศกาลตรุษจีนในปี พ.ศ. 2501.อาสนจินดาจึงสร้างภาพยนตร์เรื่องหนึ่งต่อเจ็ดในเวลาเพียง 27 วันในการถ่ายทำก่อนฉายในวันตรุษจีนตามเงื่อนไข นำแสดงโดย สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์, วิไลวรรณ วัฒนพานิช, วิภา วัฒนธำรงค์, ศรินทิพย์ ศิริวรรณ, อดุลย์ ดุลยรัตน์,.อาสนจินดา, ทม วิศวชาติ และ สมชาย ตันฑกำเนิด ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501) · หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501)และหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ แจ่มผล

ทักษิณ แจ่มผล หรือ ทิวา แจ่มผล อดีตดาราทั้งดาวดี ดาวร้ายและผู้กำกับชาวไทย เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดภูเก็ต.

7 ประจัญบานและทักษิณ แจ่มผล · ทักษิณ แจ่มผลและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

7 ประจัญบานและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

เก่งกาจ จงใจพระ

ก่งกาจ จงใจพระ เดิมมีชื่อว่า ศรีไพร ใจพระ เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ในอดีตเคยเป็นดาราภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักจัดรายการวิทยุ นักร้องเพลงลูกทุ่ง และผู้จัดการวงดนตรีลูกทุ่ง โดยผลงานการแสดงที่เด่น ๆ ได้แก่ การรับบท ไอ้แว่น เพื่อนรักของ ไอ้คล้าว ในภาพยนตร์เรื่อง มนต์รักลูกทุ่ง ในปี พ.ศ. 2513 โดยแสดงคู่กับมิตร ชัยบัญชา และบุปผา สายชล ที่ต่อมากลายเป็นภรรยาของตนเอง ต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อ และนามสกุล และศึกษาโหราศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก จนกลายเป็นหมอดูชื่อดัง โดยมักจะให้คำทำนายเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองตามสื่อมวลชนเป็นระยะ ๆ โดยเริ่มงานครั้งแรกด้วยการเป็นคอลัมนิสต์โหรการเมืองในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในปี พ.ศ. 2518 เคยเป็นพิธีกรในรายการ "นายมั่ง นายคง คนสองยุค" โดยใช้ชื่อว่า "นายคง" ร่วมกับ "นายมั่น" (ประสาน ศิลป์จารุ) ออกอากาศตอนเวลา 12.30 น. ทางสถานี TTV 2 ชีวิตครอบครัวมีภรรยามาแล้วทั้งหมด 3 คน มีลูกที่เกิดกับภรรยาทั้ง 3 ทั้งหมด 6 คน โดยภรรยาคนปัจจุบันชื่อ มณฑา จงใจพระ ปัจจุบัน ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย จากการเป็นหนี้สินจำนวนมากกับธนาคารกสิกรไทย เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552.

7 ประจัญบานและเก่งกาจ จงใจพระ · หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)และเก่งกาจ จงใจพระ · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

7 ตุลาคมและ7 ประจัญบาน · 7 ตุลาคมและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

7 ประจัญบาน มี 63 ความสัมพันธ์ขณะที่ หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 16.13% = 15 / (63 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 7 ประจัญบานและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »