โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องเซแตเมอาโกซ

ดัชนี องเซแตเมอาโกซ

"องเซแตเมอาโกซ" (On s'est aimé à cause, "เราเคยรักกันเพราะเหตุว่า") เป็นซิงเกิลที่ 4 ของเซลีน ดิออน จากอัลบัม แดล ได้รับการเผยแพร่ทางนีวิทยุเป็นครั้งแรกในประเทศแคนาดา รัฐควิเบก เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เซลีน ดิออน แสดงเพลง "องเซแอมเมอาโกซ" ในรายการ Quebecer TVA TV special (2550) เนื้อเพลงประพันธ์โดยฟรองซวส โดแรง ส่วนทำนองโดย มาร์ก ดูเปร และมี ชอง-ฟรองซัว โบร เป็นผู้อำนวยเพลงนี้ ทั้งนี้ ฟรองซังยังเป็นผู้ประพันธ์เพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" กับทั้งเซลีนยังเคยร่วมงานกับผู้ประพันธ์ทำนองและผู้อำนวยเพลงทั้งสองในเพลง "ปลือโอเกอมัว (Plus haut que moi)" เมื่อ พ.ศ. 2536 และเพลง "ตูแปรดูบอเนอร์" ใน พ.ศ. 2548 อีกด้วย ไม่มีมิวสิกวิดีโอองเซแตเมอาโกซ ทั้งนี้ เพลงองเซแตเมอาโกซยังมีฉบับหนึ่งซึ่งบันทึกเสียงในภายหลัง เรียก เพลง "อาโกซ" ซึ่งมีทำนองเร็ว เพลงองเซแตเมอาโกซสขึ้นสู่อันดับสูงสุดที่ 5 ในชาร์ทควิเบกแอร์เพลเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2536พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550มิวสิกวิดีโอรัฐควิเบกสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์อีพิกเรเคิดส์ตูแปรดูบอเนอร์ซิงเกิลประเทศแคนาดาป็อปแดลโคลัมเบียเรเคิดส์เลอต็องกีกงเอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)เทกกิงแชนเซส (เพลง)เซลีน ดิออน15 ตุลาคม20 สิงหาคม

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐควิเบก

วิเบก (Québec, Quebec) หรือ เกแบ็ก (Québec) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดาอยู่ทางตะวันออกของประเทศ และเป็นรัฐเดียวที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในระดับรัฐ แต่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทน รัฐควิเบกมีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือควิเบก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมอนทรีออล.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและรัฐควิเบก · ดูเพิ่มเติม »

สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์

ื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ (promotional recording, promo (โปรโมชั่นซิงเกิล) คือซิงเกิลที่ออกเผยแพร่ อาจเป็นรูปแบบเสียงหรือวีดิทัศน์ โดยส่วนมากจะใช้กันในสถานีวิทยุหรือสถานีโทรทัศน์เท่านั้น สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์จะถูกส่งโดยตรงไปยังผู้ออกอากาศ เช่น สถานีวิทยุเพลง สถานีโทรทัศน์ หรือนักจัดรายการวิทยุและนักข่าวฝ่ายเพลง ก่อนการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ของอัลบัมใหม่โดยตั้งใจให้สื่อต่าง ๆ ออกอากาศ วิจารณ์ หรือเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจของสาธารณชนในการเปิดตัวในเชิงพาณิชย์ต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายเท่านั้น ไม่ใช่สำหรับการขาย นอกจากนี้ยังอาจระบุว่า สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์สามารถกลับไปจำหน่ายต่อแล้วแต่ความต้องการของบริษัท ซึ่งเป็นที่สนใจของนักสะสมแผ่นเพลงเป็นอย่างยิ่ง โดยมีเพียง 1–2 เพลง หรือในบางประเทศอาจรวมรีมิกซ์หลายแบบของซิงเกิลนั้น ๆ ไว้ในแผ่นเดียว นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมีการส่งเสริมรูปแบบใหม่บนร้านค้าออนไลน์ซึ่งมีการนับถอยหลังก่อนการวางจำหน่ายอัลบัมใหม่ โดยไอทูนส์และร้านค้าออนไลน์เพลงอื่น ๆ จะมีการจำหน่ายตัวอย่างเพลงจากในอัลบัมใหม่ออกมาให้ลองฟัง ตัวอย่างเช่น หนึ่งสัปดาห์ก่อนวางจำหน่ายอัลบัมจริง ซึ่งเพลงบางส่วนที่ออกวางจำหน่ายก่อนส่วนใหญ่จะเรียกว่า "สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์".

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีพิกเรเคิดส์

อีพิกเรเคิดส์ คือบริษัทบันทึกเสียงในเครือโซนี่ บีเอ็มจี ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและอีพิกเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตูแปรดูบอเนอร์

"ตูแปรดูบอเนอร์" (Tout près du bonheur, "ความสุขเพียงเอื้อมมือ") คือเพลงจากการร้องคู่กันระหว่าง เซลีน ดิออน และ มาร์ก ดูเปร วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2549 ในรัฐควิเบก, ประเทศแคนาดา เป็นซิงเกิลที่ 4 ของ มาร์ก จากอัลบั้ม Refaire le monde.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและตูแปรดูบอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิล

ทกกิงแชนเซส ของเซลีน ดิออน แบบซีดีซิงเกิล ซิงเกิล (Single นิยมอ่านว่า ซิงเกิล) ในทางดนตรีคือการบันทึกอย่างสั้นอย่างน้อย 1 เพลง ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและซิงเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

แดล

แดล (D'elles) คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน ที่ออกจำหน่ายในช่วงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ในบางประเทศในยุโรปที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส แคนาดา และญี่ปุ่น รูปแบบการจำหน่ายประกอบไปด้วยรูปแบบซีดีธรรมดา, รูปแบบดิจิแพ็ก และรูปแบบกล่องนักสะสม นับเป็นอัลบั้มชุดที่ 34 ของเซลีน และเป็นอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสลำดับที่ 23 แดล สร้างสรรค์ขึ้นบนแนวคิดเชิดชูความเป็นอิตสรี โดยมีนักแต่งเพลงภาษาฝรั่งเศสทั้งชาวแคนาดาเชื้อสาวฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสเองร่วมกันประพันธ์เพลงในอัลบั้มกว่า 10 คน เริ่มบันทึกเสียงตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 เสร็จสิ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ พิกโคโลสตูดิโอส์ (Piccolo Studios) ในมอนทรีออลและมหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้เพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" เป็นซิงเกิลในการประชาสัมพันธ์ยอดขายอัลบั้มเป็นซิงเกิลแรก เริ่มจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2550 และมีการเผยแพร่เพลงอื่นๆ ในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป เซลีนประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการบันทึกเทปรายการพิเศษ 2 รายการในฝรั่งเศสและแคนาดา โดยมีการนำเทปบันทึกรายการพิเศษดังกล่าวออกอากาศทางช่อง TF1 และ TVA ในฝรั่งเศสและแคนาดาตามลำดับ และออกอากาศในเมืองมอนทรีออลเมื่อวันที่ 11 - 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและแดล · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบียเรเคิดส์

โคลัมเบียเรเคิดส์ เป็นเครื่องหมายการค้าในการบันทึกเสียง (ค่ายเพลง) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลือในปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและโคลัมเบียเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เลอต็องกีกง

"เลอต็องกีกงต์" (Le temps qui compte, "เวลาอันสำคัญ") เป็นซิงเกิลแรกและซิงเกิลเดียวจากอัลบัม แดลของเซลีน ดิออน ที่เผยแพร่เพื่อสนับสนุนอัลบัมในประเทศโปแลนด์ โดยมีการเผยแพร่ทางวิทยุเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 "เลอต็องกีกง" เป็นผลงานการประพันธ์ของมารี ลาแบช และเรียบเรียงทำนองโดยชาก เวอเนอรูโซ ทั้งนี้ เซลีนทำงานร่วมกับชากส์ในเพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม ", "กงตร์นาตูร์ ", "เชอเนอวูอูบลีปา", "ตูเลเซอเกร" และ "อิมมองซีเต" เพลงเลอต็องกีกงขึ้นสู่อันดับที่ 9 ในชาร์ต Polish RMF FM เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและเลอต็องกีกง · ดูเพิ่มเติม »

เอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)

อซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา) (Et s'il n'en restait qu'une (je serais celle-là), "และหากต้องเหลือผู้หญิงอยู่เพียงคนเดียว (ฉันจะเป็นผู้หญิงคนนั้น)") เป็นซิงเกิลแรกจากอัลบัมภาษาฝรั่งเศส แดล (และเป็นซิงเกิลเดียวที่ออกจำหน่ายทางการค้า) อันได้รับการแผยแพร่ทางวิทยุในประเทศฝรั่งเศส, แคนาดา, สวิตเซอร์แลนด์ และเบลเยียมเป็นครั้งแรกในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 และออกจำหน่ายด้วยการให้ดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตในวันเดียวกันข้างต้น ส่วนรูปแบบซีดีการค้านั้นออกจำหน่ายในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2550 ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส มิวสิกวิดีโอเพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน" (ปี พ.ศ. 2550) "เอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)" เป็นผลงานการประพันธ์คำร้องของฟรองซวส โดแรง และเรียบเรียงดนตรีโดย ดาวิด กาเตอโญ สำหรับฟรองซวส โดแรงนั้นเป็นนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ผลงานเลื่องชื่อได้แก่ นิยายเรื่อง "วีชีนีเอโปล (Virginie et Paul)", "ลาเซอกงด์ดองโรม (La seconde dans Rome)", "เลลีซาอวีนปลาซ เลชูปกูลอต (Les lits à une place, les jupes culotte) และ "เลกอร์โบเอเรอนาร์ด (Les corbeaux et les renardes)" ส่วนผลงานประเภทอื่น ๆ ได้แก่ ละครเรื่อง "ลาฟักตูร์ (La facture)", "เอิงซาเลโกอีสต์ แลงตอกซ์ (Un sale egoiste, l'intoxe)" และเพลงขบขันอย่าง "ลาวาลีสอองการ์ตง (La valise en carton)" มิวสิกวิดีโอเพลงนี้อำนวยการสร้างโดยเทียร์รี วาร์กเนส (Thierry Vargnes) ถ่ายทำที่ในนครนิวยอร์กเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2550 และเผยแพร่เป็นครั้งแรกในโทรทัศน์ของแคนาดา ช่องทีวีเอ (TVA) เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2550 เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับ 1 ชาร์ตซิงเกิลฝรั่งเศส และเป็นซิงเกิลที่ 5 ของเซลีน ดิออนที่ขึ้นอันดับ 1 ในประเทศดังกล่าว (60,000 แผ่น) และขึ้นสู่อันดับที่ 2 ในควิเบก อันดับที่ 4 ในเบลเยียม อันดับ 7 ในยุโรป และอันดับ 34 ในสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและเอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา) · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซส (เพลง)

"เทกกิงแชนเซส" (Taking Chances) เป็นผลงานการประพันธ์ของคารา ดิโอกัวร์ดิ และ เดวิด สจวต บันทึกเสียงครั้งแรกโดยวงพลาตตินัมเวียรด์ และออกจำหน่ายในูปแบบซิงเกิลอิสระในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ในปลายปีเดียวกันเซลีน ดิออน ได้นำบทเพลงดังกล่าวมาขับร้องใหม่อีกครั้ง และออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลแรกของเธอจากอัลบั้ม เทกกิงแชนเซส ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ในประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศแรก ในฉบับของเซลีน ดิออน "เทกกิงแชนเซส" มียอดจำหน่ายซิงเกิลผ่านระบบดิจิตอลถึงวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและเทกกิงแชนเซส (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเซแตเมอาโกซและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

On s'est aimé à causeองเซแอมเมอาโกสองเซแตเมอาโกสองเซเตเมอาโกส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »