โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง 23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ

23 ตุลาคม vs. สะพานมหาดไทยอุทิศ

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น. นมหาดไทยอุทิศ สะพานมหาดไทยอุทิศ หรือชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า สะพานร้องไห้ เปิดใช้เป็นทางการเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2457 เป็นสะพานของถนนบริพัตร ในพื้นที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เพื่อข้ามคลองมหานาค ณ จุดบรรจบระหว่างคลองมหานาคกับคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่าง-บางลำพู มาเชื่อมกับถนนดำรงรักษ์และถนนหลานหลวง รวมทั้งถนนราชดำเนิน สะพานมหาดไทยอุทิศตั้งอยู่ใกล้เคียงกับภูเขาทอง วัดสระเกศและป้อมมหากาฬ สร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยร่วมกับข้าราชการของกระทรวงทั่วประเทศร่วมกันบริจาคค่าก่อสร้าง ซึ่งรวมเงินได้ 41,241 บาท 61 สตางค์ มอบให้กรมสุขาภิบาลเป็นผู้สร้าง สิ้นค่าก่อสร้างไปทั้งสิ้น 57,053 บาท 29 สตางค์ ส่วนที่เกินโปรดเกล้าให้กรมสุขาภิบาลออกเงินสมทบ การก่อสร้างสะพานมหาดไทยอุทิศเป็นพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อให้การสัญจรไปมาสะดวกขึ้นเนื่องจากบริเวณนี้เป็นที่รวมของถนนหลายสาย แต่เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามสะพานมหาดไทยอุทิศและโปรดเกล้าให้กรมสุขาภิบาลทำหุ่นจำลองตัวสะพพานไปตั้งถวายตัวในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วย ประติมากรรมนูนต่ำรูปสตรีอุ้มเด็ก หรือแม่อุ้มลูกร้องไห้ สะพานมหาดไทยอุทิศมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปและก่อสร้างตามวิธีสมัยใหม่ กลางราวสะพานด้านขวามีภาพประติมากรรมนูนต่ำเป็นรูปสตรีอุ้มเด็ก ในมือมีช่อดอกซ่อนกลิ่น ด้านซ้ายเป็นรูปผู้ชายยืนจับไหล่ของเด็ก เป็นภาพแสดงถึงความโศรกเศร้าอาลัยรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นที่มาของชื่อ "สะพานร้องไห้" พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเปิดสะพานด้วยพระองค์เองในคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้แล้ว ในปัจจุบัน สะพานมหาดไทยอุทิศยังเป็นสะพานที่เป็นโบราณสถานที่สามารถให้รถวิ่งข้ามได้เพียงแห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร โดยไม่ได้มีการขยายพื้นที่ของสะพานออก จึงยังคงสภาพเดิมตั้งแต่แรกสร้างไว้ได้มากถึงร้อยละ 90.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง 23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ

23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2457พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)คลองมหานาคป้อมมหากาฬ

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

23 ตุลาคมและพ.ศ. 2457 · พ.ศ. 2457และสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

23 ตุลาคมและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

23 ตุลาคมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

23 ตุลาคมและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)และสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมหานาค

ลองมหานาค ช่วงสะพานมหาดไทยอุทิศ คลองมหานาค เป็นคลองขุดสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่แยกมาจากคลองรอบกรุง ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลงสักวากันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วงอานัมสยามยุท.

23 ตุลาคมและคลองมหานาค · คลองมหานาคและสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมมหากาฬ

ป้อมมหากาฬ ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ติดกับถนนมหาไชย แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางด้านหลังมีกำแพงเมืองพระนครหลงเหลืออยู่ ป้อมมหากาฬสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในปี พ.ศ. 2326 เป็นป้อม 1 ใน 14 ป้อมที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อป้องกันรักษาพระนคร มีลักษณะรูปแปดเหลี่ยม มีกำแพงล้อมรอบ 2 ชั้น เป็นป้อมประจำพระนครด้านตะวันออก ปัจจุบันป้อมมหากาฬเป็น 1 ใน 2 ป้อมที่ยังคงเหลืออยู่ในกรุงเทพมหานคร อีกป้อมหนึ่งคือป้อมพระสุเมร ทางกรุงเทพมหานคร และกรมศิลปากรได้บูรณะซ่อมแซมป้อมมหากาฬเมื่อคราวพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 และได้มีการบูรณะเรื่อยมาจนมีสภาพที่เห็นในปัจจุบัน ที่ตั้งด้านหนึ่งของป้อมเป็นที่อยู่ของชุมชนที่มีชื่อเสียงด้านลิเกโบราณ ผู้ที่ศึกษาด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศมักจะมาสำรวจและทำวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมฯ ณ ชุมชนแห่งนี้ โดยมีประวัติการชุมนุมและต่อสู้มายาวนานกว่าสองทศวรรษ ในสมัยรัชกาลที่ 1-4 เป็นบ้านพักขุนนางชั้นสูงหลายท่าน เช่น เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เสนาบดีกรมเวียง (กรมเมือง) ฯลฯ เป็นต้น ภายหลังได้มีการรื้อบ้านที่อยู่ติดกับป้อมมหากาฬ คงเหลือไว้แค่บ้านที่จะอนุรักษ์ต่อไป บริเวณที่ได้มีการรื้อบ้าน จะเป็นสวนสาธารณะต่อไป.

23 ตุลาคมและป้อมมหากาฬ · ป้อมมหากาฬและสะพานมหาดไทยอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง 23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ

23 ตุลาคม มี 98 ความสัมพันธ์ขณะที่ สะพานมหาดไทยอุทิศ มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 4.72% = 6 / (98 + 29)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 23 ตุลาคมและสะพานมหาดไทยอุทิศ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »