โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดับเบิลยูเอเอสพี-18

ดัชนี ดับเบิลยูเอเอสพี-18

ับเบิลยูเอเอสพี-18 (WASP-18) เป็นดาวฤกษ์ที่มีโชติมาตรเท่ากับ 9 ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวนกฟีนิกซ์ทางซีกโลกใต้ มีมวล 1.25 มวลดวงอาทิต.

10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2552กลุ่มดาวนกฟีนิกซ์มวลดวงอาทิตย์รายชื่อดาวเคราะห์นอกระบบดับเบิลยูเอเอสพี-18บีดาวพฤหัสบดีร้อนดาวฤกษ์ดาวเคราะห์นอกระบบซีกโลกใต้เนเจอร์ (วารสาร)

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวนกฟีนิกซ์

กลุ่มดาวนกฟีนิกซ์ เป็นกลุ่มดาวขนาดเล็กในซีกฟ้าใต้ ตั้งชื่อโดยนักเดินเรือชาวดัตช์ ปีเตอร์ ดีร์กโซน ไกเซอร์ และนกฟีนิกซ์ หมวดหมู่:กลุ่มดาวนกฟีนิกซ์ โครงดาราศาสตร์.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และกลุ่มดาวนกฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มวลดวงอาทิตย์

มวลดวงอาทิตย์ เป็นวิธีพื้นฐานในการบรรยายค่ามวลในทางดาราศาสตร์ สำหรับใช้อธิบายถึงมวลดาวฤกษ์หรือมวลดาราจักร มีค่าเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ คือประมาณ 2 โนนิลเลียนกิโลกรัม หรือเท่ากับ 332,950 เท่าของมวลของโลก หรือ 1,048 เท่าของมวลของดาวพฤหัสบดี สัญลักษณ์และค่าพื้นฐานของมวลดวงอาทิตย์แสดงได้ดังนี้ เราสามารถบรรยายมวลดวงอาทิตย์ในรูปของระยะทางเป็นปี คือระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์ (หนึ่งหน่วยดาราศาสตร์ หรือ AU) กับค่าคงที่แรงโน้มถ่วง (G) ได้ดังนี้ จนกระทั่งปัจจุบันยังไม่สามารถบอกตัวเลขที่แท้จริงของหน่วยดาราศาสตร์หรือค่าคงที่แรงโน้มถ่วงได้อย่างถูกต้อง อย่างไรก็ดี การอธิบายถึงมวลสัมพันธ์ของดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะหรือในระบบดาวคู่ด้วยหน่วยของมวลดวงอาทิตย์ มิได้มีความจำเป็นต้องทราบถึงค่าแท้จริงเหล่านั้น ดังนั้นการบรรยายถึงมวลต่างๆ ด้วยหน่วยของมวลดวงอาทิตย์จึงเป็นวิธีที่มีประโยชน์ที.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และมวลดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อดาวเคราะห์นอกระบบ

การจับเวลาพัลซาร.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และรายชื่อดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูเอเอสพี-18บี

ับเบิลยูเอเอสพี-18บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่น่าทึ่งคือมีระยะเวลาการโคจรที่น้อยกว่า 1 วัน มีมวลเท่ากับ 10 มวลดาวพฤหัสบดี เป็นเพียงแค่เส้นเขตแดนระหว่างดาวเคราะห์และดาวแคระน้ำตาลประมาณ 13 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี เนื่องจากการชะลอตัวของน้ำขึ้นน้ำลงคาดว่าจะเป็นเกลียวไปทางและในที่สุดก็รวมกับดาวฤกษ์ของมัน คือ ดับเบิลยูเอเอสพี-18 ในเวลาน้อยกว่าล้านปี ดาวเคราะห์อยู่ห่างจากดาวฤกษ์ของมันประมาณ 3.1 ล้านกิโลเมตร (1.9 ล้านไมล์) และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 325 ปีแสง ค้นพบโดย โคล เฮลเลอร์ ศาสตราจารย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยคีลลี ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และดับเบิลยูเอเอสพี-18บี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดีร้อน

วาดโดยศิลปินแสดงถึงดาวเคราะห์แบบดาวพฤหัสบดีร้อน ดาวพฤหัสบดีร้อน (Hot Jupiters; บ้างก็เรียก oven roasters, epistellar jovians, pegasids หรือ pegasean planets) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบจำพวกหนึ่งที่มีมวลใกล้เคียงหรือมากกว่ามวลดาวพฤหัสบดี (1.9 × 1027 กก.) แต่มีลักษณะอื่นที่ต่างไปจากดาวพฤหัสบดีในระบบสุริยะ เนื่องจากดาวพฤหัสบดีโคจรอยู่ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 5 หน่วยดาราศาสตร์ แต่ดาวเคราะห์นอกระบบที่เรียกดาวพฤหัสบดีร้อนนี้จะโคจรในระยะห่างจากดาวฤกษ์เพียง 0.05 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 1 ใน 8 ของระยะห่างที่ดาวพุธโคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงทำให้ดาวเคราะห์กลุ่มนี้มีอุณหภูมิพื้นผิวสูงมาก.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และดาวพฤหัสบดีร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และดาวเคราะห์นอกระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกใต้

ซีกโลกใต้จากเหนือขั้วโลกใต้ ซีกโลกใต้เป็นครึ่งทรงกลมของโลกที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร มีทั้งหมดหรือบางส่วนของห้าทวีป (แอนตาร์กติกา ออสเตรเลีย ประมาณ 9/10 ของทวีปอเมริกาใต้ 1/3 ทางใต้ของทวีปแอฟริกา และหลายหมู่เกาะทางใต้นอกฝั่งแผ่นดินใหญ่ทวีปเอเชีย) สี่มหาสมุทร (อินเดีย แอตแลนติกใต้ ใต้และแปซิฟิกใต้) และโอเชียเนียส่วนมาก เนื่องจากความเอียงของการหมุนของโลกเทียบกับดวงอาทิตย์และระนาบอุปราคา ฤดูร้อนจึงกินเวลาตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงมีนาคม และฤดูหนาวกินเวลาตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายน วันที่ 22 หรือ 23 กันยายนเป็นวสันตวิษุวัต และวันที่ 20 หรือ 21 มีนาคมเป็นศารทวิษุวัต.

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และซีกโลกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เนเจอร์ (วารสาร)

วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ดับเบิลยูเอเอสพี-18และเนเจอร์ (วารสาร) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

WASP-18

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »