โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยาโกโปแห่งวารัซเซ

ดัชนี ยาโกโปแห่งวารัซเซ

ญราศียาโกโปแห่งวารัซเซ (Jacopo da Varazze; Iacobus a Voragine) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งเจนัว นักบันทึกเหตุการณ์ชาวอิตาลี ผู้ประพันธ์ “ตำนานทอง” ซึ่งเป็นชีวประวัตินักบุญสำคัญ ๆ รวบรวมขึ้นในปี..

13 ความสัมพันธ์: บันทึกเหตุการณ์ชีวประวัตินักบุญพ.ศ. 1773พ.ศ. 1841พ.ศ. 2359การประกาศเป็นบุญราศีสมัยกลางสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7อัครมุขนายกตำนานทองประเทศอิตาลีโรมันคาทอลิกเจนัว

บันทึกเหตุการณ์

ันทึกเหตุการณ์ (Chronicle) คือเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่ระบุข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในอดีตตามลำดับเวลา มีการกล่าวถึงเหตุการณ์สำคัญและเหตุการณ์ในท้องถิ่นเท่า ๆ กันตามทัศนะของผู้บันทึก จึงต่างจากประวัติศาสตร์และเรื่องเล่าที่เลือกกล่าวถึงเฉพาะบางเหตุการณ์และไม่เน้นตัวผู้เขียนหรือผู้แต่งเรื่อง ผู้บันทึกเหตุการณ์อาจได้รับข้อมูลมาหลากหลายแบบ ทั้งประสบมาด้วยตนเอง มีผู้อยู่ในเหตุการณ์มาเล่าให้ฟัง หรือแม้แต่ได้ฟังจากที่เล่าต่อ ๆ กันมาElisabeth M. C. Van Houts, Memory and Gender in Medieval Europe: 900-1200 (Toronto; Buffalo: University of Toronto Press, 1999), pp.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและบันทึกเหตุการณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวประวัตินักบุญ

นักบุญเซบาสเตียนโดยโจวันนี เบลลีนี ชีวประวัตินักบุญ (Hagiography) คือวรรณกรรมเกี่ยวกับประวัติชีวิตนักบุญหรือผู้นำคริสตจักร ส่วนคำว่า “hagiology” หมายถึง วิชาว่าด้วยชีวประวัตินักบุญ ชีวประวัตินักบุญในศาสนาคริสต์เน้นประวัติชีวิตและการอัศจรรย์ของผู้ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก แองกลิคันคอมมิวเนียน อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ ในศาสนาอื่น ๆ อาจมีวรรณกรรมในลักษณะเดียวกัน โดยรวบรวมชีวประวัติของผู้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนานั้น ๆ เช่น คัมภีร์อปทานในสุตตันตปิฎก.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและชีวประวัตินักบุญ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1773

ทธศักราช 1773 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและพ.ศ. 1773 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1841

ทธศักราช 1841 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและพ.ศ. 1841 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศเป็นบุญราศี

็ดบุญราศีมรณสักขีแห่งสองคอน เป็นคริสต์ศาสนิกชนชาวไทยกลุ่มแรกที่ได้รับการประกาศเป็นบุญราศี การประกาศเป็นบุญราศี (Beatification) คือกระบวนการที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกกำหนดขึ้นเพื่อรับรองว่าบุคคลหนึ่งได้เข้าสู่สวรรค์และสามารถวอนขอพรจากพระเป็นเจ้าแทนมนุษย์บนโลกได้ กระบวนการนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สี่ของการประกาศเป็นนักบุญ.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและการประกาศเป็นบุญราศี · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 (Pius VII) มีพระนามเดิมว่า บาร์นาบา นิกโกเลาะ มาเรีย ลุยจี กีอารามอนตี (Barnaba Niccolò Maria Luigi Chiaramonti)ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2343 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2366 พระองค์เป็นนักพรตคณะเบเนดิกติน ทรงเชี่ยวชาญด้านเทววิทยา และเคยดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งตีโวลีและบิชอปแห่งอีโมลา ในปี..

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

อัครมุขนายก

2553. อาร์ชบิชอป (Archbishop) หรืออัครมุขนายก ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายกกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป “อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล” “อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz).

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและอัครมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานทอง

''Legenda Aurea'', 1290 circa, Biblioteca Medicea Laurenziana, Florence ภาพนักบุญจอร์จ ฆ่ามังกรเป็นเรื่องหนึ่งที่รวบรวมในตำนานทอง ภาพนักบุญคริสโตเฟอร์แบกพระเยซูข้ามแม่น้ำ โดยคอนราด วิทซ-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง นักบุญมาร์กาเร็ตแห่งอันติโอก ดึงดูดความสนใจนายทหารโรมัน โดย ฌอง โฟเคท์ (Jean Fouquet) จากหนังสือวิจิตร (Illuminated manuscript) “การพลีชีพของนักบุญไพรมัส และนักบุญเฟลิซิอานัส” จากตำนานทองของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาพนักบุญแอนดรูว์ผู้ที่ถูกตรึงกางเขนบนกางเขนเอ็กซ์-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง ตำนานทอง (Legenda Aurea) เป็นตำนานชีวิตนักบุญที่รวบรวมราวปี..

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและตำนานทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

เจนัว

นัว (Genoa) หรือ เจโนวา (Genova) เป็นเมืองและเมืองท่าทางทะเลที่สำคัญทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดเจนัวและแคว้นลีกูเรีย เมืองมีความหนาแน่นประชากรราว 610,000 คน และบริเวณเมืองมีความหนาแน่นประชากรราว 900,000 คน นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า Superba ("the Superb one") อันเนื่องมาจากความรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: ยาโกโปแห่งวารัซเซและเจนัว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jacobus de VoragineVoragineจาโคบัส เด โวราจิเน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »