โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา

ดัชนี ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

44 ความสัมพันธ์: บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกระจกตาการอักเสบการตกเลือดใต้เยื่อตาการปรับตาดูใกล้ไกลการเห็นภาพซ้อนการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตากุ้งยิงยารูม่านตาขยายลานสายตาสายตาสั้นสายตาเอียงส่วนแผ่ประสาทตาหลอดเลือดหนังตาตกอาการอาการน้ำตาไหลรินอาการแสดงองค์การอนามัยโลกจอตาจอตาลอกขอบตาม้วนเข้าตาตาบอดตาบอดสีตามัวตาหวำตาโปนตาเหล่ต่อมน้ำตาอักเสบต้อกระจกต้อหินต้อเนื้อปรสิตโรคโรคจอตามีสารสีโรคติดเชื้อเยื่อตาเยื่อตาอักเสบเริมเส้นประสาทตาเปลือกสมองส่วนการเห็นICD-10

บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems มีชื่อย่อว่า ICD) เป็นรายละเอียดของโรคและการบาดเจ็บต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแผ่โดย องค์การอนามัยโลก และใช้ข้อมูลเป็นสถิติพยาธิภาวะและอัตราตาย จากทั่วโลก มีการแก้ไขปรับปรุงเป็นช่วง ๆ ปัจจุบันได้ทำการจัดพิมพ์ครั้งที่ 11 แล้ว โรคหรือกลุ่มของโรคที่มีความสัมพันธ์กันจะอธิบายด้วยการวินิจฉัยและมีรหัสกำหนดให้เป็นการเฉพาะตั้งแต่ 4-6 หลัก โดยหลักแรกในหมวดที่ 1-9 จะใช้ตัวเลข 1-9 เมื่อเข้าสู่หมวดที่ 10-26 จะใช้เป็นอักษร A-S นอกจากนี้ หมวด V คือSupplementary section for functioning assessment และหมวด X คือ External Cause แล้วจากนั้นจะแยกออกเป็นหมวดหมู่ในหลักถัดไป.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง · ดูเพิ่มเติม »

กระจกตา

กระจกตา เป็นส่วนโปร่งใสด้านหน้าของตาซึ่งคลุมอยู่หน้าม่านตา, รูม่านตา, และห้องหน้า (anterior chamber) กระจกตาทำหน้าที่หักเหแสงร่วมกับเลนส์ตา (lens) และช่วยในการโฟกัสภาพ โดยกระจกตามีส่วนเกี่ยวกับกำลังการรวมแสง (optical power) ของตาถึง 80%Cassin, B. and Solomon, S. Dictionary of Eye Terminology.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและกระจกตา · ดูเพิ่มเติม »

การอักเสบ

ฝีบนผิวหนัง แสดงลักษณะแดงและบวม ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของการอักเสบ (หรืออาจเป็นสีดำมากยิ่งขึ้นในกลุ่มคนผิวเข้ม) วงแหวนของเนื้อเยื่อเซลล์ที่ตายล้อมรอบพื้นที่ที่มีหนอง การอักเสบ (Inflammation) เป็นการตอบสนองทางชีวภาพที่ซับซ้อนของเนื้อเยื่อหลอดเลือดต่อสิ่งกระตุ้นที่เป็นอันตราย เช่นเชื้อโรค เซลล์ที่เสื่อมสภาพ หรือการระคายเคือง ซึ่งเป็นความพยายามของสิ่งมีชีวิตที่จะนำสิ่งกระตุ้นดังกล่าวออกไปและซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่ถูกทำลาย การอักเสบไม่ใช่อาการของการติดเชื้อ แม้ว่าการอักเสบหลายๆ ครั้งก็เกิดขึ้นจากการติดเชื้อ เพราะว่าการติดเชื้อนั้นเกิดจากจุลชีพก่อโรคภายนอกร่างกาย แต่การอักเสบคือการตอบสนองของร่างกายเพื่อต่อต้านจุลชีพก่อโรคหรือต่อปัจจัยอื่นๆ เช่น การบาดเจ็บ สารเคมี สิ่งแปลกปลอม หรือภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง หากไม่มีการอักเสบเกิดขึ้น เชื้อโรคจะไม่ถูกกำจัดออกไปและแผลจะไม่ถูกรักษาให้หาย ซึ่งอาจเกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อมากขึ้นจนอันตรายถึงชีวิตได้ แต่ทั้งนี้อาการอักเสบที่มีมากเกินไปก็สามารถเกิดโรคต่างๆ ได้ เช่นไข้ละอองฟาง โรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง และข้ออักเสบรูมาทอยด์ ด้วยเหตุผลนี้เอง ร่างกายจึงต้องมีกระบวนการควบคุมการอักเสบอย่างใกล้ชิด การอักเสบอาจถูกแบ่งออกเป็นแบบ เฉียบพลัน หรือ เรื้อรัง การอักเสบเฉียบพลัน (acute inflammation) เป็นการต่อต้านวัตถุอันตรายของร่ายกายในระยะเริ่มแรก โดยเกิดการเคลื่อนที่ของพลาสมาและเม็ดเลือดขาวจากเลือดไปยังเนื้อเยื่อที่อักเสบ กระบวนการทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นเป็นขั้นเป็นตอนนี้เองที่ทำให้เกิดการอักเสบ ซึ่งต้องอาศัยส่วนร่วมของระบบไหลเวียนโลหิต ระบบภูมิคุ้มกัน และเซลล์ต่างๆ ในเนื้อเยื่อที่เสียหาย การอักเสบเรื้อรัง (chronic inflammation) นำไปสู่การเปลี่ยนชนิดของเซลล์ที่นำเสนอในบริเวณอักเสบ และมีลักษณะพิเศษของการทำลายที่เกิดขึ้นพร้อมกับการรักษาเนื้อเยื่อจากกระบวนการอัก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและการอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

การตกเลือดใต้เยื่อตา

การตกเลือดใต้เยื่อตา (subconjunctival hemorrhage, subconjunctival haemorrhage, hyposphagma) เยื่อตามีหลอดเลือดขนาดเล็กเปราะบางจำนวนมากซึ่งแตกง่าย เมื่อหลอดเลือดนี้แตก เลือดจะไหลสู่ช่องระหว่างเยื่อตาและส่วนตาขาว การตกเลือดใต้เยื่อตาอาจเกิดจากการไอจามเฉียบพลันหรือรุนแรง หรือเกิดจากความดันโลหิตสูง หรือเป็นผลข้างเคียงจากสารกันเลือดเป็นลิ่ม นอกจากนี้อาจเกิดจากการยกของหนัก อาเจียนหรือการถูตาแรงเกิน ในกรณีอื่น อาจเกิดจากการถูกบีบคอหรือการเบ่งเนื่องจากท้องผูก และยังอาจเป็นผลจากภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดเล็กน้อยในการผ่าตัดตา เช่น เลสิก ขณะที่รอยฟกช้ำตรงแบบมีสีดำ ๆ หรือเขียวคล้ำใต้ผิวหนัง การตกเลือดใต้เยื่อตาทีแรกปรากฏเป็นสีแดงสดใต้เยื่อตาที่โปร่งใส ต่อมา การตกเลือดอาจลุกลามและกลายเป็นสีเขียวหรือเหลืองคล้ายรอยฟกช้ำ โดยทั่วไปหายเองใน 2 สัปดาห์ แม้ดูภายนอกแล้วอาจน่าตกใจ แต่โดยทั่วไปการตกเลือดใต้เยื่อตาไม่เจ็บและเป็นภาวะที่ไม่มีอันตราย ทว่า มันอาจสัมพันธ์กับความดันโลหิตสูง การบาดเจ็บต่อตาหรือฐานกะโลหกแตกหากไม่เห็นขอบล่างของการตกเลือ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและการตกเลือดใต้เยื่อตา · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตาดูใกล้ไกล

การปรับตาดูไกลและใกล้ '''Lens'''.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและการปรับตาดูใกล้ไกล · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นภาพซ้อน

การเห็นภาพซ้อน หรือ การเห็นซ้อนสอง (Diplopia, double vision) เป็นการเห็นภาพสองภาพของวัตถุเดียวกัน ที่อาจซ้อนกันตามแนวนอน แนวตั้ง แนวเฉียง หรือแนวหมุน และปกติเป็นผลของความพิการของกล้ามเนื้อตา (extraocular muscles, EOMs) คือตาทั้งสองทำงานได้ดีแต่ไม่สามารถหันไปที่เป้าหมายได้อย่างถูกต้อง โดยกล้ามเนื้อตาอาจมีปัญหาทางกายภาพ มีโรคที่แผ่นเชื่อมประสาทสั่งการและกล้ามเนื้อ (neuromuscular junction) มีโรคที่เส้นประสาทสมอง (เส้น 3, 4, และ 6) ที่สั่งการกล้ามเนื้อ และเป็นบางครั้ง มีปัญหาเกี่ยวกับวิถีประสาท supranuclear oculomotor หรือการบริโภคสิ่งที่เป็นพิษ การเห็นภาพซ้อนอาจเป็นอาการปรากฏแรก ๆ ของโรคทั่วร่างกาย โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและประสาท และอาจทำการทรงตัวของร่างกาย การเคลื่อนไหว และการอ่านหนังสือ ให้พิการ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและการเห็นภาพซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา

quote.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งยิง

กุ้งยิง (stye หรือ hordeolum) คือการอักเสบของต่อมไขมันบริเวณฐานของขนตา (ใต้เปลือกตา) โดยมีอาการบวม แดง ร้อน และอาจมีอาการปวด แต่ไม่เป็นอันตรายต่อนัยน์ตา รักษาได้ด้วยยาหยอดตาหรือยาป้ายตา หรือรับประทานยาปฏิชีวน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและกุ้งยิง · ดูเพิ่มเติม »

ยา

thumb ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและยา · ดูเพิ่มเติม »

รูม่านตาขยาย

รูม่านตาขยาย หรือ ม่านตาขยาย (mydriasis) คือภาวะซึ่งมีการขยายของรูม่านตา ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic) แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้ สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่ตาให้เหมาะสมกับการมองเห็น และไม่เป็นอันตรายต่อจอตา ในภาวะม่านตาขยายนี้ รูม่านตาจะขยาย แต่ม่านตาจะห.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและรูม่านตาขยาย · ดูเพิ่มเติม »

ลานสายตา

ำว่า ลานสายตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" (visual field) มักใช้เป็นคำไวพจน์ของคำว่า ขอบเขตภาพ (field of view) แม้ว่าบททั้งสองจริง ๆ มีความหมายไม่เหมือนกัน คือ ลานสายตามีความหมายว่า "ความรู้สึกทางตาเป็นแถวตามลำดับพื้นที่ที่สามารถสังเกตการณ์ได้ในการทดลองทางจิตวิทยาด้วยการพินิจภายใน (โดยบุคคลนั้น)" ในขณะที่คำว่า ขอบเขตภาพ "หมายถึงวัตถุทางกายภาพและต้นกำเนิดแสงในโลกภายนอกที่เข้ามากระทบกับจอตา" กล่าวโดยอีกนัยหนึ่งก็คือ ขอบเขตภาพก็คือสิ่งที่เป็นต้นกำเนิดของแสงที่มากระทบกับจอตา ซึ่งเป็นข้อมูลเข้าของระบบสายตาในสมอง เป็นระบบที่แปลผลเป็นลานสายตาเป็นข้อมูลออก ลานสายตานั้นมีด้านซ้ายขวาบนล่างที่ไม่สมดุลกัน ระดับความชัดก็ไม่เสมอกัน คือมีการเห็นได้ชัดที่สุดที่กลางลานสายตา บทนี้มักใช้บ่อย ๆ ในการวัดสายตา (optometry) และในจักษุวิทยา ที่มีการตรวจลานสายตาเพื่อกำหนดว่า มีความเสียหายจากโรคที่เป็นเหตุแก่ดวงมืดในลานเห็น (scotoma) หรือจากการสูญเสียการเห็น หรือจากการลดระดับความไวในการเห็น หรือไม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและลานสายตา · ดูเพิ่มเติม »

สายตาสั้น

ตาสั้น (myopia, near-sightedness, short-sightedness) เป็นภาวะของตาซึ่งแสงที่เข้ามาไม่ตกบนจอตาโดยตรง แต่ตกหน้ากว่า ทำให้ภาพที่บุคคลเห็นเมื่อมองวัตถุไกลอยู่นอกจุดรวม แต่ในจุดรวมเมื่อมองวัตถุใกล้ วิชาชีพการดูแลตาแก้ไขสายตาสั้นด้วยการใช้เลนส์บำบัดมากที่สุด เช่น แว่นตาหรือเลนส์สัมผัส นอกจากนี้ ยังอาจแก้ไขได้โดยศัลยกรรมหักเหแสง แม้มีกรณีผลข้างเคียงที่สัมพันธ์ เลนส์บำบัดมีกำลังสายตาเป็นลบ (คือ มีผลเว้าสุทธิ) ซึ่งชดเชยไดออพเตอร์ (diopter) บวกเกินของตาที่สั้น โดยทั่วไปไดออพเตอร์ลบใช้อธิบายความรุนแรงของสายตาสั้น และเป็นค่าของเลนส์เพื่อแก้ไขตา สายตาสั้นขั้นสูงหรือสายตาสั้นรุนแรงนิยามโดย -6 ไดออพเตอร์หรือเลวกว่านั้น ตรงข้ามกับสายตาสั้น คือ สายตายาว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและสายตาสั้น · ดูเพิ่มเติม »

สายตาเอียง

ตาเอียง (Astigmatism) เป็นอาการทางสายตาชนิดหนึ่ง ผู้ที่มีสายตาเอียงจะมองเห็นภาพในสองแนวแกนชัดไม่เท่ากัน โดยจะมีแนวแกนหนึ่งชัดกว่าอีกแนวแกนหนึ่งที่ตั้งฉากกันเสมอ ยกตัวอย่างเช่น มองเห็นเส้นแนวนอนชัด แต่มองเห็นเส้นแนวตั้งไม่ชัด สายตาเอียง แตกต่างจากสายตาสั้น หรือสายตายาว อธิบายวิธีสังเกตง่าย ๆ คือ ผู้ที่มีสายตาสั้น หรือสายตายาว จะมองเห็นตัวเลข ตัวอักษร ชัดเท่าๆกันทุกตัว หรือมัวเท่าๆกันทุกตัว แต่ผู้ที่มีสายตาเอียง จะมองเห็นตัวเลข หรือตัวอักษรบางตัวชัด บางตัวไม่ชัด เช่น เห็นเลข 1 ชัดเจนแม้ตัวเลขจะมีขนาดเล็กมาก แต่ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างเลข 3, 5, 8, 9 ได้ แม้ตัวเลขจะมีขนาดใหญ่กว่าก็ตาม ในบางกรณี ผู้ที่มีสายตาเอียง หากไม่แก้ไข นอกจากมองเห็นไม่ชัดเจนแล้ว อาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะได้ง่าย เลนส์แว่นตาสำหรับแก้ไขสายตาเอียงในปัจจุบัน ได้รับการพัฒนาจากแบบ Semi-Finished Toric เป็น Free Form Atoric และล่าสุด Individual Free Form Atoric ที่ดีที่สุดในขณะนี้ เลนส์แว่นตาสำหรับแก้ไขสายตาเอียงในปัจจุบัน มีให้เลือกใช้ตั้งแต่ระดับราคาคู่ละไม่กี่ร้อยบาท ไปจนถึงระดับราคาคู่ละหลายหมื่นบาท การตรวจวัดสายตาเอียง มีขั้นตอนยุ่งยากและซับซ้อนกว่าการตรวจวัดสายตาสั้น หรือสายตายาว และจะยิ่งซับซ้อนมากขึ้น กรณีที่มีสายตายาวและสายตาเอียง ในสัดส่วนสายตาเอียงลบ เป็นสองเท่าของสายตายาว ที่เรียกว่าสายตาเอียงชนิด Complete Mix Astigmatism ผู้ที่มีสายตาเอียง ไม่ควรใช้เลนส์แว่นตาคุณภาพต่ำ เพราะจะทำให้ใส่ไม่สบาย โดยเฉพาะเมื่อเหลือบมองภาพด้านข้าง ก่อนซื้อควรสอบถามเงื่อนไขการรับประกันคุณภาพให้ชัดเจน กรณีที่สายตาเอียงเกินกว่า - 2.00D ควรพิจารณาเลือกใช้เลนส์แว่นตาคุณภาพสูงเทคโนโลยี Individual Free Form Atoric.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและสายตาเอียง · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนแผ่ประสาทตา

วนแผ่ประสาทตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" (optic radiation, geniculo-calcarine tract, geniculostriate pathway, radiatio optica) เป็นกลุ่มแอกซอน (ลำเส้นใยประสาท, วิถีประสาท) ของนิวรอนรีเลย์ใน lateral geniculate nucleus ซึ่งเป็นส่วนของทาลามัส ที่ส่งข้อมูลการเห็นไปยังคอร์เทกซ์สายตา (ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคอร์เทกซ์ลาย) ไปตาม calcarine fissure แต่ละข้างของซีกสมองในมนุษย์จะมีวิถีประสาทเช่นนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและส่วนแผ่ประสาทตา · ดูเพิ่มเติม »

หลอดเลือด

ระบบหลอดเลือดแดง หลอดเลือด (Blood vessel) เป็นส่วนของระบบไหลเวียนโลหิต ทำหน้าที่ในการขนส่งเลือดไปยังส่วนต่างๆ ในร่างกาย แบ่งออกเป็น3 ประเภท ได้แก่ หลอดเลือดแดง (artery) ทำหน้าที่ขนส่งเลือดออกจากหัวใจ และหลอดเลือดดำ (vein) ซึ่งขนส่งเลือดเข้าสู่หัวใจและหลอดเลือดฝอย (capillary).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและหลอดเลือด · ดูเพิ่มเติม »

หนังตาตก

หนังตาตก (ptosis, โทซิส) เป็นการห้อยหรือตกของหนังตาบนหรือล่าง การห้อยอาจเลวลงหลังตื่นนาน คือ เมื่อกล้ามเนื้อของบุคคลล้า บ้างเรียกสภาพนี้ว่า "ตาขี้เกียจ" แต่ปกติคำนี้หมายถึง ตามัว หากหนังตาตกรุนแรงพอและปล่อยไว้ไม่รักษา หนังตาที่ห้อยสามารถก่อสภาพอื่นได้ เช่น ตามัวหรือสายตาพร่าต่างแนว จึงเป็นเหตุสำคัญเป็นพิเศษสำหรับความผิดปกตินี้ที่ต้องรักษาเด็กตั้งแต่อายุยังน้อยก่อนจะขัดขวางพัฒนาการการมองเห็น หมวดหมู่:ความผิดปกติแต่กำเนิดของตา หมวดหมู่:ความผิดปกติของหนังตา ระบบน้ำตาและเบ้าตา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและหนังตาตก · ดูเพิ่มเติม »

อาการ

ในทางการแพทย์ อาการ มีความหมายสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพใจดังนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและอาการ · ดูเพิ่มเติม »

อาการน้ำตาไหลริน

อาการน้ำตาไหลริน (epiphora) เป็นการไหลล้นของน้ำตามาบนใบหน้า อาการแสดงหรือสภาพทางคลินิกประกอบด้วยมีการระบายฟิล์มน้ำตาจากตาไม่เพียงพอ โดยน้ำตาจะระบายลงตามใบหน้าแทนที่จะผ่านระบบท่อน้ำต.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและอาการน้ำตาไหลริน · ดูเพิ่มเติม »

อาการแสดง

อาการแสดง (Medical sign) เป็นสิ่งบ่งชี้ที่สังเกตเห็นได้โดยปราศจากอคติ (objectivity) หรือลักษณะที่สามารถตรวจพบได้โดยแพทย์ระหว่างการตรวจร่างกายผู้ป่วย อาการแสดงอาจเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยตรวจไม่พบแต่ไม่ได้ให้ความสนใจ แต่สำหรับแพทย์แล้วมันมีความหมายมาก และอาจช่วยในการวินิจฉัยภาวะความผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุของอาการในผู้ป่วย ตัวอย่างเช่นในภาวะความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยจะมีอาการนิ้วปุ้ม (clubbing of the fingers; ซึ่งอาจเปนอาการแสดงของโรคปอดและโรคอื่นๆ อีกมากมาย) และ arcus senilis.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและอาการแสดง · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและองค์การอนามัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

จอตา

ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง เรตินา หรือ จอตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" หรือ จอประสาทตา (retina, พหูพจน์: retinae, จากคำว่า rēte แปลว่า ตาข่าย) เป็นเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ที่ไวแสง บุอยู่บนผิวด้านในของดวงตา การมองเห็นภาพต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้โดยอาศัยเซลล์ที่อยู่บนเรตินา เป็นตัวรับและแปลสัญญาณแสงให้กลายเป็นสัญญาณประสาทหรือกระแสประสาท ส่งขึ้นไปแปลผลยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้เราสามารถมองเห็นภาพต่างๆได้ คือ กลไกรับแสงของตาฉายภาพของโลกภายนอกลงบนเรตินา (ผ่านกระจกตาและเลนส์) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับฟิลม์ในกล้องถ่ายรูป แสงที่ตกลงบนเรตินาก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางเคมีและไฟฟ้าที่เป็นไปตามลำดับ ซึ่งนำไปสู่การส่งสัญญาณประสาทโดยที่สุด ซึ่งดำเนินไปยังศูนย์ประมวลผลทางตาต่าง ๆ ในสมองผ่านเส้นประสาทตา ในสัตว์มีกระดูกสันหลังในช่วงพัฒนาการของเอ็มบริโอ ทั้งเรตินาทั้งเส้นประสาทตามีกำเนิดเป็นส่วนหนึ่งของสมอง ดังนั้น เรตินาจึงได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนของระบบประสาทกลาง (CNS) และจริง ๆ แล้วเป็นเนื้อเยื่อของสมอง"Sensory Reception: Human Vision: Structure and function of the Human Eye" vol.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและจอตา · ดูเพิ่มเติม »

จอตาลอก

จอตาลอก เป็นโรคของตาที่มีจอตาลอกออกจากชั้นเนื้อเยื่อข้างใต้ การลอกในช่วงแรกอาจจำกัดอยู่เฉพาะที่ แต่หากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงทีจอตาอาจลอกออกทั้งหมดทำให้การมองเห็นแย่ลงหรือตาบอดได้ ภาวะจอตาลอกเป็นภาวะเร่งด่วนทางจักษุวิทยา รองลงมาจากภาวะหลอดเลือดในจอประสาทตาอุดตันและสารเคมีเข้าตา ภาวะนี้ถูกพบเป็นครั้งแรกในต้นคริตศตวรรษที่ 17 โดย de Saint-Yves แต่การวินิจฉัยทางคลินิกยังไม่มีจนกว่า Helmholtz จะประดิษฐ์กล้องส่องตรวจในตาได้ในปี พ.ศ. 2394 หมวดหมู่:ความผิดปกติที่คอรอยด์และจอตา หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและจอตาลอก · ดูเพิ่มเติม »

ขอบตาม้วนเข้า

อบตาม้วนเข้า (entropion) เป็นภาวะทางการแพทย์ซึ่งหนังตา (ปกติเป็นหนังตาล่าง) ม้วนเข้าใน ก่อให้เกิดความไม่สบายอย่างมาก เพราะขนตาจะไปถูกกับกระจกตาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดความระคายเคือง ปกติขอบตาม้วนเข้าเกิดจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ ขอบตาม้วนเข้ายังสามารถทำให้เกิดอาการปวดตาได้ (นำไปสู่การทำให้ตนเองบาดเจ็บ แผลเป็นของหนังตา และความเสียหายของประสาท) หนังตาบนหรือล่างสามารถเกี่ยวข้องได้ และอาจเป็นได้ตาเดียวหรือสองตาก็ได้ การติดเชื้อโรคริดสีดวงตาซ้ำ ๆ อาจทำให้เกิดแผลเปเ็นของหนังตาด้านใน ซึ่งอาจทำให้เกิดขอบตาม้วนเข้า ในผู้ป่วยมนุษย์ ภาวะนี้เกิดบ่อยสุดในผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและขอบตาม้วนเข้า · ดูเพิ่มเติม »

ตา

ม่านตา (iris) คือ ส่วนที่มีสีต่างๆกัน thumb ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่างกาย ทำให้สามารถมองเห็น และรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวได้ ตาของสัตว์ต่างๆ มีรูปแบบที่ต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นตาของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์ปีก, สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์น้ำ โดยดวงตาของสัตว์ที่พัฒนาแล้ว มักจะมีเพียง 2 ดวง และ อยู่ด้านหน้าของใบหน้า เพื่อการมองเห็นแบบ 3 มิติ ตา คือ อวัยวะที่ทำหน้าที่รับแสง โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีอวัยวะรับแสงที่แตกต่างกัน ตาที่เรียบง่ายที่สุดจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยเว้นแต่การรับรู้ว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมืดหรือสว่างเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ เช่น กลางวันหรือกลางคืน เป็นต้น แต่จะไม่สามารถรับรู้ออกมาเป็นภาพได้ ตาที่ซับซ้อนกว่าจะมีรูปทรงและสีที่เป็นเอกลักษณ์ ในระบบตาที่ซับซ้อน ตาแต่ละดวงจะสามารถรับภาพที่มีบริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองสามารถรับรู้ถึงความลึก หรือ ความเป็นสามมิติของภาพ เช่น ระบบตาของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ตาของสัตว์บางชนิด เช่น กระต่ายและกิ้งก่า ได้ถูกออกแบบมาให้มีส่วนของภาพที่ซ้อนทับกันน้อยที่สุด เลนส์ ที่อยู่ส่วนข้างหน้าของตาทำหน้าที่เช่นเดียวกับเลนส์ของกล้อง เมื่อคนเราแก่ตัวลง ตาของคนแก่จะไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และต้องใช้แว่น หรือคอนแทคท์เลนส์ จึงจะสามารถมองเห็นชัดเจนได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตา · ดูเพิ่มเติม »

ตาบอด

ตาบอด เป็นความพิการในลักษณะหนึ่งของร่างกาย ผู้ที่ตาบอดจะไม่สามารถมองเห็นภาพได้หรือมองเห็นได้เพียงบางส่วน ในอเมริกาเหนือและยุโรป จะถือว่า ผู้ที่ ตาบอดทางกฎหมาย หมายถึงผู้ที่มีวิสัยการมองเห็นภาพได้ไม่เกิน 20 องศา (จากวิสัยของคนปกติประมาณ 180 องศา) หมวดหมู่:การมองเห็น หมวดหมู่:ตาบอด.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตาบอด · ดูเพิ่มเติม »

ตาบอดสี

ตาบอดสี (Color blindness) เป็นโรคชนิดหนึ่งของดวงตาเมื่อเป็นแล้วจะส่งผลให้การแปรภาพของสีต่าง ๆ ที่มองเห็นผิดเพี้ยนไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ภาวะตาบอดสีนั้น เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและในสังคมมากพอสมควร.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตาบอดสี · ดูเพิ่มเติม »

ตามัว

ตามัว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตามัว · ดูเพิ่มเติม »

ตาหวำ

ตาหวำ (enophthalmos) เป็นการเลื่อนไปด้านหลังของลูกตาในเบ้าตา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของลูกตา (กระดูก) โดยสัมพัทธ์กับสิ่งบรรจุ (ลูกตาและไขมันเบ้าตา) หรือการเสียหน้าที่ของกล้ามเนื้อออร์บิทัลลิส (orbitalis) ภาวะตรงข้ามคือ ตาโปน (exophthalmos) หมายถึง การเลื่อนไปด้านหน้าของตา ตาหวำอาจเป็นความผิดปกติแต่กำเนิด หรือได้รับภายหลังอันเนื่องจากการบาดเจ็บ (เช่นในกระดูกหักทะลักของเบ้าตา) กลุ่มอาการฮอร์เนอร์ (ลักษณะคล้ายตาหวำเนื่องจากหนังตาตก) กลุ่มอาการมาร์แฟน กลุ่มอาการดูเอน กลุ่มอาการโพรงเงียบ (silent sinus syndrome) หรือลูกตาแฟบ หมวดหมู่:โรคของหนังตา ระบบน้ำตาและเบ้าตา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตาหวำ · ดูเพิ่มเติม »

ตาโปน

ตาโปน (exophthalmos, exophthalmus, ophthalmocele, ophthalmoptosis, proptosis, protopsis) คือ ตาโป่งออกนอกเบ้าตาทางด้านหน้า อาจเป็นสองข้าง (มักพบในโรคเกรฟส์) หรือข้างเดียวก็ได้ (พบในเนื้องอกเบ้าตา) การพลัดที่จากเบ้าตาอย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนอาจเกิดขึ้นได้จากการบาดเจ็บหรือการบวมของเนื้อเยื่อโดยรอบอันเนื่องจากการบาดเจ็บ ในกรณีโรคเกรฟส์ การพลัดที่ของตาเกิดขึ้นจากการสะสมเนื้อเยื่อเกี่ยวพันผิดปกติในเบ้าตาและกล้ามเนื้อนอกตา ซึ่งเห็นได้ด้วย CT หรือ MRI หากไม่ได้รับการรักษา ตาโปนสามารถทำให้หนังตาไม่สามารถปิดระหว่างนอนหลับทำให้กระจกตาแห้งและเสียหาย อาการแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้อีกอย่างหนึ่งอาจเป็นในรูปตาแดงหรือระคายเคือง เรียก "เยื่อบุตาและกระจกตาอักเสบลิมบิกบน" (superior limbic keratoconjunctivitis) ซึ่งพื้นที่เหนือกระจกตาอักเสบเนื่องจากการเสียดสีเพิ่มขึ้นเมื่อกระพริบตา กระบวนการซึ่งก่อการพลัดที่ของตายังอาจกดเส้นประสาทตาหรือหลอดเลือดแดงตา ทำให้ตาบอดได้ หมวดหมู่:โรคของหนังตา ระบบน้ำตาและเบ้าตา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตาโปน · ดูเพิ่มเติม »

ตาเหล่

ตาเหล่ หรือ ตาเข (isbn) เป็นภาวะที่ตาทั้งสองไม่มองตรงที่เดียวกันพร้อม ๆ กันเมื่อกำลังจ้องดูวัตถุอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยตาข้างหนึ่งจะเบนไปในทางใดทางหนึ่งอย่างไม่คล้องจองกับตาอีกข้างหนึ่ง/หรือกับสิ่งที่มอง และตาทั้งสองอาจสลับเล็งมองที่วัตถุ และอาจเกิดเป็นบางครั้งบางคราวหรือเป็นตลอด ถ้ามีอาการเป็นช่วงเวลานานในวัยเด็ก ก็อาจทำให้ตามัวหรือเสียการรู้ใกล้ไกล แต่ถ้าเริ่มในวัยผู้ใหญ่ ก็มักจะทำให้เห็นภาพซ้อนมากกว่า อาการอาจมีเหตุจากการทำงานผิดปกติของกล้ามเนื้อตา สายตายาว ปัญหาในสมอง การบาดเจ็บ หรือการติดเชื้อ ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งการคลอดก่อนกำหนด อัมพาตสมองใหญ่ และประวัติการเป็นโรคในครอบครัว มีแบบต่าง ๆ รวมทั้ง เหล่เข้า (esotropia) ที่ตาเบนเข้าหากัน เหล่ออก (exotropia) ที่ตาเบนออกจากกัน และเหล่ขึ้น (hypertropia) ที่ตาสูงต่ำไม่เท่ากัน อาจเป็นแบบเหล่ทุกที่ที่มอง (comitant คือตาเหล่กลอกคู่) หรืออาจเหล่ไม่เท่ากันแล้วแต่มองที่ไหน (incomitant) การวินิจฉัยอาจทำโดยสังเกตว่าแสงสะท้อนที่ตาไม่ตรงกับกลางรูม่านตา มีภาวะอีกอย่างที่ทำให้เกิดอาการคล้าย ๆ กัน คือ โรคเส้นประสาทสมอง (cranial nerve disease) การรักษาจะขึ้นอยู่กับรูปแบบและเหตุ ซึ่งอาจรวมการใช้แว่นตาและการผ่าตัด มีบางกรณีที่มีผลดีถ้าผ่าตัดตั้งแต่ต้น ๆ เป็นโรคที่เกิดในเด็กประมาณ 2% คำภาษาอังกฤษมาจากคำกรีกว่า strabismós ซึ่งแปลว่า "เหล่ตา".

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและตาเหล่ · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมน้ำตาอักเสบ

ต่อมน้ำตาอักเสบ (Dacryoadenitis) เป็นการอักเสบของต่อมน้ำตา หรืออาจเรียกว่าท่อน้ำตาอุดตัน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและต่อมน้ำตาอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

ต้อกระจก

ต้อกระจกเป็นโรคของตาอย่างหนึ่ง คือภาวะที่เกิดความขุ่นขึ้นที่เลนส์ตาหรือปลอกหุ้มเลนส์ตาซึ่งปกติจะมีความใส เมื่อขุ่นแล้วจะทำให้แสงผ่านได้แย่กว่าปกติ สาเหตุของการเกิดต้อกระจก การเกิดต้อกระจกนั้นส่วนใหญ่มีสาเหตุมาการเสื่อมของเลนส์ตา โดยส่วนมากโรคต้อกระจกนี้จะพบกับผู้ทีมีอายุ 65 ปีขึ้นไป บางรายอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสจากมารดาขณะตั้งครรภ์ หรือการที่กินยาสเตียรอยด์เป็นประจำก็เป็นสาเหตุของการเกิดต้อกระจกได้เช่นกัน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและต้อกระจก · ดูเพิ่มเติม »

ต้อหิน

ที่เห็นโดยคนเป็นโรคต้อหิน การมองเห็นจะน้อยลง ต้อหิน เป็นโรคที่ดวงตามองไม่เห็น เกิดจากการคั่งของน้ำภายในตา จึงทำให้ความดันตาสูงขึ้นและกดทำลายประสาทตาทีละน้อย โดยที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด พบมากในผู้สูงอายุ โดยปกติคนวัย 65 ปีขึ้นไป จะเกิดโรคต้อหินได้ประมาณ 1 ในทุก 20 คน โรคต้อหินเป็นสาเหตุตาบอดอันดับที่สองของโลก โรคต้อหินพบทั่วโลกถึง 70 ล้านคน และประมาณ 10% ของผู้ป่วยหรือประมาณ 6.7 ล้านคน ต้องตาบอด หรือสูญเสียการมองเห็นอย่างสิ้นเชิง ในประเทศไทยมีผู้ป่วยประมาณ 2.5-3.8% หรือคิดเป็นจำนวนผู้ป่วยประมาณ 1.7-2.4 ล้านคน เมื่อไปตรวจตาถ้าความดันลูกตาเกิน 20.0 มิลลิเมตรปรอท มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นต้อหิน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและต้อหิน · ดูเพิ่มเติม »

ต้อเนื้อ

ต้อเนื้อ หมายถึงเนื้องอกของเยื่อตา (conjunctiva) ต้อเนื้อมักเจริญมาจาก ด้านใกล้กลาง (ด้านติดจมูก) ต้อเนื้อเชื่อกันว่ามีสาเหตุมาจากการได้รับรังสีอัลตราไวโอเล็ตเช่นจากแสงแดด อากาศแห้ง และจากฝุ่นละออง สาเหตุที่ต้อเนื้อมักเกิดบริเวณด้านใกล้กลางน่าจะเป็นเพราะแสงแดดผ่านจากด้านข้างของดวงตา ผ่านกระจกตา (cornea) แล้วเกิดการโฟกัสของแสงที่คอร์เนียล ลิมบัสด้านใกล้กลาง (medial limbus) ในทางกลับกันแสงที่มาจากอีกด้านจะมีจมูกช่วยบังแสงแดดที่จะเข้ามาและโฟกัสยังคอร์เนียล ลิมบัสด้านข้าง (temporal limbus).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและต้อเนื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปรสิต

ปรสิต (parasite) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่อาศัยผู้อื่นหรือเซลล์ชนิดอื่นเป็นที่พักอาศัยและแหล่งอาหาร และบางครั้งทำร้ายสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์นั้นหรือเซลล์ภายในจนเจ็บป่วยหรือถึงกับเสียชีวิต เช่น การอาศัยอยู่สิ่งมีชีวิตชั้นต่ำในร่างกายมนุษย์ ตัวอย่าง พยาธิ เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและปรสิต · ดูเพิ่มเติม »

โรค

รค เป็นสภาวะผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจของสิ่งมีชีวิตซึ่งทำให้การทำงานของร่างกายเสียไปหรืออาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิต โรคยังอาจหมายถึงภาวะการทำงานของร่างกายซึ่งทำให้เกิดอันตรายแก่ตัวเอง ซึ่งจะแสดงออกมาเป็นอาการหรืออาการแสดงต่อโรคนั้นๆ ในมนุษย์ คำว่าโรคอาจมีความหมายกว้างถึงภาวะใดๆ ก็ตามที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด, การทำหน้าที่ผิดปกติ, ความกังวลใจ, ปัญหาสังคม หรือถึงแก่ความตาย ซึ่งมีผลกระทบต่อผู้ได้รับผลหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โรคอาจถูกใช้เพื่อเรียกการบาดเจ็บ, ความพิการ, ความผิดปกติ, กลุ่มอาการ, การติดเชื้อ, อาการ, พฤติกรรมเบี่ยงเบน, และการเปลี่ยนแปรที่ผิดปกติของโครงสร้างหรือหน้าที่การทำงานในประชากรมนุษ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและโรค · ดูเพิ่มเติม »

โรคจอตามีสารสี

Retinitis pigmentosaหรือว่า โรคอาร์พี (ตัวย่อ RP) เป็นโรคจอตาเสื่อมที่สามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์ที่เป็นเหตุแห่งความเสียหายต่อการเห็นอย่างรุนแรงบ่อยครั้งถึงขั้นตาบอด แต่ว่าการเสื่อมของ RP มีความต่าง ๆ กัน บางคนแสดงอาการตั้งแต่เป็นทารก บางคนอาจจะไม่เห็นอาการอะไรจนกระทั่งเลยวัยกลางคนไป โดยทั่วไป ยิ่งปรากฏอาการสายเท่าไร ความเสื่อมก็ยิ่งเป็นไปเร็วเท่านั้น บุคคลผู้ไม่มีอาร์พีสามารถเห็นได้ 90 องศาโดยรอบ (จากตรงกลางของลานสายตา) แต่บางคนที่มีอาร์พีเห็นได้น้อยกว่า 90 องศา โดยเป็นประเภทหนึ่งของโรคจอตาเสื่อม (retinopathy) อาร์พีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) หรือของเซลล์ retinal pigment epithelium (ในชั้น pigmented layer) ในเรตินาที่มีผลเป็นเป็นการสูญเสียการเห็นไปตามลำดับ ผู้ที่มีโรคนี้อาจประสบความผิดปกติในการปรับตัวจากที่สว่างไปที่มืด หรือจากที่มืดไปที่สว่าง เป็นอาการที่ใชเรียกว่า ตาบอดแสง (nyctalopia หรือ night blindness) ซึ่งเป็นผลจากความเสื่อมลานสายตาส่วนรอบ ๆ แต่บางครั้ง จะมีการสูญเสียการเห็นในส่วนตรงกลางก่อน ทำให้บุคคลนั้นต้องแลดูวัตถุต่าง ๆ ทางข้างตา ผลของการมีอาร์พีเห็นได้ง่ายถ้าเปรียบเทียบกับทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ คือ แสงจากพิกเซลที่สร้างภาพบนจอเหมือนกับเซลล์รับแสงเป็นล้าน ๆ ตัวในเรตินา ยิ่งมีพิกเซลน้อยลงเท่าไร ภาพที่เห็นก็ชัดน้อยลงเท่านั้น มีเซลล์รับแสงจำนวนน้อยกว่า 10% ที่สามารถรับภาพสี โดยเป็นแสงมีความเข้มสูงเหมือนกับที่มีในช่วงกลางวัน เซลล์เหล่านี้อยู่ตรงกลางของเรตินาที่มีรูปเป็นวงกลม เซลล์รับแสงกว่า 90% ที่เหลือรับแสงมีความเข้มต่ำ เป็นภาพขาวดำ ซึ่งใช้ในที่สลัวและในตอนกลางคืน เป็นเซลล์ซึ่งอยู่รอบ ๆ เรตินา RP ทำลายเซลล์รับแสงจากนอกเข้ามาส่วนตรงกลาง หรือจากส่วนตรงกลางออกไปด้านนอก หรือทำลายเป็นย่อม ๆ ที่ทำให้เซลล์ส่วนตรงนั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจจับแสงได้น้อยลง ความเสื่อมจากโรคนี้จะมีการลุกลาม และยังไม่มีวิธีรักษ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและโรคจอตามีสารสี · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อ

รคติดเชื้อ (Infectious disease) เป็นโรคซึ่งเป็นผลจากการมีเชื้อจุลชีพก่อโรค อาทิไวรัส แบคทีเรีย รา โพรโทซัว ปรสิต หรือแม้กระทั่งโปรตีนที่ผิดปกติเช่นพรีออน เชื้อดังกล่าวอาจก่อให้เกิดโรคในสัตว์หรือพืชได้ โรคติดเชื้อจัดเป็นโรคติดต่อ (Contagious diseases, Communicable diseases) เนื่องจากสามารถติดต่อไปยังบุคคลอื่นหรือระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกัน การติดต่อของโรคติดเชื้ออาจเกิดได้มากกว่า 1 ทาง รวมถึงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จุลชีพก่อโรคอาจถ่ายทอดไปโดยสารน้ำในร่างกาย อาหาร น้ำดื่ม วัตถุที่มีเชื้อปนเปื้อน ลมหายใจ หรือผ่านพาหะ"Infectious disease." McGraw-Hill Encyclopedia of Science and Technology.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและโรคติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อตา

ื่อตา (Conjunctiva) เป็นเยื่อเมือกใสประกอบด้วยเซลล์และเยื่อฐานซึ่งคลุมส่วนของตาขาวและบุด้านในของหนังตา เยื่อตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและเยื่อตา · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อตาอักเสบ

เยื่อตาอักเสบ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ตาแดง คือการอักเสบของเยื่อตา (เนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของนัยน์ตาและอยู่ใต้เปลือกตา) สาเหตุอาจเกิดจากอาการแพ้สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่นัยน์ตาซึ่งอาจสามารถหายไปได้เอง หรือเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ซึ่งสามารถเป็นโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ ลักษณะอาการคือมีเส้นเลือดฝอยปรากฏชัดเป็นส่วนมากในนัยน์ตา อาจมีการระคายเคืองและตาแฉะร่วมด้วย โรคตาแดงจากการติดเชื้อไวรัสมักเกิดในช่วง? -โรคตาแดงมักเกิดในช่วงฤดูฝน เชื้อไวรัสมักปนเปื้อนอยู่ในน้ำที่ท่วมขัง ในฤดูฝนจะพบผู้ติดเชื้อโรคตาแดงเป็นจำนวนมาก หมวดหมู่:การอักเสบ หมวดหมู่:โรค.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและเยื่อตาอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

เริม

รคเริมบริเวณริมฝีปากล่าง โรคเริม (Herpes simplex) โรคเริมเป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัส ชื่อ "Herpes simplex" ซึ่งเชื้อไวรัสตัวนี้มีอยู่ 2 ชนิด คือ ชนิดที่ทำให้เกิดแผล (cold sore) ที่พบบริเวณริมฝีปาก ทั้งบนและล่าง หรือมุมปาก พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ และชนิดที่มักจะพบเริมบริเวณอวัยวะเพศ พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก ลักษณะอาการแบ่งได้เป็นหลายระยะ โดยจะเริ่มจากความรู้สึกคันหรือเจ็บยิบๆบริเวณที่จะเกิดแผล แล้วจะมีผื่น กลายเป็นกลุ่มของตุ่มน้ำใสซึ่งภายหลังจะรวมตัวกันอยู่บนผิวหนังประมาณ 1-2 วัน จากนั้นตุ่มน้ำใสนี้ จะแตกออก และตกสะเก็ดแต่บางรายอาจเป็นนานกว่านั้นเกือบถึง 1 สัปดาห์ ทั้งนี้เราไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสเริมได้เด็ดขาด แต่เชื้อจะมีระยะพักตัว ซึ่งมักพักตัวอยู่ในเส้นประสาท และก่อให้เกิดตุ่มใสขึ้นอีกได้เสมอๆ ซึ่งขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ภูมิคุ้มกันลดลง ความเครียดทางกายหรือจิตใจ ช่วงประจำเดือน เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและเริม · ดูเพิ่มเติม »

เส้นประสาทตา

ักษุประสาท, ประสาทตา, ประสาทการเห็น หรือ ประสาทสมองเส้นที่ 2 เป็นเส้นประสาทที่ทำหน้าที่รับภาพจากจอตาที่ดวงตา เพื่อไปแปลผลที่สมอง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและเส้นประสาทตา · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกสมองส่วนการเห็น

ทางสัญญาณด้านหลัง (เขียว) และทางสัญญาณด้านล่าง (ม่วง) เป็นทางสัญญาณเริ่มมาจากเปลือกสมองส่วนการเห็นปฐมภูมิ เปลือกสมองส่วนการเห็น (visual cortex, cortex visualis) ในสมองเป็นส่วนหนึ่งของเปลือกสมอง ทำหน้าที่ประมวลข้อมูลสายตา อยู่ในสมองกลีบท้ายทอยด้านหลังของสมอง คำว่า เปลือกสมองส่วนการเห็น หมายถึงคอร์เทกซ์ต่าง ๆ ในสมองรวมทั้ง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและเปลือกสมองส่วนการเห็น · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) เป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก รหัสได้ถูกจัดทำขึ้นแตกต่างกันถึง 155,000 รหัสและสามารถติดตามการวินิจฉัยและหัตถการใหม่ๆ ดังจะเห็นจากรหัสที่เพิ่มขึ้นจากฉบับก่อนหน้า ICD-9 ที่มีอยู่เพียง 17,000 รหัส งานจัดทำ ICD-10 เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2526 และแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาและICD-10 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ICD-10 บท H: โรคตารวมส่วนประกอบของตาหูและปุ่มกกหู

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »