โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

ดัชนี ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

128 ความสัมพันธ์: บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องบาดทะยักชิคุนกุนยาช่องคลอดช็อกเหตุพิษติดเชื้อพยาธิตัวตืดพยาธิใบไม้กระดูกกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบการติดเชื้อกาฬโรคภาวะพิษเหตุติดเชื้อภาวะอาหารเป็นพิษภาวะเลือดมีแบคทีเรียมะเร็งมาลาเรียยุงรอยโรคระบบสืบพันธุ์ระบบประสาทระบบประสาทกลางลำไส้วัณโรควิทยาภูมิคุ้มกันสมองอักเสบสมองอักเสบจากเริมสิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจนหูหูดหูดข้าวสุกหนองในแท้อวัยวะอหิวาตกโรคอาการอาการรู้สึกหมุนอาการแสดงอีสุกอีใสองค์การอนามัยโลกผิวหนังทวารหนักข้อต่อคอหอยคอหอยอักเสบคางทูมงูสวัดตับอักเสบ บีตับอักเสบ อีตับอักเสบจากไวรัสตาต่อมหมวกไต...ต่อมน้ำเหลืองต่อมน้ำเหลืองโตซิฟิลิสซูโดะกุปรสิตปรสิตวิทยาปลิงปอดบวมแบคทีเรียแบคทีเรียแกรมลบแมลงแผลบูรูลีแผลริมอ่อนแผลริมแข็งโบทูลิซึมโพรโทซัวโยนีโรคโรคบิดจากเชื้อชิเกลลาโรคพยาธิแส้ม้าโรคพยาธิไส้เดือนโรคพิษสุนัขบ้าโรคฝีดาษโรคมือ เท้า และปากโรคระบบหัวใจหลอดเลือดโรคริดสีดวงตาโรคสมองโรคหัดโรคหัดเยอรมันโรคจากไข่พยาธิตัวตืดโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบโรคคอตีบโรคคุดทะราดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อโรคติดเชื้อลิชมาเนียโรคติดเชื้อลิสเทอเรียโรคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิสโรคติดเชื้อไวรัสโรคฉี่หนูโรคซิฟิลิสแต่กำเนิดโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอโรคโปลิโอโรคไลม์โรคไวรัสอีโบลาโรคไอกรนโรคเมลิออยด์โรคเท้าช้างโรตาไวรัสโลหิตวิทยาโคโรนาไวรัสไวรัสไข้กระต่ายไข้กาฬหลังแอ่นไข้รากสาดน้อยไข้รากสาดใหญ่ไข้ดำแดงไข้เลือดออกจากไวรัสไข้เหลืองไข้เด็งกีเยื่อบุช่องท้องเยื่อหุ้มสมองอักเสบเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรคเยื่อแขวนลำไส้เยื่อเมือกเริมเรื้อนเอชไอวีเอดส์เนเกลอริเอซิสEscherichia coliHaemophilus influenzaeICD-10MycoplasmaNeisseria meningitidisSalmonellaStaphylococcusStaphylococcus aureus ขยายดัชนี (78 มากกว่า) »

บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems มีชื่อย่อว่า ICD) เป็นรายละเอียดของโรคและการบาดเจ็บต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแผ่โดย องค์การอนามัยโลก และใช้ข้อมูลเป็นสถิติพยาธิภาวะและอัตราตาย จากทั่วโลก มีการแก้ไขปรับปรุงเป็นช่วง ๆ ปัจจุบันได้ทำการจัดพิมพ์ครั้งที่ 11 แล้ว โรคหรือกลุ่มของโรคที่มีความสัมพันธ์กันจะอธิบายด้วยการวินิจฉัยและมีรหัสกำหนดให้เป็นการเฉพาะตั้งแต่ 4-6 หลัก โดยหลักแรกในหมวดที่ 1-9 จะใช้ตัวเลข 1-9 เมื่อเข้าสู่หมวดที่ 10-26 จะใช้เป็นอักษร A-S นอกจากนี้ หมวด V คือSupplementary section for functioning assessment และหมวด X คือ External Cause แล้วจากนั้นจะแยกออกเป็นหมวดหมู่ในหลักถัดไป.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง · ดูเพิ่มเติม »

บาดทะยัก

ทะยักเป็นโรคติดเชื้ออย่างหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการเด่นคืออาการกล้ามเนื้อเกร็ง ส่วนใหญ่การเกร็งจะเริ่มต้นที่กล้ามเนื้อกราม จากนั้นจึงลุกลามไปยังกล้ามเนื้อส่วนอื่นๆ การเกร็งแต่ละครั้งมักเป็นอยู่ไม่กี่นาที และเกิดขึ้นซ้ำๆ เป็นเวลา 3-4 สัปดาห์ การเกร็งอาจมีความรุนแรงมากจนทำให้กระดูกหักได้ อาการอื่นที่อาจพบร่วมได้แก่ ไข้ เหงื่อออก ปวดศีรษะ กลืนลำบาก ความดันเลือดสูง และหัวใจเต้นเร็ว ผู้ป่วยส่วนใหญ่เริ่มมีอาการหลังจากติดเชื้อเป็นเวลา 3-21 วัน การรักษาอาจใช้เวลาหลายเดือน ผู้ป่วยประมาณ 10% จะเสียชีวิต บาดทะยักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani ซึ่งพบได้ในดิน น้ำลาย ฝุ่น และปุ๋ยมูลสัตว์ เชื้อมักเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลเช่นแผลบาดหรือแผลตำที่เกิดจากวัตถุที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อเหล่านี้ผลิตสารพิษที่รบกวนกระบวนการหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้มีอาการดังกล่าวข้างต้น การวินิจฉัยทำได้โดยการดูจากอาการและอาการแสดง โรคนี้ไม่ติดต่อจากคนสู่คน การป้องกันการติดเชื้อทำได้โดยการเสริมภูมิคุ้มกันด้วยการให้วัคซีนบาดทะยัก ผู้ที่มีบาดแผลที่เข้าข่ายจะติดเชื้อและได้รับวัคซีนมาไม่ถึง 3 ครั้ง ควรได้รับทั้งวัคซีนบาดทะยักและภูมิคุ้มกันบาดทะยักในรูปแบบของอิมมูโนกลอบูลิน ควรได้รับการล้างแผลและนำเอาเนื้อตายออก ผู้ป่วยที่มีอาการควรได้รับการรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบาดทะยักแบบอิมมูโนกลอบูลิน หรืออาจรักษาด้วยอิมมูโนกลอบูลินแบบรวมได้ ยาคลายกล้ามเนื้ออาจช่วยควบคุมอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ และหากผู้ป่วยมีปัญหาของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจร่วมด้วยอาจต้องใช้การช่วยหายใจผ่านเครื่องช่วยหายใจ บาดทะยักเป็นโรคที่พบได้ทั่วโลกแต่มักพบบ่อยในพื้นที่ที่มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้นซึ่งมีดินและสารอินทรีย์อยู่มาก ในปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและบาดทะยัก · ดูเพิ่มเติม »

ชิคุนกุนยา

นกุนยา (チクングンヤ熱; Chikungunya virus; CHIKV) เป็นเชื้อไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะนำโรค เป็นไวรัสในจีนัส Alphavirus ซึ่งติดต่อมาสู่มนุษย์ทางยุงลาย (Aedes) การระบาดของ CHIKV ทำให้เกิดการพิการอย่างรุนแรงและทำให้เกิดความเจ็บป่วยและกลุ่มอาการคล้ายโรคไข้เลือดออก (dengue fever) โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้ (acute febrile phase) 2-5 วัน ตามด้วยอาการปวดข้อของแขนและขาเป็นระยะเวลานาน เป็นเวลาหลายอาทิตย์หรือเป็นเดือนๆ (prolonged arthralgic disease) ต้นกำเนิดของไวรัสชิคุนกุนยามาจากทวีปแอฟริกา โดยพบครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและชิคุนกุนยา · ดูเพิ่มเติม »

ช่องคลอด

องคลอด (Vagina) รากศัพท์มาจากภาษาละติน หมายถึง สิ่งหุ้ม หรือ ฝัก โดยทั่วไปในภาษาปาก คำว่า "ช่องคลอด" มักใช้เรียกแทน "ช่องสังวาส" หรือ "อวัยวะเพศหญิง" หรือ "แคม" ในภาษาทางการ "ช่องคลอด" หมายถึง โครงสร้างภายใน ส่วน "ช่องสังวาส" และคำอื่น ๆ หมายถึง "อวัยวะเพศหญิงภายนอก" เท่านั้น ในภาษาสแลง มีคำหยาบและคำต้องห้ามหลายคำใช้เรียกแทน ช่องคลอด หรือ ช่องสังวาส ในภาษาไทย เช่น หี, หอย ฯลฯ หรือในภาษาอังกฤษ เช่น cunt, pussy ฯลฯ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและช่องคลอด · ดูเพิ่มเติม »

ช็อกเหตุพิษติดเชื้อ

็อกเหตุพิษติดเชื้อ ปรับปรุงเมื่อ 6..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและช็อกเหตุพิษติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

พยาธิตัวตืด

พยาธิตัวตืด (Cestoda) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมแพลทีเฮลมินธิส เป็นสิ่งมีชีวิตที่แพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว สามารถขยายพันธุ์ได้ถึง 1 ล้านตัวต่อวัน ในแต่ละปล้องของพยาธิตัวตืด สามารถแบ่งตัวและเติบโตเป็นพยาธิตัวใหม่ได้ ปกติแล้วพยาธิตัวตืดเป็นปรสิตอาศัยในลำไส้ของ หมู หมวดหมู่:สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง หมวดหมู่:แพลทีเฮลมินธิส ต.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและพยาธิตัวตืด · ดูเพิ่มเติม »

พยาธิใบไม้

พยาธิใบไม้ (Trematoda) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมแพลทีเฮลมินธิส หมวดหมู่:สัตว์ หมวดหมู่:สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง หมวดหมู่:แพลทีเฮลมินธิส บไม้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและพยาธิใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

กระดูก

กระดูกต้นขาของมนุษย์ กระดูก เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งภายใน (endoskeleton) ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง หน้าที่หลักของกระดูกคือการค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสมแร่ธาตุและการสร้างเซลล์เม็ดเลือด กระดูกเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อกระดูก (osseous tissue) ที่มีความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักเบา การเจริญพัฒนาของเนื้อเยื่อกระดูกในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทำให้กระดูกเป็นอวัยวะที่มีหลายรูปร่างลักษณะ เพื่อให้สอดคล้องกันกับการทำงานของกระดูกในแต่ละส่วน เช่นกะโหลกศีรษะ (skull) ที่มีลักษณะแบนแต่แข็งแรงมาก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนของสมอง หรือกระดูกต้นขา (femur) ที่มีลักษณะยาวเพื่อเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของรยางค์ล่าง เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและกระดูก · ดูเพิ่มเติม »

กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ

กระเพาะอาหารกับลำไส้อักเสบ เป็นโรคที่มีการอักเสบของทางเดินอาหารรวมถึงกระเพาะและลำไส้ ทำให้มีอาการถ่ายเหลว อาเจียน และปวดท้อง อาการแต่ละอย่างอาจมากน้อยแตกต่างกันไป หมวดหมู่:กุมารเวชศาสตร์ หมวดหมู่:โรคติดเชื้อ หมวดหมู่:อาการปวดท้อง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

การติดเชื้อ

การติดเชื้อ หมายถึงการเจริญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นบนร่างกายของโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายหรือเกิดโรคได้ จุลชีพก่อโรคจะมีการพยายามใช้ทรัพยากรของโฮสต์เพื่อใช้ในการเพิ่มจำนวนของตัวเอง จุลชีพก่อโรคจะรบกวนการทำงานปกติของร่างกายโฮสต์ซึ่งอาจทำให้เกิดบาดแผลเรื้อรัง (chronic wound), เนื้อตายเน่า (gangrene), ความพิการของแขนและขา และอาจทำให้เสียชีวิตได้ การตอบสนองของโฮสต์ต่อการติดเชื้อ เรียกว่า การอักเสบ (inflammation) จุลชีพก่อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อมักจะเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กซึ่งมีความหลากหลายเช่นแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อรา พรีออน หรือไวรอยด์ ภาวะพึ่งพิงซึ่งกันและกันระหว่างปรสิตและโฮสต์ซึ่งปรสิตได้ประโยชน์แต่โฮสต์เสียประโยชน์นั้นในทางนิเวศวิทยาเรียกว่าภาวะปรสิต (parasitism) แขนงของวิชาแพทยศาสตร์ซึ่งเน้นศึกษาในเรื่องการติดเชื้อและจุลชีพก่อโรคคือสาขาวิชาโรคติดเชื้อ (infectious disease) การติดเชื้ออาจแบ่งออกเป็นการติดเชื้อปฐมภูมิ (primary infection) คือการติดเชื้อหลังจากการได้รับจุลชีพก่อโรคเป็นครั้งแรก และการติดเชื้อทุติยภูมิ (secondary infection) ซึ่งหมายถึงการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังหรือระหว่างการรักษาการติดเชื้อปฐมภูม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและการติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

กาฬโรค

กาฬโรค (plague) เป็นโรคติดเชื้อถึงตายที่เกิดจากเอ็นเทอโรแบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งตั้งตามชื่อนักวิทยาแบคทีเรียชาวฝรั่งเศส-สวิส อเล็กซานเดอร์ เยอร์ซิน กาฬโรคเป็นโรคที่อยู่ในสัตว์ฟันแทะ และหมัดเป็นตัวแพร่สู่มนุษย์ โรคดังกล่าวรู้จักกันตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากขอบเขตการเสียชีวิตและการทำลายล้างที่โรคอื่นเทียบไม่ได้ กาฬโรคเป็นโรคระบาดหนึ่งในสามโรคที่ต้องรายงานต่อองค์การอนามัยโลก (อีกสองโรค คือ อหิวาตกโรคและไข้เหลือง) กระทั่งเดือนมิถุนายน 2550 กาฬโรคสามารถแพร่ในอากาศ ผ่านการสัมผัสโดยตรง หรือโดยอาหารหรือวัสดุที่ปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับการติดเชื้อที่ปอดหรือสภาพสุขาภิบาล อาการของกาฬโรคขึ้นอยู่กับบริเวณที่มีเชื้อมากในแต่ละบุคคล เช่น กาฬโรคที่ต่อมน้ำเหลือง (bubonic plague) กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ (septicemic plague) ในหลอดเลือด กาฬโรคแบบมีปอดบวม (pneumonic plague) ในปอด ฯลฯ กาฬโรครักษาได้หากตรวจพบเร็ว และยังระบาดอยู่ในบางส่วนของโลก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและกาฬโรค · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ

วะพิษเหตุติดเชื้อ ปรับปรุงเมื่อ 6..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและภาวะพิษเหตุติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะอาหารเป็นพิษ

วะอาหารเป็นพิษ (foodborne illness, foodborne disease, ภาษาปาก food poisoning) เป็นความเจ็บป่วยใด ๆ อันเป็นผลมาจากการบริโภคอาหารปนเปื้อน แบคทีเรีย ไวรัสหรือปรสิตก่อโรค ซึ่งปนเปื้อนอาหาร ตลอดจนการได้รับชีวพิษเคมีหรือธรรมชาติ เช่น เห็ดพิษ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและภาวะอาหารเป็นพิษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย

วะเลือดมีแบคทีเรีย (Bacteremia) เป็นภาวะที่พบแบคทีเรียในเลือด โดยปกติเลือดเป็นสิ่งแวดล้อมที่ปลอดเชื้อ ดังนั้นการพบแบคทีเรียในเลือดนั้น จึงเป็นเรื่องที่ผิดปกติเสมอ เชื้อแบคทีเรียอาจเข้าสู่กระแสเลือดได้จากการติดเชื้อรุนแรง (เช่น ปอดอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ) จากการผ่าตัด (โดยเฉพาะที่ต้องกระทำกับเยื่อเมือก เช่น การผ่าตัดทางเดินอาหาร) จากการใส่สายสวนหรือการใส่สิ่งแปลกปลอมคาไว้ในหลอดเลือด (รวมถึงการใช้ยาเสพติดชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดด้วย) ภาวะเลือดมีแบคทีเรียอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้หลายอย่าง เช่น ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อการมีแบคทีเรียในเลือดอาจทำให้เกิดภาวะพิษเหตุติดเชื้อ หรือลุกลามเป็นภาวะช็อกเหตุพิษติดเชื้อ ซึ่งมีอัตราการตายสูง เชื้อแบคทีเรียในเลือดอาจแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดการติดเชื้อในส่วนอื่นๆ ได้ เช่น เยื่อบุหัวใจอักเสบ หรือกระดูกและไขกระดูกอักเสบ ซึ่งมักเกิดตามมาจากการมีแบคทีเรียในเลือด ในกรณีที่มีความเสี่ยงเช่นนี้ อาจมีการให้การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ หรือการป้องกันด้วยการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและภาวะเลือดมีแบคทีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

มาลาเรีย

มาลาเรีย (malaria) หรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัว (จุลินทรีย์เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล Plasmodium (พลาสโมเดียม) อาการทั่วไปคือ มีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้ตัวเหลือง ชัก โคม่าหรือเสียชีวิตได้ โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล Anopheles (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีอาการของโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกยุง Anopheles เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดเชื้อและส่งต่อ Plasmodium ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ P. falciparum เพราะ P. vivax, P. ovale และ P. malariae โดยทั่วไปก่อให้เกิดมาลาเรียแบบที่รุนแรงน้อยกว่า สปีชีส์รับจากสัตว์ P. knowlesi พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การวินิจฉัยมาลาเรียตรงแบบทำโดยการตรวจเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ฟิล์มเลือดหรือการวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว (rapid diagnostic test) ที่อาศัยแอนติเจน มีการพัฒนาวิธีซึ่งใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเพื่อตรวจจับดีเอ็นเอของปรสิต แต่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไปเนื่องจากราคาแพงและซับซ้อน ความเสี่ยงของโรคลดได้โดยการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยใช้มุ้งหรือสารขับไล่แมลง หรือด้วยมาตรการควบคุมยุง เช่น การฉีดพ่นยาฆ่าแมลงหรือการระบายน้ำนิ่ง มียารักษาโรคหลายชนิดที่ป้องกันมาลาเรียในผู้ที่เดินทางไปยังบริเวณที่พบโรคมาลาเรียทั่วไป แนะนำให้ใช้ยารักษาโรคซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีนบางครั้งในทารกและหลังไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ในบริเวณซึ่งมีโรคมาลาเรียอัตราสูง โรคมาลาเรียยังไม่มีวัคซีน แต่กำลังพัฒนา การรักษาโรคมาลาเรียที่แนะนำ คือ การใช้ยาต้านมาลาเรียหลายชนิดร่วมกันซึ่งรวมอาร์ตีมิซินิน ยาชนิดที่สองอาจเป็นเมโฟลควิน ลูมีแฟนทรีนหรือซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีน อาจใช้ควินินร่วมกับด็อกซีไซคลินได้หากไม่มีอาร์ติมิซินิน แนะนำว่าในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไป ให้ยืนยันโรคมาลาเรียหากเป็นไปได้ก่อนเริ่มการรักษาเนื่องจากความกังวลว่ามีการดื้อยาเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาการดื้อยาในปรสิตต่อยาต้านมาลาเรียหลายชนิด เช่น P. falciparum ซึ่งดื้อต่อคลอโรควินได้แพร่ไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดมากที่สุด และการดื้อยาอาร์ทีมิซินินเป็นปัญหาในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรคนี้แพร่หลายในเขตร้อนและอบอุ่นซึ่งอยู่เป็นแถบกว้างรอบเส้นศูนย์สูตร ซึ่งรวมพื้นที่แอฟริกาใต้สะฮารา ทวีปเอเชียและละตินอเมริกาบริเวณกว้าง โรคมาลาเรียมักสัมพันธ์กับความยากจนและยังอาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ในทวีปแอฟริกา มีการประเมินว่ามีการสูญเสีย 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีเนื่องจากค่าใช้จ่ายสาธารณสุขเพิ่มขึ้น เสียความสามารถการทำงาน และผลเสียต่อการท่องเที่ยว องค์การอนามัยโลกประเมินว่ามีผู้ป่วย 198 ล้านคน ใน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและมาลาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุง

ง เป็นแมลงที่พบได้ทั่วโลกแต่พบมากในเขตร้อนและเขตอบอุ่น โดยปกติ ตัวเมียมักจะกินเลือดเป็นอาหาร ส่วนตัวผู้มักจะกินน้ำหวานในดอกไม้ ยุงยังเป็นแมลงที่เป็นพาหะแพร่เชื้อโรคอีกด้วย เช่น ไข้เลือดออก ยุงทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 3,450 ชนิด แต่พบในประเทศไทยประมาณ 412 ชนิด แต่ที่คุ้นเคยกันดี คือ ยุงก้นปล่อง (Anopheles) และยุงลาย (Aedes).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและยุง · ดูเพิ่มเติม »

รอยโรค

รอยโรคไข้กระต่าย รอยโรค (lesion) เป็นศัพท์ทางการแพทย์หมายถึงเนื้อเยื่อที่ผิดปกติที่พบในสิ่งมีชีวิต มักจะเกิดจากการบาดเจ็บหรือโร.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและรอยโรค · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสืบพันธุ์

ระบบสืบพันธุ์ (reproductive system) เป็นระบบของอวัยวะในร่างกายสิ่งมีชีวิตซึ่งทำงานร่วมกันโดยมีจุดประสงค์เพื่อการสืบพันธุ์เพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตให้มากขึ้น ในระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยสารต่างๆ อาทิ ของเหลว ฮอร์โมน และฟีโรโมนหลายชนิดเพื่อช่วยเหลือในการทำงาน ระบบสืบพันธุ์เป็นระบบซึ่งแตกต่างจากระบบอวัยวะอื่นๆ กล่าวคือระบบเพศของสัตว์ต่างชนิดกันก็มีความแตกต่างกัน ความหลากหลายนี้ก่อให้เกิดการผสมรวมกันของสารพันธุกรรมระหว่างสิ่งมีชีวิตสองตัว เพื่อเพิ่มความสามารถในการดำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อมของลูกหลานต่อไป Body Guide powered by Adam.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและระบบสืบพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบประสาท

ระบบประสาทของมนุษย์ ระบบประสาทของสัตว์ มีหน้าที่ในการออกคำสั่งการทำงานของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย และประมวลข้อมูลที่รับมาจากประสาทสัมผัสต่างๆ และสร้างคำสั่งต่าง ๆ (action) ให้อวัยวะต่าง ๆ ทำงาน (ดูเพิ่มเติมที่ ระบบประสาทกลาง) ระบบประสาทของสัตว์ที่มีสมองจะมีความคิดและอารมณ์ ระบบประสาทจึงเป็นส่วนของร่างกายที่ทำให้สัตว์มีการเคลื่อนไหว (ยกเว้นสัตว์ชั้นต่ำที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เช่น ฟองน้ำ) สารเคมีที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทหรือเส้นประสาท (nerve) เรียกว่า สารที่มีพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin) ซึ่งมักจะมีผลทำให้เป็นอัมพาต หรือตายได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและระบบประสาท · ดูเพิ่มเติม »

ระบบประสาทกลาง

แผนภาพแสดงซีเอ็นเอส:'''1.''' สมอง'''2.''' ระบบประสาทกลาง (สมองและไขสันหลัง) '''3.''' ไขสันหลัง ระบบประสาทกลาง หรือ ระบบประสาทส่วนกลาง หรือ ซีเอ็นเอส (central nervous system; ตัวย่อ: CNS) เป็นโครงสร้างที่ใหญ่ที่สุดของระบบประสาท ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system) ในการควบคุมพฤติกรรม โครงสร้างของระบบประสาทกลางจะอยู่ภายในช่องลำตัวด้านหลัง (dorsal cavity) สมองอยู่ในช่องลำตัวด้านศีรษะ (cranial cavity) และไขสันหลังอยู่ในช่องไขสันหลัง (spinal cavity) โครงสร้างเหล่านี้ถูกปกคลุมด้วยเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง (meninges) สมองยังถูกปกคลุมด้วยกะโหลกศีรษะและไขสันหลังยังมีกระดูกสันหลังช่วยป้องกันการกระทบกระเทือน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและระบบประสาทกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ลำไส้

thumb ในกายวิภาคศาสตร์, ลำไส้ เป็นส่วนหนึงในทางเดินอาหารต่อจากกระเพาะอาหารไปสู่ทวารหนัก ในมนุษย์และสัตว์ส่วนใหญ่ ลำไส้แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่ ในมนษุย์สามารถแบ่งลำไส้เล็กเป็นส่วนๆ ได้แก่ ลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum), ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum), ลำไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum) ส่วนลำไส้ใหญ่แบ่งได้เป็น ลำไส้ใหญ่ส่วนต้น (Cecum) และ ลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย (Colon).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและลำไส้ · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาภูมิคุ้มกัน

วิทยาภูมิคุ้มกัน หรือ วิทยาอิมมูน (immunology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ที่ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันในสิ่งมีชีวิต โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกลไกการทำงานทางสรีรวิทยาของระบบภูมิคุ้มกันทั้งในสภาพร่างกายที่ปรกติและเมื่อเกิดพยาธิสภาพขึ้น พยาธิสภาพอาจจะเกิดจากสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกเช่น เชื้อโรคหรือจากสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ (allergen) รวมทั้งโรคที่มีความผิดปรกติทางระบบภูมิคุ้มกันเช่น โรคภูมิคุ้มกันต่อต้านร่างกายตัวเอง (autoimmune) โรคภูมิคุ้มกันไวผิดปรกติ (hypersensitivity) โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (immunodeficiency) ภาวะการต่อต้านอวัยวะใหม่ (graft rejection) เป็นต้น นอกจากนี้วิชาภูมิคุ้มกันวิทยายังได้ศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับหน้าที่และคุณสมบัติต่างๆ ของระบบภูมิคุ้มกันโดยเฉพาะการทำงานของแอนติบอดี ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์เช่น ในทางการแพทย์ใช้แอนตีบอดีในการวินิจฉัยจากปริมาณสารที่พบในโรคหรือสภาวะบางจากพลาสมาหรือเนื้อเยื่อ และทางการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้นำมาใช้ในการวัดปริมาณของโปรตีนในตัวอย่างทางชีวภาพต่างๆ หมวดหมู่:ชีววิทยา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและวิทยาภูมิคุ้มกัน · ดูเพิ่มเติม »

สมองอักเสบ

มองอักเสบ (encephalitis) เป็นภาวะซึ่งมีการอักเสบเฉียบพลันของสมอง หากเกิดร่วมกับเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรียกว่าเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ อาการที่พบได้เช่นปวดศีรษะ ไข้ สับสน ซึม และอ่อนเพลีย หากเป็นมากอาจมีอาการรุนแรง เช่น ชัก สั่น ประสาทหลอน ความจำเสื่อม เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและสมองอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

สมองอักเสบจากเริม

สมองอักเสบจากเริม (herpesviral encephalitis) เป็นโรคสมองอักเสบอย่างหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ ซึ่งเป็นการติดเชื้อในระบบประสาทกลางอย่างหนึ่งที่พบได้น้อยมากแต่มีอาการรุนแรง Category:เริม Category:สมองอักเสบจากไวรัส.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและสมองอักเสบจากเริม · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจน

สิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจน (anaerobic organism, anaerobe) คือสิ่งมีชีวิตชนิดใด ก็ตาม ที่มีชีวิตอยู่และเติบโตได้โดยไม่ต้องการออกซิเจน บางชนิดอาจได้รับผลเสียหรือถึงขั้นเสียชีวิตเมื่อได้รับออกซิเจน หมวดหมู่:การหายใจระดับเซลล์ หมวดหมู่:จุลชีววิทยา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและสิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจน · ดูเพิ่มเติม »

หู

หู เป็นอวัยวะของสัตว์ที่ใช้การดักคลื่นเสียง เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทการได้ยิน สัตว์แต่ละประเภทจะมีตำแหน่งหูที่แตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและหู · ดูเพิ่มเติม »

หูด

หูด คือโรคผิวหนังชนิดหนึ่งขึ้นเป็นไตแข็ง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและหูด · ดูเพิ่มเติม »

หูดข้าวสุก

หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum) คือโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส Molluscum contagiosum virus (MCV) ทำให้เกิดเป็นตุ่มนูนบนผิวหนัง ขนาดประมาณ 2-5 มิลลิเมตร จะพบมากขึ้นในรายที่มีการติดเชื้อ HIV.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและหูดข้าวสุก · ดูเพิ่มเติม »

หนองในแท้

รคหนองในแท้ (gonorrhea) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อย เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Neisseria gonorrhoeae เชื้อนี้จะทำให้เกิดโรคเฉพาะเยื่อเมือก mucous membrance เช่น เยื่อเมือกในท่อปัสสาวะ ช่องคลอด ปากมดลูก และเยื่อบุมดลูก, ท่อรังไข่, ทวารหนัก, คอ และเยื่อบุตา อาการที่พบได้บ่อยสำหรับผู้ชายคือ ปวดแสบขณะปัสสาวะ และมีหนองสีเหลือง สำหรับผู้หญิง ครึ่งหนึ่งมักไม่มีอาการ หรือ มีตกขาว หรือเลือดผิดปกติ และปวดอุ้งเชิงกราน ทั้งผู้ชายและผู้หญิงถ้าเป็นโรคหนองในแท้โดยที่ไม่ได้รักษา มันสามารถแพร่กระจายเฉพาะที่เกิดเป็นโรค epididymitis หรือ pelvic inflammatory disease หรือ แพร่กระจายตามส่วนต่าง ๆ มีผลต่อข้อและลิ้นหัวใจ การรักษามักใช้ยา ceftriaxone เนื่องจากมีการพัฒนาการดื้อต่อยา(antibiotic resistance) ต่อยาหลายตัวที่ใช้กันก่อนหน้านี้ โดยทั่วไปแล้ว มักใช้ร่วมกับ azithromycin หรือ doxycycline มีเชื้อ gonorrhea บางสายพันธุ์ ดื้อต่อยา ceftriaxone.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและหนองในแท้ · ดูเพิ่มเติม »

อวัยวะ

อวัยวะ เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่มีหน้าที่คล้ายกัน พืชและสัตว์ต้องพึ่งอวัยวะหลายชิ้นในระบบอวัยวะ หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอวัยวะ · ดูเพิ่มเติม »

อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอหิวาตกโรค · ดูเพิ่มเติม »

อาการ

ในทางการแพทย์ อาการ มีความหมายสองอย่างที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพใจดังนี้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอาการ · ดูเพิ่มเติม »

อาการรู้สึกหมุน

อาการรู้สึกหมุน (vertigo) เป็นอาการเวียนศีรษะแบบหนึ่ง ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวทั้งที่จริงๆ แล้วไม่มีการเคลื่อนไหว อาการนี้เป็นผลจากความผิดปกติของระบบควบคุมการทรงตัวในหูชั้นใน อาจพบร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียน ยืนหรือเดินลำบากได้ อาการรู้สึกหมุนนี้อาจแบ่งได้เป็นสามแบบ คือ แบบที่ 1 objective คือผู้ป่วยรู้สึกว่าวัตถุต่างๆ หมุนรอบตัวเอง แบบที่ 2 subjective คือผู้ป่วยรู้สึกว่าตัวเองกำลังมีอาการเคลื่อนไหว และแบบที่ 3 pseudovertigo (อาการรู้สึกหมุนเทียม) คือรู้สึกว่ามีการหมุนอยู่ข้างในศีรษะ สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของอาการรู้สึกหมุนคืออาการหมุนเป็นระยะสัมพันธ์กับการเปลี่ยนท่าชนิดไม่ร้าย การกระทบกระเทือนที่ศีรษะ และไมเกรนของระบบควบคุมการทรงตัว สาเหตุอื่นๆ ที่พบไม่บ่อยเท่าเช่นโรคเมนิแยร์ และเส้นประสาทควบคุมการทรงตัวอักเสบ เป็นต้น การดื่มสุราก็สามารถทำให้มีอาการรู้สึกหมุนได้ การหมุนตัวหลายๆ รอบ เช่นการละเล่นของเด็ก ก็สามารถทำให้เกิดอาการรู้สึกหมุนชั่วคราวได้จากการที่ของเหลวในหูชั้นในยังคงมีการเคลื่อนไหว ("กระฉอก") จากแรงเฉื่อยจากการหมุนได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอาการรู้สึกหมุน · ดูเพิ่มเติม »

อาการแสดง

อาการแสดง (Medical sign) เป็นสิ่งบ่งชี้ที่สังเกตเห็นได้โดยปราศจากอคติ (objectivity) หรือลักษณะที่สามารถตรวจพบได้โดยแพทย์ระหว่างการตรวจร่างกายผู้ป่วย อาการแสดงอาจเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยตรวจไม่พบแต่ไม่ได้ให้ความสนใจ แต่สำหรับแพทย์แล้วมันมีความหมายมาก และอาจช่วยในการวินิจฉัยภาวะความผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุของอาการในผู้ป่วย ตัวอย่างเช่นในภาวะความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยจะมีอาการนิ้วปุ้ม (clubbing of the fingers; ซึ่งอาจเปนอาการแสดงของโรคปอดและโรคอื่นๆ อีกมากมาย) และ arcus senilis.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอาการแสดง · ดูเพิ่มเติม »

อีสุกอีใส

รคอีสุกอีใส (chickenpox, varicella) เป็นโรคติดเชื้อที่ติดต่อได้ง่ายมากโรคหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (VZV) ทำให้ผู้ป่วยมีผื่นซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือเป็นตุ่มพองน้ำขนาดเล็ก มีอาการคัน และแตกแห้งเป็นสะเก็ดในเวลาต่อมา ส่วนใหญ่เริ่มเป็นที่บริเวณหน้าอก หลัง และใบหน้า ต่อมาจึงกระจายไปทั่วตัว ผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วยได้แก่ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ส่วนใหญ่เป็นอยู่ 5-7 วัน ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้ได้แก่ ปอดอักเสบ สมองอักเสบ หรือติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อนที่รอยผื่น เป็นต้น หากเป็นในผู้ใหญ่มักมีอาการรุนแรงกว่าที่เป็นในเด็ก อาการเหล่านี้มักเริ่มมีขึ้นประมาณ 10-21 วัน หลังได้รับเชื้อ เชื้อไวรัสนี้ติดต่อทางอากาศ โดยออกมากับละอองจากการไอหรือจามของผู้ป่วย ซึ่งอาจแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ตั้งแต่ 1-2 วันก่อนเริ่มมีผื่น และสามารถแพร่เชื้อไปได้เรื่อยๆ จนกว่าแผลผื่นจะตกสะเก็ดแห้งและหลุดออกจนหมด นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสตุ่มน้ำได้ด้วย ผู้ป่วยโรคงูสวัดซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสเดียวกันอาจแพร่เชื้อนี้ให้กับผู้อื่นที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ซึ่งจะทำให้ผู้รับเชื้อป่วยด้วยโรคอีสุกอีใสได้ การวินิจฉัยทำได้โดยดูจากประวัติและผลการตรวจร่างกาย ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงเป็นผื่นลักษณะเฉพาะดังกล่าว ในบางรายที่อาการไม่ชัดเจนอาจจำเป็นต้องตรวจด้วยการนำสารน้ำจากตุ่มน้ำหรือจากสะเก็ดไปตรวจหาพันธุกรรมเชื้อไวรัสด้วยวิธีพีซีอาร์ นอกจากนี้การตรวจหาแอนติบอดียังช่วยบอกได้ว่าผู้รับการตรวจนั้นมีภูมิหรือไม่มีภูมิต่อเชื้อนี้ ผู้ป่วยจำนวนมากหลังหายจากอีสุกอีใสแล้วมักไม่เป็นอีก หากได้รับเชื้อนี้ซ้ำมักไม่ทำให้เกิดอาการใดๆ ปัจจุบันมีการผลิตวัคซีนโรคอีสุกอีใสออกใช้ได้ทั่วไป ทำให้จำนวนผู้ป่วยและอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้ลดลงมาก ผู้รับวัคซีน 70-90% จะไม่เป็นโรค และหากเป็นโรคก็ลดความรุนแรงของโรคลงได้มาก หลายประเทศเริ่มกำหนดให้วัคซีนนี้เป็นวัคซีนมาตรฐานที่ทางรัฐสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้ นอกจากนี้แม้จะไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน หากผู้รับเชื้อซึ่งเป็นเด็กได้รับวัคซีนภายใน 3 วันก็ยังมีประโยชน์ช่วยลดการเกิดโรคและลดอาการได้ การรักษาส่วนใหญ่เป็นการบรรเทาอาการ เช่นการใช้โลชั่นคาลาไมน์เพื่อบรรเทาอาการคัน ตัดเล็บให้สั้นเพื่อไม่ให้เกาผื่นจนเกิดแผล และใช้พาราเซตามอลเพื่อลดไข้ ในบางรายที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน อาจจำเป็นต้องให้ยาต้านไวรัสเช่นอะไซโคลเวียร์ อีสุกอีใสเป็นโรคที่พบได้ทั่วโลก ในปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและอีสุกอีใส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและองค์การอนามัยโลก · ดูเพิ่มเติม »

ผิวหนัง

ผิวหนัง คือ สิ่งปกคลุมชั้นนอกที่อ่อนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สิ่งปกคลุมสัตว์อื่น เช่น โครงร่างแข็งภายนอกของสัตว์ขาปล้องมีจุดกำเนิดการเจริญ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีต่างออกไป ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ผิวหนังเป็นอวัยวะใหญ่สุดของระบบผิวหนัง ซึ่งประกอบขึ้นจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์มหลายชั้น และป้องกันกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็นและอวัยวะภายในที่อยู่ข้างใต้ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดมีขนที่ผิวหนังด้วย ผิวหนังเป็นส่วนที่เปิดออกสู่สิ่งแวดล้อมและเป็นด่านป้องกันด่านแรกจากปัจจัยภายนอก ตัวอย่างเช่น ผิวหนังมีบทบาทสำคัญในการปกป้องร่างกายจากจุลชีพก่อโรคProksch E, Brandner JM, Jensen JM.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและผิวหนัง · ดูเพิ่มเติม »

ทวารหนัก

ทวารหนัก (anus) มาจากคำภาษาลาติน anus แปลว่า "วงแหวน" หรือ "วงกลม" เป็นรูเปิดตรงส่วนปลายของทางเดินอาหารของสัตว์ตรงข้ามกับปาก มีหน้าที่ในการควบคุมการปล่อยอุจจาระ, ของกึ่งแข็งที่ไม่เป็นที่ต้องการในระบบย่อยอาหาร ซึ่งขึ้นอยู่กับสัตว์แต่ละชนิด อาจรวมถึง สิ่งที่สัตว์ชนิดนั้นไม่สามารถย่อยได้ เช่น กระดูก, Summary at ส่วนที่เหลือของอาหารหลังสารอาหารถูกนำออกไปหมดแล้ว ตัวอย่างเช่น เซลลูโลสหรือลิกนิน (lignin), สิ่งที่อาจเป็นพิษหากคงอยู่ในทางเดินอาหาร และจุลินทรีย์ในลําไส้ (gut bacteria) ที่ตายแล้วหรือเกินจำเป็นรวมถึงสิ่งมีชีวิตร่วมอาศัย (endosymbiont) อื่น ๆ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน และนก ใช้ช่องเปิดช่องเดียวกันเรียกว่าทวารรวม (cloaca) สำหรับขับถ่ายของเสียทั้งของเหลวและของแข็ง, สำหรับรวมเพศ และสำหรับวางไข่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อยโมโนทรีมมีทวารรวมเช่นกัน คาดว่าเป็นลักษณะที่สืบทอดจากสัตว์มีถุงน้ำคร่ำยุคแรกสุดผ่านสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มเทอแรพซิด (therapsid) สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องมีช่องเปิดเดียวสำหรับขับของเหลวและของแข็ง และเพศเมียมีช่องคลอดแยกสำหรับการสืบพันธุ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่ม placentalia เพศหญิงมีช่องเปิดแยกสำหรับถ่ายอุจจาระ ขับปัสสาวะ และสืบพันธุ์ ส่วนเพศผู้มีช่องเปิดสำหรับอุจจาระและอีกช่องสำหรับทั้งปัสสาวะและสืบพันธุ์ แม้ช่องทางที่ไหลไปยังช่องเปิดนั้นแทบจะแยกกันอย่างสิ้นเชิง การพัฒนาของทวารหนักเป็นขั้นตอนสำคัญในวิวัฒนาการของสัตว์หลายเซลล.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและทวารหนัก · ดูเพิ่มเติม »

ข้อต่อ

้อ หรือ ข้อต่อ (Joints) ในทางกายวิภาคศาสตร์ หมายถึงบริเวณที่กระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมีการติดต่อกัน ทำให้กระดูกมีการทำงานร่วมกันเป็นระบบเพื่อการค้ำจุนปกป้องร่างกายและการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม ข้อต่อในร่างกายมนุษย์มีหลายแบบ และสามารถจัดจำแนกได้ตามลักษณะโครงสร้าง และคุณสมบัติในการเคลื่อนไหว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและข้อต่อ · ดูเพิ่มเติม »

คอหอย

อหอย (pharynx, pharynges) เป็นส่วนหนึ่งของคอ (neck) และช่องคอ (throat) ตั้งอยู่ด้านหลังปากและโพรงจมูก และอยู่บนหลอดอาหาร กล่องเสียงและท่อลม (trachea).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและคอหอย · ดูเพิ่มเติม »

คอหอยอักเสบ

อหอยอักเสบ (Pharyngitis) เป็นการอักเสบบริเวณด้านหลังของช่องคอ จัดเป็นการติดเชื้อทางเดินหายใจชนิดหนึ่ง มักทำให้เกิดอาการเจ็บคอและเป็นไข้ และอาจมีอาการอื่นร่วมด้วยได้แก่ คัดจมูก, ไอ, ปวดหัว, ออกเสียงลำบาก ผู้ป่วยจะมีอาการเหล่านี้อยู่ 3-5 วัน โดยอาจมีการอักเสบอื่นๆร่วมด้วย อาทิ โพรงอากาศอักเสบ และ/หรือ หูชั้นกลางอักเสบ ไวรัสคือสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดอาการคอหอยอักเสบ เด็ก 25% และผู้ใหญ่ 10% ที่เกิดอาการนี้มาสาเหตุมาจากเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ส่วนสาเหตุอื่นๆได้แก่แบคทีเรียจำพวก หนองใน หรือ เห็ดรา หรือสารระคายเคืองจำพวก สารในบุหรี่ เกษรดอกไม้ เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและคอหอยอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

คางทูม

งทูมเป็นโรคติดเชื้อไวรัสอย่างหนึ่งเกิดกับมนุษย์ มีสาเหตุจากไวรัสคางทูม (mumps virus) เคยเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กทั่วโลกก่อนที่จะมีการพัฒนาวัคซีนขึ้นใช้ ปัจจุบันยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศโลกที่สาม และมีการระบาดเป็นครั้งๆ ในประเทศที่พัฒนาแล้ว อาการที่พบบ่อยที่สุดคือมีต่อมน้ำลายโตและเจ็บ ส่วนใหญ่เป็นต่อมน้ำลายพารอทิด (ต่อมน้ำลายหน้าหู) อาจพบมีอัณฑะอักเสบหรือผื่นได้ ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง ในขณะที่ถ้าผู้ป่วยเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่เพศชายอาจมีภาวะแทรกซ้อนเช่นเป็นหมันหรือมีบุตรยากได้ง่ายกว่าในเด็ก แต่โดยรวมก็ยังถือเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบน้อย ส่วนใหญ่โรคนี้เป็นแล้วหายได้เอง ไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาจำเพาะที่นอกเหนือไปกว่าการบรรเทาอาการด้วยยาแก้ปวด อาการนำของคางทูมได้แก่ไข้และปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาการอื่นเช่น ปากแห้ง เจ็บหน้า เจ็บหู หรือหากเป็นรุนแรงอาจมีอาการเสียงแหบ ทั้งนี้ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสคางทูม เกือบ 20% ไม่มีอาการ จึงอาจแพร่เชื่อได้โดยไม่รู้ตัว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและคางทูม · ดูเพิ่มเติม »

งูสวัด

รคงูสวัด เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (varicella-zoster virus) เป็นคนละโรคกับ โรคเริม คนที่เป็นโรคงูสวัดจะต้องเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน เมื่อภูมิต้านทานอ่อนแอลงจึงกลายเป็นโรคงูสวัด มักจะเป็นผื่นตามแนว dermatome (แนวเส้นประสาทของผิวหนัง) และมักจะปวดมาก โรคนี้ไม่ติดต่อระหว่างคนสู่คน แต่การได้รับไวรัสที่พบในตุ่มสามารถก่อโรคสุกใสในผู้ที่ไม่เคยเป็นได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและงูสวัด · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบ บี

ตับอักเสบ บี (hepatitis B) เป็นโรคตับชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งอาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อครั้งแรกส่วนใหญ่ไม่มีอาการ บางรายจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ตัวเหลือง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเข้ม และปวดท้องได้ ส่วนใหญ่อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ประมาณ 2-3 สัปดาห์ และมีเพียงส่วนน้อยที่อาการดำเนินไปอย่างรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตในการติดเชื้อครั้งแรกนี้ ระยะฟักตัวอาจยาวนานได้ถึง 30-180 วัน ผู้ป่วยที่ติดเชื้อนี้ตั้งแต่แรกเกิดจะเกิดตับอักเสบเรื้อรังได้ถึง 90% ในขณะที่ผู้ป่วยที่ติดเชื้อในภายหลังที่อายุมากกว่า 5 ปี จะเกิดตับอักเสบเรื้อรังเพียง 10% ผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบบีส่วนใหญ่จะไม่มีอาการอยู่เป็นเวลานาน แต่ในระยะท้ายๆ อาจเกิดตับแข็งหรือมะเร็งตับขึ้นได้ ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้เป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึง 15-25% ของผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสบี เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคนี้ติดต่อผ่านการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง ในพื้นที่ที่มีความชุกสูง มักพบว่าผู้ป่วยที่พบบ่อยที่สุดคือทารกที่ติดเชื้อจากแม่ในขณะคลอด หรือเด็กที่ได้สัมผัสเลือดของผู้ที่มีเชื้อ ส่วนในพื้นที่ที่มีความชุกต่ำ ผู้ป่วยที่พบบ่อยได้แก่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดและผู้ป่วยที่รับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ การเป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (เช่น ทำงานในโรงพยาบาล) การรับเลือด การฟอกเลือด การใช้ชีวิตอยู่กับผู้ติดเชื้อ การเดินทางไปยังประเทศที่มีความชุกของโรคสูง และการเป็นผู้อาศัยในสถานบำบัด ในสมัยคริสตทศวรรษ 1980 มีผู้ป่วยจำนวนมากได้รับเชื้อผ่านการสักและการฝังเข็ม แต่ปัจจุบันเมื่อเทคโนโลยีปลอดเชื้อเจริญรุดหน้ามากขึ้นก็พบผู้ติดเชื้อผ่านช่องทางเหล่านี้น้อยลง เชื้อไวรัสตับอักเสบบีไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการจับมือ ใช้อุปกรณ์ในการกินอาหารร่วมกัน การจูบ การกอด การไอ จาม หรือการให้นมบุตร ปัจจุบันสามารถตรวจพบเชื้อได้เร็วที่สุดประมาณ 30-60 วันหลังได้รับเชื้อ การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำได้โดยการตรวจเลือดหาชิ้นส่วนของไวรัส (แอนติเจน) และการตรวจหาสารภูมิคุ้มกันต่อไวรัสซึ่งสร้างโดยร่างกายของผู้ติดเชื้อ (แอนติบอดี) ไวรัสนี้เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งจากทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ไวรัสตับอักเสบเอ บี ซี ดี และอี ตั้งแต..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและตับอักเสบ บี · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบ อี

ตับอักเสบ อี (Hepatitis E) เป็นตับอักเสบที่เกิดจากการการติดเชื้อไวรัสที่เรียกว่า hepatitis E virus (HEV) HEV เป็นไวรัส RNA สายเดียวประเภท positive-sense มีรูปทรงแบบ icosahedral และมีขนาดจีโนม 7.5 kilobase HEV ใช้ช่องทางแพร่เชื่อผ่านอุจจาระ/ช่องปาก เป็นไวรัสตับอักเสบหนึ่งในห้าชนิดที่รู้จักกันดี (A, B, C, D และ E) การติดเชื้อที่มีการบันทึกไว้ครั้งแรกเกิดใน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและตับอักเสบ อี · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบจากไวรัส

ตับอักเสบจากไวรัสคือการอักเสบของตับที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส อาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรังได้ เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของตับอักเสบจากไวรัสที่พบบ่อยมี 5 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดไม่มีความเกี่ยวข้องกันโดยตรงทางสายพันธุ์ เพียงแต่ทำให้มีอาการตับอักเสบได้เหมือนกัน ไวรัสเหล่านี้ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบเอ บี ซี ดี และอี นอกจากนี้ยังมีไวรัสอื่นๆ ที่ทำให้เกิดไวรัสตับอักเสบได้ แต่ไม่ได้ถูกเรียกชื่อเป็นไวรัสตับอักเสบโดยเฉพาะ ไวรัสเหล่านี้ เช่น ซัยโตเมกาโลไวรัส เอพสไตน์บาร์ไวรัส ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกีที่ทำให้เกิดไข้เลือดออก เป็นต้น หมวดหมู่:โรคตับ หมวดหมู่:ตับอักเสบ หมวดหมู่:สาเหตุของมะเร็งที่มาจากการติดเชื้อ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและตับอักเสบจากไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ตา

ม่านตา (iris) คือ ส่วนที่มีสีต่างๆกัน thumb ตา คือส่วนรับแสงสะท้อนของร่างกาย ทำให้สามารถมองเห็น และรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวได้ ตาของสัตว์ต่างๆ มีรูปแบบที่ต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นตาของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์ปีก, สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์น้ำ โดยดวงตาของสัตว์ที่พัฒนาแล้ว มักจะมีเพียง 2 ดวง และ อยู่ด้านหน้าของใบหน้า เพื่อการมองเห็นแบบ 3 มิติ ตา คือ อวัยวะที่ทำหน้าที่รับแสง โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีอวัยวะรับแสงที่แตกต่างกัน ตาที่เรียบง่ายที่สุดจะไม่สามารถทำอะไรได้เลยเว้นแต่การรับรู้ว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมืดหรือสว่างเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ เช่น กลางวันหรือกลางคืน เป็นต้น แต่จะไม่สามารถรับรู้ออกมาเป็นภาพได้ ตาที่ซับซ้อนกว่าจะมีรูปทรงและสีที่เป็นเอกลักษณ์ ในระบบตาที่ซับซ้อน ตาแต่ละดวงจะสามารถรับภาพที่มีบริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองสามารถรับรู้ถึงความลึก หรือ ความเป็นสามมิติของภาพ เช่น ระบบตาของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ตาของสัตว์บางชนิด เช่น กระต่ายและกิ้งก่า ได้ถูกออกแบบมาให้มีส่วนของภาพที่ซ้อนทับกันน้อยที่สุด เลนส์ ที่อยู่ส่วนข้างหน้าของตาทำหน้าที่เช่นเดียวกับเลนส์ของกล้อง เมื่อคนเราแก่ตัวลง ตาของคนแก่จะไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และต้องใช้แว่น หรือคอนแทคท์เลนส์ จึงจะสามารถมองเห็นชัดเจนได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและตา · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมหมวกไต

ต่อมหมวกไต อยู่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง ต่อมหมวกไต (adrenal gland,suprarenal gland) เป็นต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ผลิตฮอร์โมนสำคัญๆหลายชนิด เช่น อะดรีนาลิน จะอยู่เหนือไตทั้ง2ข้าง มีหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของโลหิตและการหดตัวของเลือด ต่อมหมวกไตแบ่งได้เป็นสองส่วนคือ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและต่อมหมวกไต · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมน้ำเหลือง

ต่อมน้ำเหลือง หรือ ปุ่มน้ำเหลือง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและต่อมน้ำเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ต่อมน้ำเหลืองโต

รคปุ่มน้ำเหลือง (lymphadenopathy) โรคต่อม (adenopathy) เป็นโรคอย่างหนึ่งของต่อมน้ำเหลือง ทำให้มีความผิดปกติไปของขนาด จำนวน หรือความแข็งของต่อม ซึ่งส่วนใหญ่จะทำให้ต่อมมีขนาดโตขึ้นด้วย จึงนิยมเรียกว่า ต่อมน้ำเหลืองโต สาเหตุที่พบบ่อยคือเกิดจากการอักเสบ เรียกว่า ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ (lymphadenitis) ในทางการแพทย์แล้ว มักไม่นิยมให้ความสำคัญกับการพยายามแยกแยะว่าโรคของต่อมน้ำเหลืองนี้เป็นต่อมน้ำเหลืองโตหรือเป็นต่อมน้ำเหลืองอักเสบ บางครั้งจึงถูกถือว่าเป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน ต่อมน้ำเหลืองโตเป็นอาการแสดงที่พบได้บ่อย และไม่มีความจำเพาะต่อโรคใดๆ เป็นพิเศษ สาเหตุที่พบบ่อยคือการติดเชื้อ (ซึ่งเป็นได้ตั้งแต่การติดเชื้อเล็กน้อย เช่น หวัด ไปจนถึงการติดเชื้อรุนแรง เช่น เอชไอวี) โรคภูมิต้านตนเอง และมะเร็ง นอกจากนี้ยังอาจไม่มีสาเหตุ และหายเองได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและต่อมน้ำเหลืองโต · ดูเพิ่มเติม »

ซิฟิลิส

ซิฟิลิส (syphilis) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคหนึ่ง มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Treponema pallidum ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายอย่างขึ้นกับระยะที่เป็น (ระยะแรก ระยะที่สอง ระยะแฝง และระยะที่สาม) ระยะแรกผู้ป่วยมักมีแผลริมแข็ง ซึ่งจะไม่เจ็บ แต่อาจมีแผลเจ็บขึ้นต่างหากได้ ระยะที่สองมักมีผื่นขึ้นทั่วตัว มักพบที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า อาจมีแผลเจ็บในปากหรือในช่องคลอดได้ บางครั้งอาจเรียกว่า "ระยะออกดอก"สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ 10 / เรื่องที่ 2 โรคติดต่อและโรคเขตร้อน / โรคติดต่อทางเพศสัมพัน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและซิฟิลิส · ดูเพิ่มเติม »

ซูโดะกุ

กการเล่นพื้นฐานต่าง ๆ ของซูโดะกุแบบปกติแล้ว นอกจากนี้ ยังมีลูกเล่นต่าง ๆ ของซูโดะกุทำให้เพิ่มลูกเล่นมากขึ้น และมีรูปแบบต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและซูโดะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ปรสิต

ปรสิต (parasite) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่อาศัยผู้อื่นหรือเซลล์ชนิดอื่นเป็นที่พักอาศัยและแหล่งอาหาร และบางครั้งทำร้ายสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์นั้นหรือเซลล์ภายในจนเจ็บป่วยหรือถึงกับเสียชีวิต เช่น การอาศัยอยู่สิ่งมีชีวิตชั้นต่ำในร่างกายมนุษย์ ตัวอย่าง พยาธิ เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและปรสิต · ดูเพิ่มเติม »

ปรสิตวิทยา

ปรสิตวิทยา (Parasitology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปรสิต ซึ่งมีรูปแบบการดำรงชีพโดยเป็นตัวเบียนของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน พยาธิใบไม้ หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง หมวดหมู่:ชีววิทยา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและปรสิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ปลิง

ปลิง (Aquatic Leech) และ ทากดูดเลือด (Land Leech) จัดอยู่ในไฟลัมแอนเนลิดา ลักษณะลำตัวเป็นข้อปล้องและยืดหยุ่น ชอบอยู่ในน้ำนิ่งตามหนอง (สำหรับปลิง) และอยู่ตามพื้นที่ชื้นแฉะเช่นบริเวณป่าดงดิบเขตร้อน (สำหรับทากดูดเลือด) ดำรงชีพโดยการดูดเลือดสัตว์อื่น รวมทั้งเลือดมนุษย์เป็นอาหาร.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและปลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปอดบวม

รคปอดบวม (pneumonia) หรือ โรคปอดอักเสบ (pneumonitis) เป็นโรคของระบบหายใจอย่างหนึ่งซึ่งมีการอักเสบของปอด โดยเฉพาะของถุงลม ทำให้มีไข้ มีอาการทางปอด มีการสูญเสียของพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซ ซึ่งเห็นได้จากการเอกซเรย์ปอด ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือพยาธิ เชื้อแบคทีเรียชื่อ "นิวโมคอคคัส" (Pneumococcal Disease) เป็นสาเหตุหลัก http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/31524 แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่นได้รับสารเคมีหรือการกระทบกระเทีอนทางกายภาพได้เช่นกัน ผู้ป่วยโรคปอดบวมจะมีอาการโดยทั่วไปได้แก่ ไอ เจ็บหน้าอก มีไข้สูง และหายใจหอบ การวินิจฉัยจะกระทำโดยการถ่ายภาพเอกซเรย์ปอดและการตรวจเสมหะ ปอดบวมบางชนิดมีวัคซีนป้องกัน ส่วนวิธีการรักษาจะขึ้นกับสาเหตุของโรค เช่น โรคปอดบวมจากเชื้อแบคทีเรียจะรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะ ในอดีตปอดบวมเป็นโรคที่ร้ายแรงมากจนเคยมีคำกล่าวว่าปอดบวมเป็น "นายของสาเหตุการตายของมนุษย์" (ศตวรรษที่ 19 วิลเลียม ออสเลอร์) แต่หลังจากที่มีการคิดค้นการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและวัคซีนในศตวรรษที่ 20 ทำให้ผลการรักษาปอดบวมดีขึ้นมาก อย่างไรก็ดีปอดบวมยังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยอายุน้อย และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมถึงผู้ป่วยในโลกที่สามด้ว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและปอดบวม · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรีย

แบคทีเรีย หรือ บัคเตรี เป็นประเภทของสิ่งมีชีวิตประเภทใหญ่ประเภทหนึ่ง มีขนาดเล็ก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่มีเซลล์เดียว และมีโครงสร้างเซลล์ที่ไม่ซับซ้อนมาก และโดยทั่วไปแบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแบคทีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียแกรมลบ

รงสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบภาพจากกล้องจุลทรรศน์ของแบคทีเรียแกรมลบ ''Pseudomonas aeruginosa'' (ท่อนสีชมพู-แดง). แบคทีเรียแกรมลบ (Gram-negative bacteria) เป็น แบคทีเรีย ที่ไม่สามารถรักษาสีคริสทัลไวโอเลต ในการย้อมสีแบบแกรมได้ ในการย้อมสีแบบแกรม สีตรงข้าม (ปกติคือ ซาฟรานิน) ซึ่งเติมทีหลังคริสทัลไวโอเลต จะติดสีแบคทีเรียแกรมลบให้เป็นสีแดงหรือสีชมพู วิธีนี้เป็นประโยชน์ในการจำแนกแบคทีเรียขั้นต้น โดยใช้ความแตกต่างของผนังเซลล์ แบคทีเรียแกรมบวก จะยังคงรักษาสีม่วงของคริสตัลไวโอเลตได้แม้จะใช้สารชะสีออกแล้ว ความสามารถในการก่อโรคของแบคทีเรียแกรมลบเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบ ชั้นของลิโปโพลีแซคคาไรด์ (หรือ LPS หรือ ชั้นเอนโดทอกซิน).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแบคทีเรียแกรมลบ · ดูเพิ่มเติม »

แมลง

แมลง (Insect) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา จำแนกออกเป็นไฟลัมต่าง ๆ ได้ 13 กลุ่ม มีลักษณะสำคัญคือมีลำตัวเป็นปล้องคล้อง ซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 หรือ 3 ส่วน สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ลำตัวทั้งสองด้านซ้ายขวามีความเหมือนและมีขนาดเท่ากัน มีเปลือกห่อหุ้มลำตัวด้วยสารไคติน (Chitinous Exoskeleton) ไม่มีขน หายใจแบบใช้เหงือกหรือใช้รูหายใจ มีวัฎจักรวงจรชีวิตในการเจริญเติบโตแบบไข่ มีการลอกคราบเป็นบางครั้งแล้วสร้างผนังหรือเปลือกห่อหุ้มลำตัวใหม่ มีรยางค์เป็นคู่และเป็นปล้อง ส่วนใหญ่นักกีฏวิทยามักใช้รยางค์ในการแบ่งเพศผู้เพศเมียของแมลง มีอวัยวะภายในที่มีท่อทางเดินอาหารเป็นท่อยาวตลอดจากปากไปถึงทวารหนัก ระบบเลือดเป็นแบบเปิดและมีท่อเลือดอยู่ทางด้านสันหลังเหนือระบบทางเดินอาหาร มีระบบประสาทที่ประกอบไปด้วยสมองอยู่เหนือท่ออาหาร มีเส้นประสาทขนาดใหญ่หนึ่งคู่เชื่อมต่อจากสมอง มีการรวมตัวเป็นระยะก่อเกิดเป็นปมประสาท เส้นประสาทขนาดใหญ่ของแมลง จะอยู่ทางด้านล่างของลำตัวใต้ท่ออาหาร มีกล้ามเนื้อแบบเรียบอยู่ตามลำตัวบทปฏิบัติการกีฎวิทยาเบื้องต้น, ภาควิชากีฎวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ร. ดร.สาวิตรี มาไลยพันธุ์, สำนักพิมพ์รั้วเขียว,..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแมลง · ดูเพิ่มเติม »

แผลบูรูลี

แผลบูรูลี (หรือที่รู้จักในชื่อของ แผลแบนสเดล แผลเซอลส์ หรือ แผลเดนทรี) เป็นโรคติดเชื้อ สาเหตุมาจากแบคทีเรียที่ชื่อ ไมโคแบคทีเรียม อัลเซอแรน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแผลบูรูลี · ดูเพิ่มเติม »

แผลริมอ่อน

แผลริมอ่อน (chancroid, soft chancre, ulcus molle) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Haemophilus ducreyi ผู้ป่วยจะมีแผลที่อวัยวะเพศและเจ็บ หมวดหมู่:การติดเชื้อที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นส่วนใหญ่ หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแผลริมอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

แผลริมแข็ง

แผลริมแข็ง (chancre) เป็นแผลที่ไม่เจ็บ เกิดขึ้นในผู้ป่วยซิฟิลิสระยะแรก แผลนี้ติดต่อได้ และมักเกิดขึ้นประมาณ 21 วัน หลังจากรับเชื้อ Treponema pallidum ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบชนิดเกลียวที่เป็นสาเหตุของซิฟิลิส หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย หมวดหมู่:อาการแสดง หมวดหมู่:ซิฟิลิส.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและแผลริมแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

โบทูลิซึม

ทูลิซึม (Botulism) เป็นโรคที่เกิดจากพิษของแบคทีเรียสายพันธุ์ Clostridium botulinum ซึ่งอาจมีอันตรายรุนแรงถึงเสียชีวิตได้ อาการแรกเริ่มคืออ่อนแรง การมองเห็นผิดปกติ รู้สึกอ่อนล้า และพูดลำบาก จากนั้นอาจตามมาด้วยอาการอ่อนแรงของแขน กล้ามเนื้อหน้าอก และขา ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีการรู้สึกตัวดี และไม่มีไข้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโบทูลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

โพรโทซัว

รโทซัว (protozoa) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็กที่จัดได้ว่ามีความสำคัญมากในระบบนิเวศ สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งน้ำจืด และน้ำเค็ม รวมทั้งบริเวณที่ชื้นแฉะ ยังพบว่าอาศัยอยู่ในร่างกายของสัตว์บกอีกหลายชนิด มีทั้งที่เป็นโทษและมีประโยชน์ โพรโทซัวนั้นมีทั้งที่สามารถสร้างอาหารได้เอง เช่น พวกที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ซึ่งมักจะสีเขียวของคลอโรฟิลล์ และพวกไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ การเพิ่มขึ้นของโพรโทซัวอย่างรวดเร็วหรือการบลูมขึ้นมา จะทำให้เกิดปรากฏการณ์ red tide ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำบริเวณนั้น ความเป็นพิษเกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม และถูกขับออกมาละลายอยู่ในน้ำ โดยพิษจะมีผลให้สัตว์น้ำเป็นอัมพาต.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโพรโทซัว · ดูเพิ่มเติม »

โยนี

นี (vulva) ประกอบด้วยแคม ทั้งแคมใหญ่และแคมเล็ก, ปุ่มกระสัน, ปากของ"ท่อปัสสาวะ" (urethra), และปากช่องคลอ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโยนี · ดูเพิ่มเติม »

โรค

รค เป็นสภาวะผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจของสิ่งมีชีวิตซึ่งทำให้การทำงานของร่างกายเสียไปหรืออาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิต โรคยังอาจหมายถึงภาวะการทำงานของร่างกายซึ่งทำให้เกิดอันตรายแก่ตัวเอง ซึ่งจะแสดงออกมาเป็นอาการหรืออาการแสดงต่อโรคนั้นๆ ในมนุษย์ คำว่าโรคอาจมีความหมายกว้างถึงภาวะใดๆ ก็ตามที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด, การทำหน้าที่ผิดปกติ, ความกังวลใจ, ปัญหาสังคม หรือถึงแก่ความตาย ซึ่งมีผลกระทบต่อผู้ได้รับผลหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โรคอาจถูกใช้เพื่อเรียกการบาดเจ็บ, ความพิการ, ความผิดปกติ, กลุ่มอาการ, การติดเชื้อ, อาการ, พฤติกรรมเบี่ยงเบน, และการเปลี่ยนแปรที่ผิดปกติของโครงสร้างหรือหน้าที่การทำงานในประชากรมนุษ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรค · ดูเพิ่มเติม »

โรคบิดจากเชื้อชิเกลลา

รคบิดจากเชื้อชิเกลลา (shigellosis) หรือ โรคบิดไม่มีตัว เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียอย่างหนึ่ง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการท้องร่วง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Shigella มักเริ่มมีอาการในช่วง 1-2 วันหลังได้รับเชื้อ โดยจะมีอาการท้องร่วง ไข้ ปวดท้อง และเจ็บขณะถ่ายอุจจาระ อาจมีเลือดปนมากับอุจจาระได้ ส่วนใหญ่จะเป็นอยู่ 5-7 วัน ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ข้ออักเสบหลังการติดเชื้อ ติดเชื้อในกระแสเลือด ชัก และกลุ่มอาการเม็ดเลือดแดงแตกยูรีเมีย โรคนี้เกิดจากเชื้อ Shigella สี่ชนิด ส่วนใหญ่ติดต่อผ่านการมีเชื้อปนเปื้อนออกมากับอุจจาระของผู้ป่วย ช่องทางอื่นได้แก่ อาหาร น้ำ หรือมือที่ปนเปื้อนเชื้อ อาจมาพร้อมกับแมลงวันหรือติดมือมาขณะเปลี่ยนผ้าอ้อมให้เด็กที่ป่วย การวินิจฉัยนอกจากอาการแล้วสามารถยืนยันได้โดยการเพาะเชื้อจากอุจจาระของผู้ป่วย โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน การป้องกันทำได้โดยการล้างมือ เมื่อป่วยแล้วส่วนใหญ่สามารถหายได้เอง แนะนำให้ดื่มน้ำให้เพียงพอและพักผ่อนมากๆ ยาลดกรดแก้ท้องอืดบางชนิดเช่นบิสมัทซับซาลิซิเลตอาจช่วยบรรเทาอาการได้ แต่ไม่ควรใช้ยาที่ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ เช่น โลเปอราไมด์ เนื่องจากมีผลเสียมากกว่า ผู้ป่วยบางรายที่มีอาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะ แต่พบการดื้อยาได้บ่อย ยาปฏิชีวนะที่ใช้บ่อยได้แก่ ซิโปรฟล็อกซาซิน และอะซิโทรมัยซิน ในหนึ่งปีทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคบิดจากเชื้อชิเกลลาประมาณ 80 ล้านคน เสียชีวิตประมาณ 700,000 คน ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา และส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็ก บางครั้งอาจพบโรคนี้ระบาดในศูนย์เลี้ยงเด็กหรือโรงเรียน และพบได้ค่อนข้างบ่อยในนักเดินทาง ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยโรคนี้ประมาณหนึ่งล้านคนต่อปี.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคบิดจากเชื้อชิเกลลา · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิแส้ม้า

Trichuriasis หรือ โรคพยาธิแส้ม้า เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากพยาธิที่ชื่อว่า:en:Trichuris trichiura (พยาธิแส้ม้า) หากพยาธิมีเพียงไม่กี่ตัว ก็มักจะไม่มีอาการใดๆ ส่วนผู้ที่ติดเชื้อพยาธิจำนวนมาก อาจมีอาการปวดท้อง, อ่อนเพลียและท้องร่วง บางครั้งในผู้ที่ท้องร่วงรุนแรงอาจถ่ายเป็นมูกได้ เด็กที่ติดเชื้อพยาธิอาจมีความเสื่อมถอยทางสติปัญญาและพัฒนาการทางกายภาพ การสูญเสียเลือดอาจก่อให้เกิดระดับเซลล์เม็ดเลือดแดงต่ำ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคพยาธิแส้ม้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิไส้เดือน

รคพยาธิไส้เดือน เป็นโรคของมนุษย์ซึ่งเกิดจากพยาธิไส้เดือน (Ascaris lumbricoides) ประมาณกันว่าหนึ่งในสี่ของประชากรโลกมีการติดเชื้อพยาธิดังกล่าว โรคพยาธิไส้เดือนมักเกิดในเขตร้อนและในบริเวณที่สุขลักษณะไม่ดี การติดเชื้อพยาธิไส้เดือนมักเกิดจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนไข่พยาธิ ตัวอ่อนของพยาธิจะออกมาจากไข่และไชผ่านผนังลำไส้ เข้าไปสู่ปอด และออกมายังทางเดินหายใจ ก่อนจะถูกกลืนกลับเข้าไปและเจริญเป็นตัวเต็มวัยในลำไส้ซึ่งมีความยาวถึง 30 เซนติเมตร (ประมาณ 12 นิ้ว) เกาะติดกับผนังของลำไส้ ผู้ที่ติดเชื้อพยาธิไส้เดือนอาจไม่มีอาการหากมีการติดเชื้อในปริมาณน้อย ผู้ป่วยที่มีอาการมีการอักเสบ ไข้ และท้องเสีย และมีอาการแทรกซ้อนจากการไชไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกายของพยาธิตัวอ่อน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคพยาธิไส้เดือน · ดูเพิ่มเติม »

โรคพิษสุนัขบ้า

รคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำ (rabies, hydrophobia) เป็นโรคไวรัสที่ทำให้เกิดการอักเสบเฉียบพลันของสมองในมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่นชนิดอื่น อาการเริ่มต้นมีไข้และอาการเป็นเหน็บ ณ ตำแหน่งสัมผัส อาการเหล่านี้ตามด้วยอาการต่อไปนี้อย่างหนึ่งหรือมากกว่า ได้แก่ การเคลื่อนไหวรุนแรง ความตื่นเต้นควบคุมไม่ได้ กลัวน้ำ ไม่สามารถขยับร่างกายบางส่วน สับสนและไม่รู้สึกตัว เมื่อเกิดอาการแล้ว จะลงเอยด้วยถึงแก่ชีวิตแทบทั้งสิ้น ช่วงเวลาระหว่างการติดต่อโรคและการเริ่มแสดงอาการนั้นปกติระหว่างหนึ่งถึงสามเดือน ทว่า ช่วงเวลานี้มีได้ตั้งแต่น้อยกว่าหนึ่งสัปดาห์จนถึงกว่าหนึ่งปี เวลานี้ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ไวรัสเข้าระบบประสาทส่วนกลาง โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากลิสซาไวรัส (lyssavirus) ได้แก่ ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า (rabies virus) และลิสซาไวรัสค้างคาวออสเตรเลีย (Australian bat lyssavirus) โรคพิษสุนัขบ้าแพร่เมื่อสัตว์ที่ติดเชื้อข่วนหรือกัดสัตว์อื่นหรือมนุษย์ น้ำลายจากสัตว์ที่ติดเชื้อยังสามารถส่งผ่านโรคพิษสุนัขบ้าได้หากสัมผัสกับตา ปากหรือจมูก ทั่วโลก หมาเป็นสัตว์ที่เกี่ยวข้องมากที่สุด ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้ากว่า 99% ในประเทศที่หมามีโรคเป็นปกติเกิดจากหมากัด ในทวีปอเมริกา ค้างคาวกัดเป็นแหล่งที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในมนุษย์ และผู้ป่วยน้อยกว่า 5% มาจากหมา สัตว์ฟันแทะติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าน้อยมาก ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าเดินทางไปสมองโดยตามประสาทส่วนปลาย โรคนี้สามารถวินิจฉัยได้หลังเริ่มแสดงอาการแล้วเท่านั้น โครงการควบคุมสัตว์และให้วัคซีนลดความเสี่ยงของโรคพิษสุนัขบ้าจากหมาในหลายภูมิภาคของโลก มีการแนะนำให้การสร้างภูมิคุ้มกันแก่บุคคลก่อนสัมผัสสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงสูงมีผู้ที่ทำงานกับค้างคาวหรือผู้ที่ใช้เวลานานในพื้นที่ของโลกที่มีโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปกติ ในผู้ที่สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้าและบ้างทีอิมมูโนโกลบูลินโรคพิษสุนัขบ้ามีผลป้องกันโรคหากบุคคลได้รับการรักษาก่อนเริ่มมีอาการโรคพิษสุนัขบ้า การล้างแผลถูกกัดและข่วนด้วยน้ำสบู่ โพวิโดนไอโอดีนหรือสารชะล้างเป็นเวลา 15 นาทีอาจลดจำนวนอนุภาคไวรัสและอาจมีผลบ้างในการป้องกันการแพร่เชื้อ มีเพียงไม่กี่คนที่รอดชีวิตจากการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าหลังแสดงอาการ และได้รับการรักษาใหญ่ที่เรียก มิลวอกีโพรโทคอล (Milwaukee protocol) โรคพิษสุนัขบ้าเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 26,000 ถึง 55,000 คนต่อปี การเสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้ากว่า 95% เกิดในทวีปแอฟริกาและเอเชีย โรคพิษสุนัขบ้าพบในกว่า 150 ประเทศและทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา กว่า 3 พันล้านคนอาศัยอยู่ในบริเวณของโลกที่พบโรคพิษสุนัขบ้า หลายประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น สหรัฐและยุโรปตะวันตก ไม่มีโรคพิษสุนัขบ้าในหมา หลายประเทศเกาะขนาดเล็กไม่มีโรคพิษสุนัขบ้าเล.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคพิษสุนัขบ้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคฝีดาษ

ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ. 2519 สำหรับประเทศไทยมีการบันทึกไว้ว่าระบาดครั้งสุดท้ายปี พ.ศ. 2504 องค์การอนามัยโลกได้เลิกฉีดวัคซีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคฝีดาษ · ดูเพิ่มเติม »

โรคมือ เท้า และปาก

รคมือ เท้า และปาก (Hand, foot and mouth disease) เป็นโรคติดเชื้อในมนุษย์ เกิดจากไวรัสในแฟมิลีพิคอร์นาไวริดี ซึ่งสายพันธุ์ที่ทำให้เกิดโรคนี้ที่พบบ่อยที่สุดคือไวรัสคอกแซคกี เอ และ Enterovirus 71 เชื้อก่อโรคที่พบบ่อยที่สุดคือ ค็อกแซกกีเอชนิด 16 ซึ่งทำให้เกิดอาการที่ไม่รุนแรง และหายได้เองเป็นส่วนใหญ่ ที่พบน้อยแต่รุนแรงคือ ไวรัสเอนเทอโรชนิด 71 โรคมือ เท้า และปากส่วนใหญ่พบในเด็ก เป็นโรคที่พบได้บ่อย การติดต่อค่อนข้างง่ายผ่านทางการสัมผัสสารคัดหลั่ง เช่น น้ำลาย หรืออุจจาระของผู้ป่วย โรคนี้ส่วนใหญ่ติดต่อจากการกินอาหาร น้ำดื่ม การดูดเลียนิ้วมือ หรือของเล่นที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมากับอุจจาระน้ำเหลืองจากตุ่มน้ำที่ผิวหนัง หรือละอองน้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย พบน้อยที่จะติดต่อโดยการสูดเอาละอองน้ำมูกน้ำลายที่ผู้ป่วยไอหรือจามรด มักมีการระบาดเป็นกลุ่มเล็กในสถานเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนอนุบาล ส่วนใหญ่พบในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูใบไม้ร่วง ระยะฟักตัวประมาณ 3-7 วัน โรคนี้พบน้อยในผู้ใหญ่ แต่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอาจติดเชื้อได้ง่าย โรคนี้เป็นคนละโรคกับโรคเท้าและปาก (Foot-and-mouth disease) ซึ่งเกิดกับวัว แกะ แม้จะเกิดจากไวรัสในแฟมิลีพิคอร์นาไวริดีเหมือนกันก็ตาม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคมือ เท้า และปาก · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบบหัวใจหลอดเลือด

รคหัวใจและหลอดเลือดหมายถึงโรคใดๆที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด, โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดไต, และโรคหลอดเลือดแดงส่วนปล.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคระบบหัวใจหลอดเลือด · ดูเพิ่มเติม »

โรคริดสีดวงตา

รคริดสีดวงตา เรียกอย่างอื่นว่า เยื่อตาอักเสบชนิดมีตุ่ม (granular conjunctivitis) ตาอักเสบรุนแรงอียิปต์ (Egyptian ophthalmia) และ โรคริดสีดวงตาขั้นถึงตาบอด (blinding trachoma) เป็นโรคติดเชื้ออันมีสาเหตุมาจากแบคทีเรียชนิด Chlamydia trachomatis การติดเชื้อดังกล่าวเป็นสาเหตุให้เกิด การหยาบขรุขระขึ้น ที่ผิวด้านในของเปลือกตา ซึ่งผิวที่หยาบขรุขระขึ้นสามารถนำไปสู่อาการเจ็บปวดในดวงตา เกิดการเสียสภาพของผิวด้านนอกหรือ กระจกตา ของดวงตาและอาจจนถึงขั้นตาบอด แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคดังกล่าวสามารถแพร่กระจายโดยการสัมผัสทางตรงและทางอ้อมกับตาหรือจมูกของผู้เป็นโรค การสัมผัสทางอ้อมนั้นรวมไปถึงการสัมผัสผ่านทางเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มหรือแมลงวันที่เกิดไปสัมผัสกับตาหรือจมูกของผู้เป็นโรค ปกติแล้ว ต้องเกิดการติดเชื้อหลายครั้งเป็นระยะเวลานานหลายปีก่อนจะถึงขั้นที่แผลเป็นที่เกิดบนเปลือกตาเป็นหนักจน ขนตา เริ่มเสียดสีดวงตา เด็กจะแพร่กระจายโรคได้มากกว่าผู้ใหญ่ ระบบสุขาภิบาลที่ไม่ดีนัก สภาพความเป็นอยู่ที่แออัด ขาดน้ำหรือห้องสุขาที่สะอาด เหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายได้มากขึ้นเช่นกัน มีการพยายามหาหนทางต่าง ๆ ในอันที่จะป้องกันโรคดังกล่าว ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงให้มีน้ำสะอาดใช้ ลดจำนวนผู้ที่ติดเชื้อโดยการรักษาด้วย ยาปฏิชีวนะ ซึ่งอาจรวมถึงการรักษากลุ่มคนที่โรคดังกล่าวเป็นที่ทราบว่าเป็นกันมาก โดยการรักษาทีเดียวพร้อมกัน ลำพังเฉพาะการชำระล้างให้สะอาดนั้นไม่เพียงพอที่จะป้องกันโรคได้ แต่อาจมีประโยชน์หากกระทำพร้อมกับมาตรการอื่น ๆ ทางเลือกในการรักษารวมไปถึงการให้ ยาอะซิโทรไมซิน ทางปากหรือ ยาเททราไซคลีนเป็นยาป้ายภายนอก โดยยาอะซิโทรไมซินเป็นทางเลือกที่ดีกว่าเนื่องจากสามารถใช้เป็นยาให้ทางปากเพียงครั้งเดียว หลังจากที่เกิดแผลเป็นที่เปลือกตา อาจจำเป็นต้องใช้ศัลยกรรมเพื่อตกแต่งตำแหน่งขนตาเสียใหม่และเพื่อป้องกันตาบอด ในโลกมีประมาณ 80 ล้านคนที่ยังไม่หายจากการติดเชื้อดังกล่าว ในบางพื้นที่อาจมีการติดเชื้อดังกล่าวมากถึงร้อยละ 60–90 ของจำนวนเด็กและยิ่งพบทั่วไปในหญิงมากกว่าชายอันเนื่องจากมีโอกาสสัมผัสใกล้ชิดกับเด็ก ๆ โรคดังกล่าวเป็นสาเหตุทำให้คนเป็นจำนวนถึง 2.2 ล้านคนหย่อนสมรรถภาพในการมองเห็น ในจำนวนนั้นมี 1.2 ล้านคนที่ตาบอดสนิท เป็นโรคที่พบทั่วไปใน 53 ประเทศในทวีปต่าง ๆ คืออาฟริกา เอเชีย อเมริกากลางและอเมริกาใต้ โดยมีประมาณ 230 ล้านคนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งเป็นผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจถึง 8 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปี โรคดังกล่าวจัดอยู่ในกลุ่มโรคที่ทราบกันในชื่อว่า โรคเขตร้อนที่ถูกละเล.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคริดสีดวงตา · ดูเพิ่มเติม »

โรคสมอง

โรคสมอง (encephalopathy) หมายถึงกลุ่มของโรคต่างๆ ที่ทำให้เกิดการเสียการทำงานของสมอง ซึ่งมีสาเหตุแตกต่างกันไป อาจหมายถึงโรคหรืออาการก็ได้แล้วแต่บริบท หมวดหมู่:โรคของสมอง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคสมอง · ดูเพิ่มเติม »

โรคหัด

รคหัด (measles) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อไวรัสหัด ในระยะแรกผู้ป่วยจะมีไข้ ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) ไอ น้ำมูกไหลจากเยื่อจมูกอักเสบ และตาแดงจากเยื่อตาอักเสบ ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่าจุดของคอปลิก จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วันสามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ ท้องร่วง ตาบอด สมองอักเสบ ปอดอักเสบ และอื่นๆ โรคนี้เป็นคนละโรคกับโรคหัดเยอรมันและหัดกุหลาบ โรคหัดติดต่อทางอากาศ เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและการจามของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคหัด · ดูเพิ่มเติม »

โรคหัดเยอรมัน

รคหัดเยอรมัน หรือโรคเหือด (Rubella, German measles) หรือโรคหัดสามวัน (three-day measles) เป็นการติดเชื้อเกิดจากไวรัสหัดเยอรมัน โรคนี้มักไม่ร้ายแรงโดยผู้ป่วยครึ่งหนึ่งไม่รู้สึกตัวว่าป่วย ผื่นอาจเริ่มมีราวสองสัปดาห์หลังสัมผัสเชื้อและอยู่นานสามวัน ปกติเริ่มบนหน้าแล้วแพร่ไปร่างกายที่เหลือ ผื่นของโรคหัดเยอรมันสีไม่สดเท่าผื่นของโรคหัดและบ้างคัน พบปุ่มน้ำเหลืองบวมได้ทั่วไปและอาจอยู่นานหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ อาจมีไข้ เจ็บคอและความล้า ในผู้ใหญ่ อาการปวดข้อพบได้บ่อย อาการแทรกซ้อนอาจรวมปัญหาเลือดออก อัณฑะบวม และการอักเสบของเส้นประสาท การติดเชื้อระหว่างช่วงต้นของการตั้งครรภ์อาจส่งผลให้เด็กเกิดมามีกลุ่มอาการโรคหัดเยอรมันแต่กำเนิด (CRS) หรือแท้ง อาการของ CRS มีปัญหาเกี่ยวกับตา เช่น ต้อกระจก หู เช่น หูหนวก หัวใจและสมอง พบปัญหาน้อยหลังสัปดาห์ที่ 20 ของการตั้งครรภ์ โรคหัดเยอรมันปกติแพร่ผ่านอากาศโดยทางการไอของผู้ที่ติดเชื้อ บุคคลแพร่เชื้อได้ระหว่างหนึ่งสัปดาห์ก่อนและหลังผื่นปรากฏ ทารกที่เป็น CRS อาจแพร่ไวรัสได้กว่าหนึ่งปี มีเฉพาะมนุษย์ที่ติดเชื้อ แมลงไม่แพร่โรค เมื่อฟื้นตัวแล้ว บุคคลจะมีภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อในอนาคต มีการทดสอบซึ่งสามารถพิสูจน์ยืนยันภูมิคุ้มกันได้ ยืนยันการวินิจฉัยโดยการพบไวรัสในเลือด คอหรือปัสสาวะ การทดสอบเลือดหาแอนติบอดีอาจเป็นประโยชน์ด้วย โรคหัดเยอรมันป้องกันได้ด้วยวัคซีนโรคหัดเยอรมันเพียงขนาดยาเดี่ยว - วัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคหัดเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรคจากไข่พยาธิตัวตืด

รคจากไข่พยาธิตัวตืด (cysticercosis, neurocysticercosis) เป็นโรคติดเชื้อปรสิตหรือพยาธิชนิดหนึ่ง โรคนี้เป็นสาเหตุของโรคติดเชื้อปรสิตในระบบประสาทส่วนกลางที่พบมากที่สุดทั่วโลก ผู้ป่วยจะเป็นโรคนี้ได้จากการกินเอาไข่ของพยาธิตืดหมู Taenia solium เข้าไป แบ่งได้เป็นชนิดที่มีการติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง (neurocysticercosis) และติดเชื้อนอกระบบประสาท (extraneural cysticercosis) โรคจากไข่พยาธิตัวตืด คือการติดเชื้อของเนื้อเยื่อโดยมีสาเหตุจาก ตัวอ่อน (cysticercus) ของพยาธิตืดหมู (Taenia solium) อาจปรากฎอาการเพียงเล็กน้อยหรือว่าไม่มีอาการเลยเป็นปีๆ โดยในบางคนอาจจะเกิดเป็นตุ่มที่ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อขนาดหนึ่งหรือสองเซ็นติเมตรและไม่รู้สึกเจ็บปวด หากว่ามีการติดเชื้อที่สมองอาจจะเป็น อาการทางสมอง  หลังจากที่มีตุ่มขึ้นนานหลายเดือนหรือหลายปี อาจจะรู้สึกเจ็บที่ตุ่มเหล่านั้น ตุ่มจะบวมและค่อยๆ ยุบลง --> ในประเทศที่กำลังพัฒนา โรคนี้เป็นหนึ่งในสาเหตุที่พบได้มากที่สุดของโรคชัก โดยปกติมักเกิดจากการกินอาหารหรือน้ำที่มีไข่ของพยาธิตัวตืดปนเปื้อนอยู่ --> แหล่งที่พบส่วนใหญ่คือในผักที่ไม่ได้ปรุงสุก  ไข่ของพยาธิตัวตืดมาจาก อุจจาระของผู้ที่มีพยาธิที่โตเต็มวัยอยู่ในร่างกายซึ่งอาการนี้จะเรียกว่าโรคพยาธิตัวตืด โรคพยาธิตัวตืดเป็นอีกโรคหนึ่งที่แตกต่างไปซึ่งเกิดจากการรับประทานถุงน้ำของตัวพยาธิซึ่งปนเปื้อนมากับเนื้อหมูที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ  ผู้ที่อาศัยอยู่กับผู้ที่มีพยาธิตัวตืดจะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคจากไข่พยาธิตัวตืดได้มากกว่า  การวินิจฉัยโรคสามารถทำโดยการดูดถุงน้ำออก  การถ่ายภาพสมองด้วยเครื่องเอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน  การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์หรือการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (การตรวจเอ็กซ์เรย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือ MRI) มีประโยชน์อย่างมากต่อการตรวจวินิจฉัยโรคทางสมอง --> และยังพบว่าจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นซึ่งเรียกอาการนี้ว่าอีโอซิโนฟิลในน้ำหล่อสมองไขสันหลังและจะใช้เลือดเป็นตัวบ่งชี้ การป้องกันโรคทำได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและการสุขาภิบาล --> อันได้แก่ การปรุงเนื้อหมูให้สุก ห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะและการมีแหล่งน้ำสะอาด --> ในการรักษาผู้ที่เป็นโรคพยาธิตัวตืดการป้องกันการแพร่กระจายเป็นเรื่องสำคัญ  ไม่จำเป็นต้องทำการรักษาโรคที่ไม่มีอาการเกี่ยวข้องกับระบบสมอง  การรักษาผู้ที่มีอาการโรคพยาธิตืดหมูขึ้นสมองอาจทำโดยการให้ยาพราซิควอนเทลหรืออัลเบนดาโซล --> การรักษาด้วยวิธีเหล่านี้อาจจะต้องใช้เวลายาวนาน --> อาจจำเป็นต้องใช้ยาสเตียรอยด์ เพื่อป้องกันการอักเสบระหว่างการรักษาและยาป้องกันการชัก --> การผ่าตัดบางทีอาจใช้รักษาเพื่อตัดถุงน้ำออก     พยาธิตัวตืดพบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย แอฟริกาใต้สะฮารา และละตินอเมริกา ในบางพื้นที่ประมาณว่าอาจมีผู้ที่ติดเชื้อมากถึง 25% ในประเทศที่พัฒนาแล้วไม่ค่อยพบโรคนี้  โรคนี้เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตทั่วโลกประมาณ 1,200 รายในปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคจากไข่พยาธิตัวตืด · ดูเพิ่มเติม »

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ (Creutzfeldt-Jakob disease, CJB) เป็นโรคเสื่อมที่เกิดกับระบบประสาทส่วนกลางชนิดหนึ่ง ยังไม่มีหนทางรักษา ถือเป็นโรคสมองเป็นรูพรุนที่สามารถติดต่อได้ (transmissable spongiform encephalopathy) ที่พบบ่อยที่สุดในมนุษย์ เกิดจากโปรตีนพรีออนซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติพิเศษสามารถติดต่อและทำให้เกิดโรคได้ โรคนี้ไม่ใช่โรคเดียวกันกับโรควัวบ้า (boline spongiform encephalopathy) หมวดหมู่:Transmissible spongiform encephalopathies หมวดหมู่:โรคเสื่อมของระบบประสาท หมวดหมู่:การติดเชื้อไวรัสที่ระบบประสาทส่วนกลาง หมวดหมู่:โรคหายาก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ · ดูเพิ่มเติม »

โรคคอตีบ

รคคอตีบ (diphtheria) เป็นโรคติดเชื้ออย่างหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae อาการมีได้หลากหลายตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงรุนแรง ผู้ป่วยมักเริ่มมีอาการหลังได้รับเชื้อประมาณ 2-5 วัน ในช่วงแรกมักมีอาการเจ็บคอและมีไข้ หากเป็นรุนแรงผู้ป่วยจะมีแผ่นเนื้อเยื่อสีขาวหรือสีเทาที่คอหอย ซึ่งอาจอุดกั้นทางหายใจและทำให้เกิดอาการไอเสียงก้องเหมือนในโรคกล่องเสียงอักเสบ (ครุป) ได้ อาจมีต่อมน้ำเหลืองที่คอโต ทำให้มีคอบวม เชื้อนี้นอกจากทำให้มีอาการที่คอแล้วยังทำให้มีอาการที่ระบบอื่น เช่น ผิวหนัง ตา หรืออวัยวะเพศ ได้อีกด้วย ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เส้นประสาทอักเสบ ไตอักเสบ เกล็ดเลือดต่ำ เป็นต้น เชื้อคอตีบสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้ผ่านการสัมผัสโดยตรง ผ่านวัตถุที่เปื้อนเชื้อ หรือผ่านอากาศ ผู้รับเชื้อบางรายอาจไม่มีอาการ แต่มีเชื้อในร่างกาย และสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ เชื้อ C. diphtheriae มีชนิดย่อยอยู่ 3 ชนิด แต่ละชนิดอาจทำให้มีอาการรุนแรงแตกต่างกัน อาการของโรคส่วนใหญ่เกิดจากพิษที่สร้างโดยเชื้อนี้ การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจร่างกายดูลักษณะของคอหอยของผู้ป่วย ร่วมกับการตรวจยืนยันด้วยการเพาะเชื้อ การหายจากเชื้อนี้จะไม่ได้ทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อครั้งถัดไป วัคซีนโรคคอตีบเป็นวิธีป้องกันโรคนี้ที่ได้ผลดี และมีให้ใช้ในหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่แนะนำให้เด็กทั่วไปได้รับวัคซีนนี้ร่วมกับวัคซีนบาดทะยักและไอกรน 3-4 ครั้ง หลังจากนั้นควรได้รับวัคซีนคอตีบและบาดทะยักร่วมกันทุกๆ 10 ปี สามารถตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันในเลือดเพื่อยืนยันการมีภูมิคุ้มกันได้ การรักษาทำได้โดยให้ยาปฏิชีวนะเช่นอีริโทรมัยซิน หรือเบนซิลเพนิซิลลิน ยาปฏิชีวนะเหล่านี้นอกจากใช้รักษาโรคแล้วยังใช้ป้องกันการเกิดโรคในผู้ที่สงสัยว่าจะได้รับเชื้อได้ด้วย ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจมีทางเดินหายใจอุดกั้นรุนแรงจนต้องรับการรักษาด้วยการเจาะคอ ในปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคคอตีบ · ดูเพิ่มเติม »

โรคคุดทะราด

ทะราด (yaws) เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง มีอาการเป็นแผลตามผิวหนัง พบได้ทั่วร่างกาย เป็น ๆ หาย ๆ เกิดจากเชื้อบัคเตรีที่มีชื่อว่า Treponema pallidum pertenue ระยะฟักตัวนานประมาณ 2 สัปดาห์ถึง 3 เดือน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคคุดทะราด · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

รคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ โรคส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted disease; STD) หรือ กามโรค (Venereal disease; เรียกย่อว่า วีดี) เป็นความเจ็บป่วยซึ่งมีแนวโน้มติดต่อหรือส่งผ่านระหว่างมนุษย์หรือสัตว์โดยการสัมผัสทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก หรือทางทวารหนัก ในปัจจุบันมีการใช้คำว่า การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted infection; STI) ซึ่งมีความหมายกว้างกว่าเดิมมากขึ้น เพราะผู้ป่วยอาจมีการติดเชื้อและมีความสามารถในการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่นได้โดยไม่มีอาการแสดงของโรค การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อาจติดต่อได้จากการใช้เข็มฉีดยาเสพติดเข้าหลอดเลือดดำต่อจากผู้ป่วย รวมถึงผ่านการคลอดหรือการเลี้ยงลูกด้วยนมแม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อ

รคติดเชื้อ (Infectious disease) เป็นโรคซึ่งเป็นผลจากการมีเชื้อจุลชีพก่อโรค อาทิไวรัส แบคทีเรีย รา โพรโทซัว ปรสิต หรือแม้กระทั่งโปรตีนที่ผิดปกติเช่นพรีออน เชื้อดังกล่าวอาจก่อให้เกิดโรคในสัตว์หรือพืชได้ โรคติดเชื้อจัดเป็นโรคติดต่อ (Contagious diseases, Communicable diseases) เนื่องจากสามารถติดต่อไปยังบุคคลอื่นหรือระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกัน การติดต่อของโรคติดเชื้ออาจเกิดได้มากกว่า 1 ทาง รวมถึงการสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง จุลชีพก่อโรคอาจถ่ายทอดไปโดยสารน้ำในร่างกาย อาหาร น้ำดื่ม วัตถุที่มีเชื้อปนเปื้อน ลมหายใจ หรือผ่านพาหะ"Infectious disease." McGraw-Hill Encyclopedia of Science and Technology.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อลิชมาเนีย

รคติดเชื้อลิชมาเนีย หรือ ลิชมาเนียซิส (Leishmaniasis) เป็นโรคติดต่อจากปรสิตชนิดโปรโตซัวในจีนัส Leishmania โดยมี "ริ้นฝอยทราย" บางชนิด เป็นตัวพาหะนำโรค โดยริ้นฝอยทรายดูดเลือดสัตว์เป็นอาหาร ไปกัดสัตว์ที่มีเชื้อแต่ไม่แสดงอาการ จากนั้นนำเชื้อไปสู่คน โรคนี้อาจแสดงอาการได้สามแบบ คือแบบผิวหนัง (cutaneous leishmaniasis), แบบผิวหนังและเยื่อบุ (mucocutaneous leishmaniasis), และแบบอวัยวะภายใน (visceral leishmaniasis) แบบผิวหนังจะทำให้มีแผลที่ผิวหนัง ในขณะที่แบบผิวหนังและเยื่อบุจะทำให้มีแผลที่ผิวหนัง ปาก และจมูก และแบบอวัยวะภายในในช่วงแรกจะมีแผลที่ผิวหนัง จากนั้นจึงมีไข้ เลือดจาง และตับม้ามโต เชื้อ Leishmania ที่ก่อโรคในมนุษย์มีอยู่มากกว่า 20 สปีชีส์ ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้แก่ ความยากจน การขาดสารอาหาร การทำลายป่า และการทำให้เป็นเมือง โรคนี้ทั้งสามรูปแบบสามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจพบเชื้อจากการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ นอกจากนี้ชนิดที่ติดเชื้อที่อวัยวะภายในยังอาจตรวจพบได้จากการตรวจเลือด ปกติพบโรคชนิดนี้พบในแถบประเทศตะวันออกกลาง อินเดีย ปากีสถาน ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคติดเชื้อลิชมาเนียประมาณ 12 ล้านคน ใน 98 ประเทศ แต่ละปีจะมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณ 2 ล้านคน มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ประมาณ 20,000-50,000 ราย และมีจำนวนผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด (เอเชีย แอฟริกา อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) ประมาณ 200 ล้านคน องค์การอนามัยโลกได้ขอลดราคายาบางชนิดที่ใช้รักษาโรคนี้จากบริษัทยา นอกจากมนุษย์แล้วยังอาจพบโรคนี้ได้ในสัตว์อื่น เช่น สุนัข และหนู เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดเชื้อลิชมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย

รคติดเชื้อลิสเทอเรีย (listeriosis) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียอย่างหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Listeria monocytogenes เชื้ออื่นที่อาจเป็นสาเหตุได้เช่น L. ivanovii และ L. grayi เชื้อนี้มักทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบประสาท (เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ ฝีในสมอง สมองใหญ่อักเสบ) และภาวะเลือดมีแบคทีเรียได้ในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ผู้ที่มีสุขภาพปกติหากติดเชื้อรุนแรงอาจมีลำไส้อักเสบได้ เชื้อนี้พบได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ติดต่อผ่านการกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เมื่อกินเข้าไปแล้วเชื้อจะรุกล้ำเข้าผ่านทางเดินอาหารทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกายได้ การจะวินิจฉัยการติดเชื้อนี้ทำได้โดยการเพาะเชื้อจากเลือดหรือจากน้ำหล่อสมองไขสันหลัง การรักษาทำได้โดยให้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลานาน ยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้ผลเป็นส่วนใหญ่คือแอมพิซิลลินและเจนตาไมซิน หมวดหมู่:โรคติดเชื้อแบคทีเรีย หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย หมวดหมู่:โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดเชื้อลิสเทอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิส

รคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิส (infectious mononucleosis, IM) หรือ โมโน เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอ็ปสไตน์-บาร์หรืออีบีวี ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเด็ก ซึ่งมักมีอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ตอนต้น มักมีอาการไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต และอ่อนเพลีย อาการมักดีขึ้นภายใน 2-4 สัปดาห์ แต่อาจอ่อนเพลียต่อได้หลายเดือน บางรายมีตับโตหรือม้ามโตร่วมด้วย อาจพบการฉีดขาดของม้ามได้ แต่พบน้อย ไม่ถึง 1% เชื้อทีเป็นสาเหตุหลักของโรคนี้คือเชื้อไวรัสเอ็ปสไตน์-บาร์หรืออีบีวี มีอีกชื่อว่าไวรัสเฮอร์ปีส์ในมนุษย์ ชนิดที่ 4 ซึ่งอยู่ในแฟมิลีไวรัสเฮอร์ปีส์ นอกจากนี้ยังมีเชื้ออื่นอีกแต่พบไม่บ่อย ส่วนใหญ่ติดต่อผ่านทางน้ำลาย ช่องทางอื่นที่พบได้น้อยคือทางน้ำอสุจิและทางเลือด ผู้ป่วยอาจติดเชื้อผ่านการสัมผัสวัตถุที่ปนเปื้อน เช่น แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อได้ตั้งแต่ 1 สัปดาห์ ก่อนเริ่มแสดงอาการ การวินิจฉัยทำได้โดยดูจากอาการเป็นหลัก บางครั้งอาจจำเป็นต้องตรวจยืนยันโดยการตรวจหาแอนติบอดีในเลือด ผลการตรวจนับเม็ดเลือดมักพบว่ามีเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยต์สูงกว่าปกติ โดยเป็นลิมโฟซัยต์แบบผิดปกติ (atypical) มากกว่า 10% ในสมัยก่อนเคยมีชุดตรวจสำเร็จรูปเช่น monospot แต่ปัจจุบันไม่แนะนำให้ใช้แล้ว เนื่องจากมีความแม่นยำต่ำ ยังไม่มีวัคซีนที่ใช้ป้องกันเชื้อนี้ การป้องกันโรคยังคงเน้นไปที่การงดใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกัน และงดจูบกับผู้ป่วย ผู้ป่วยมักมีอาการดีขึ้นได้เอง การรักษาเป็นการบรรเทาอาการและการรักษาประคับประคองโดยทั่วไป ได้แก่ การดื่มน้ำ พักผ่อนให้เพียงพอ ใช้ยาแก้ปวดลดไข้เพื่อบรรเทาอาการไข้และอาการปวด เช่น พาราเซตามอล หรือไอบูโปรเฟน ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นวัยรุ่นถึงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นอายุประมาณ 15-24 ปี ส่วนในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กเล็ก ซึ่งมักมีอาการไม่รุนแรง หากพิจารณาเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยอายุ 16-20 ปี ที่มีอาการเจ็บคอ จะพบว่ามีสาเหตุจากโรคนี้ราว 8% ในสหรัฐอเมริกาพบผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 45 ต่อประชากรแสนคน คนทั่วไปราว 95% จะเคยมีการติดเชื้ออีบีวีมาก่อน โรคนี้พบได้ตลอดปี ได้รับการบรรยายรายละเอียดของโรคเป็นครั้งแรกเมื่อช่วงปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดเชื้อโมโนนิวคลีโอซิส · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อไวรัส

โรคติดเชื้อไวรัสเป็นโรคติดเชื้อกลุ่มหนึ่ง เกิดเมื่อร่างกายถูกไวรัสก่อโรครุกล้ำ โดยมีตัวไวรัสมาเกาะกับผิวเซลล์และรุกล้ำเข้าไปในเซลล์.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคติดเชื้อไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

โรคฉี่หนู

รคฉี่หนู, ไข้ฉี่หนูหรือโรคเล็ปโตสไปโรซิส (leptospirosis) เป็นโรครับจากสัตว์ชนิดหนึ่ง สามารถติดโรคได้ในสัตว์หลายชนิด เช่น สุนัข หนู โค กระบือ สุกร แพะ แกะ สัตว์เลี้ยงในบ้าน เป็นต้น แต่พบมากในหนู ซึ่งเป็นแหล่งรังโรค ส่วนมากสัตว์ที่ไวต่อการรับเชื้อมักจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีอายุน้อย หรือลูกสัตว์ที่ไม่เคยได้รับภูมิคุ้มกันจากแม่มาก่อน มักจะพบการระบาดในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน เนื่องจากเป็นฤดูฝนต่อหนาว มีน้ำขัง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคฉี่หนู · ดูเพิ่มเติม »

โรคซิฟิลิสแต่กำเนิด

รคซิฟิลิสแต่กำเนิด congenital syphilisเป็นโรคซิฟิลิสที่เกิดในทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด เกิดจากการที่หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อซิฟิลิส การที่หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อซิฟิลิสแล้วไม่ได้รับการรักษาจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น จมูกผิดปกติ ขาผิดปกติ แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกตายคลอด และทารกป่วยตายได้ ทารกแรกเกิดที่มีโรคซิฟิลิสแต่กำเนิดบางรายมีอาการตั้งแต่แรกเกิด บางรายมีอาการในภายหลัง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ

รคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ หรือ พีซีพี เป็นโรคปอดบวมอย่างหนึ่งที่เกิดจากเชื้อราลักษณะคล้ายยีสต์ชื่อ นิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ (Pneumocystis jirovecii) เชื้อนี้เป็นเชื้อพบเฉพาะมนุษย์ ไม่ติดในสัตว์ ในขณะที่สปีชีส์อื่นของ Pneumocystis สามารถพบเป็นปรสิตในสัตว์ได้ (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้น) แต่ไม่พบติดเชื้อในมนุษย์ เชื้อนี้พบได้ทั่วไปในปอดของคนปกติ แต่จะเป็นแหล่งทำให้เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ โรคพีซีพีนี้พบบ่อยในผู้ป่วยโรคมะเร็ง โรคเอดส์ และผู้ป่วยที่ใช้ยาที่ส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน เชื้อก่อโรคของโรคนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ P. jiroveci หรือ P. jirovecii ชื่อเดิมของเชื้อคือ Pneumocystis carinii ซึ่งเป็นชื่อที่ไม่ถูกต้องสำหรับสายพันธุ์ที่พบในมนุษย์ แต่ยังเป็นชื่อที่นิยมใช้เรียกอยู่ ทำให้โรคนี้เป็นที่รู้จักในชื่อต่างๆ ได้แก่ Pneumocystis pneumonia (PCP), Pneumocystis jiroveci pneumonia และ Pneumocystis carinii pneumonia.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ · ดูเพิ่มเติม »

โรคโปลิโอ

รคโปลิโอ (poliomyelitis, polio, infantile paralysis) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสเฉียบพลันซึ่งติดต่อจากคนสู่คนทางอุจจาระ-ปาก ชื่อนี้มาจากภาษากรีกว่า (πολιός) หมายถึง สีเทา, (µυελός) หมายถึงไขสันหลัง และคำอุปสรรค -itis หมายถึงการอักเสบ การติดเชื้อโปลิโอกว่า 90% จะไม่ทำให้เกิดอาการใด ๆ โดยผู้ติดเชื้ออาจมีอาการได้หลายอย่างหากได้รับไวรัสเข้ากระแสเลือด ผู้ป่วย 1% จะมีการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ระบบประสาทกลาง ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการถูกทำลาย ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและอัมพาตอ่อนเปียก ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่อนแรงได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับเส้นประสาทที่ถูกทำลาย รูปแบบที่พบบ่อยที่สุดคือโปลิโอไขสันหลัง ซึ่งทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบไม่สมมาตรมักเป็นที่ขา โปลิโอก้านสมองส่วนท้ายทำให้เกิดการอัมพาตของกล้ามเนื้อที่เลี้ยงโดยเส้นประสาทสมอง โปลิโอไขสันหลังและก้านสมองส่วนท้ายจะทำให้มีอาการร่วมกันทั้งการอัมพาตก้านสมองส่วนท้ายและไขสันหลัง โรคโปลิโอค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคโปลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

โรคไลม์

รคไลม์เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียในจีนัส Borrelia อย่างน้อย 3 ชนิด โดยมี Borrelia burgdorferi sensu stricto เป็นเชื้อก่อโรคที่พบบ่อยในทวีปอเมริกาเหนือ และ Borrelia afzelii กับ Borrelia garinii เป็นเชื้อก่อโรคที่พบบ่อยในทวีปยุโรป โรคนี้ตั้งชื่อตามเมืองไลม์และโอลด์ไลม์ รัฐคอนเนกติคัต สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการตรวจพบโรคนี้เป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคไลม์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคไวรัสอีโบลา

รคไวรัสอีโบลา หรือไข้เลือดออกอีโบลา เป็นโรคของมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสอีโบลา ตรงแบบเริ่มมีอาการสองวันถึงสามสัปดาห์หลังสัมผัสไวรัส โดยมีไข้ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ จากนั้นมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนและท้องร่วงร่วมกับการทำหน้าที่ของตับและไตลดลงตามมา เมื่อถึงจุดนี้ บางคนเริ่มมีปัญหาเลือดออก บุคคลรับโรคนี้ครั้งแรกเมื่อสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำในร่างกายจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น ลิงหรือค้างคาวผลไม้ เชื่อว่าค้างคาวผลไม้เป็นตัวพาและแพร่โรคโดยไม่ได้รับผลกระทบจากไวรัส เมื่อติดเชื้อแล้ว โรคอาจแพร่จากคนสู่คนได้ ผู้ที่รอดชีวิตอาจสามารถส่งผ่านโรคทางน้ำอสุจิได้เป็นเวลาเกือบสองเดือน ในการวินิจฉัย ต้องแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกันออกก่อน เช่น มาลาเรีย อหิวาตกโรคและไข้เลือดออกจากไวรัสอื่น ๆ อาจทดสอบเลือดหาแอนติบอดีต่อไวรัส ดีเอ็นเอของไวรัส หรือตัวไวรัสเองเพื่อยืนยันการวินิจฉัย การป้องกันรวมถึงการลดการระบาดของโรคจากลิงและหมูที่ติดเชื้อสู่คน ซึ่งอาจทำได้โดยการตรวจสอบหาการติดเชื้อในสัตว์เหล่านี้ และฆ่าและจัดการกับซากอย่างเหมาะสมหากพบโรค การปรุงเนื้อสัตว์และสวมเสื้อผ้าป้องกันอย่างเหมาะสมเมื่อจัดการกับเนื้อสัตว์อาจช่วยได้ เช่นเดียวกับสวมเสื้อผ้าป้องกันและล้างมือเมื่ออยู่ใกล้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าว ตัวอย่างสารน้ำร่างกายจากผู้ป่วยควรจัดการด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่มีการรักษาไวรัสอย่างจำเพาะ ความพยายามช่วยเหลือผู้ป่วยมีการบำบัดคืนน้ำ (rehydration therapy) ทางปากหรือหลอดเลือดดำ โรคนี้มีอัตราตายสูงระหว่าง 50% ถึง 90% ของผู้ติดเชื้อไวรัส มีการระบุโรคนี้ครั้งแรกในประเทศซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ตรงแบบเกิดในการระบาดในเขตร้อนแอฟริกาใต้สะฮารา ระหว่างปี 2519 ซึ่งมีการระบุโรคครั้งแรก และปี 2555 มีผู้ติดเชื้อน้อยกว่า 1,000 คนต่อปี การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดจนถึงปัจจุบัน คือ การระบาดของอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2557 ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ โดยระบาดในประเทศกินี เซียร์ราลีโอนและไลบีเรีย จนถึงเดือนกรกฎาคม 2557 มีผู้ป่วยยืนยันแล้วกว่า 1,320 คน แม้จะมีความพยายามพัฒนาวัคซีนอยู่ แต่จนถึงบัดนี้ยังไม่มีวัคซีน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคไวรัสอีโบลา · ดูเพิ่มเติม »

โรคไอกรน

รคไอกรน (pertussis) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่ติดต่อได้ง่ายมากโรคหนึ่ง อาการแรกเริ่มมักคล้ายคลึงกับหวัด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ น้ำมูกไหล และไอเล็กน้อย จากนั้นจึงมีอาการไอรุนแรงต่อเนื่องหลายสัปดาห์ และมีไอเสียงสูงหรือหายใจเฮือกขณะจะมีอาการไอ อาการไอในระยะนี้อาจเป็นต่อเนื่องได้ถึง 10 สัปดาห์หรือมากกว่า บางครั้งจึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคไอ 100 วัน" ผู้ป่วยอาจมีอาการไอรุนแรงมากจนอาเจียน ซี่โครงหัก หรืออ่อนเพลียอย่างมากจากการไอได้ ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีอาจมีอาการไอเพียงเล็กน้อยหรือไม่ไอเลย แต่มีอาการหยุดหายใจชั่วขณะแทน ระยะฟักตัวของโรคนี้มักอยู่ที่ 7-10 วัน ผู้ที่รับวัคซีนแล้วก็อาจป่วยด้วยโรคนี้ได้ แต่อาการอาจรุนแรงน้อยกว.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคไอกรน · ดูเพิ่มเติม »

โรคเมลิออยด์

รคเมลิออยด์ หรือ โรคเมลิออยโดซิส (Melioidosis) เป็นโรคติดเชื้อซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Burkholderia pseudomallei เชื้อนี้พบได้ในดินและน้ำ โรคนี้มีความสำคัญทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในประเทศไทยและทางเหนือของออสเตรเลีย รูปแบบของโรคอาจมีได้ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง ผู้ป่วยอาจมีอาการแตกต่างกันมาก เช่น เจ็บหน้าอก กระดูก หรือข้อ ไอ การติดเชื้อที่ผิวหนัง ก้อนในปอด หรือปอดอักเสบ ในอดีตเชื้อแบคทีเรีย B. pseudomallei จัดอยู่ในจีนัส Pseudomonas และเคยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudomonas pseudomallei จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคเมลิออยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคเท้าช้าง

รคเท้าช้าง เป็นโรคที่มีลักษณะผิวหนังและเนื้อเยื่อข้างใต้หนาตัวขึ้น โดยเฉพาะบริเวณขาและอวัยวะเพศ ในบางครั้งอาจมีการบวมของอัณฑะ โดยมียุงเป็นพาหะนำโร.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรคเท้าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

โรตาไวรัส

โรตาไวรัส (Rotavirus) เป็นชื่อจีนัสของเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคลำไส้อักเสบจากเชื้อโรตาไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะท้องร่วงรุนแรงในทารกและเด็กเล็กที่พบบ่อยที่สุด ไวรัสในจีนัสนี้เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายคู่ อยู่ในแฟมิลีรีโอวิริดี เด็กแทบทุกคนบนโลกเมื่ออายุครบ 5 ปีจะเคยติดเชื้อนี้มาแล้วอย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่ละครั้งที่ติดเชื้อร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน ทำให้การติดเชื้อครั้งถัดๆ ไปมีความรุนแรงลดลง และทำให้โรคนี้พบได้น้อยในผู้ใหญ่ ไวรัสในจีนัสนี้มีสปีชีส์ย่อยอยู่ 8 สปีชีส์ ได้แก่ เอ บี ซี ดี อี เอฟ จี และเอช ที่พบบ่อยที่สุดคือโรตาไวรัสเอ ซึ่งเป็นสาเหตุของการติดเชื้อโรตาไวรัสในมนุษย์ถึง 90% เชื้อนี้ติดต่อผ่านทางการกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระที่มีเชื้อ เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะทำให้เกิดการติดเชื้อในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก ทำให้เกิดกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (บางครั้งเรียก "ไข้หวัดใหญ่ลงกระเพาะ" แต่เชื้อนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับไวรัสไข้หวัดใหญ่แต่อย่างใด) หมวดหมู่:โรตาไวรัส.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโรตาไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

โลหิตวิทยา

ลหิตวิทยา เป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาถึงสาเหตุ, การวินิจฉัย, การรักษา, การติดตามผล และการป้องกันโรคทางเลือด ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากผลิตภัณฑ์และองค์ประกอบของเลือดที่ผิดปกติ เช่น จำนวนเม็ดเลือด โปรตีนในเลือด หรือ กระบวนการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติไป เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโลหิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โคโรนาไวรัส

Coronavirus หมายถึงสปีชีส์ต่างๆ ของไวรัสใน genera ที่อยู่ในซับแฟมิลี Coronavirinae และ Tonovirinae ในแฟมิลี Coronaviridae ในออร์เดอร์ Nidovirales เป็นไวรัสชนิดมีเปลือกหุ้ม (enveloped) มีจีโนมเป็นอาร์เอ็นเอ โพซิทีฟเซนส์ มีนิวคลีโอแคปซิดที่มีสมมาตรแบบเฮลิกซ์ ขนาดจีโนมของไวรัสเหล่านี้มีตั้งแต่ 26-32 กิโลเบส ซึ่งถือว่าใหญ่มากสำหรับไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ ชื่อ "coronavirus" มาจากคำภาษาลาติน corona ที่แปลว่ามงกุฎหรือรัศมี ในที่นี้หมายถึงลักษณะของตัวไวรัสที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่มีผิวยื่นเป็นแฉกๆ เหมือนกับรัศมีของดวงอาทิตย์ ลักษณะนี้ถูกสร้างโดยเพโพลเมอร์สไปค์ (S) ของไวรัส ซึ่งเป็นโปรตีนที่กระจุกตัวอยู่บนผิวไวรัส และเป็นตัวกำหนดการโน้มตอบสนองของโฮสต์.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและโคโรนาไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไวรัส

วรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา อันเป็นการทับศัพท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันคำว่า ไวรัส หมายถึงจุลินทรีย์ที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents) ทั้งในมนุษย์, สัตว์, พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญที่จะต้องศึกษาทั้งในทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอยู่ในร่างของสิ่งมีชีวิตอื่น (obligate intracellular parasite) ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่พันธุ์นอกเซลล์อื่นได้ ไวรัสอาจถือได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ที่มีลักษณะของการเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงประการเดียวคือสามารถแพร่พันธุ์ หรือการถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไวรอยด์ (viroid) และ พรีออน (prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง(TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดยมาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ. 1899 ในปัจจุบันมีไวรัสกว่า 5,000 ชนิดที่ได้รับการบันทึกไว้ วิชาที่ศึกษาไวรัสเรียกว่าวิทยาไวรัส (virology) อันเป็นสาขาหนึ่งของจุลชีววิทยา (microbiology).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไข้กระต่าย

้กระต่าย หรือ โรคทูลารีเมีย (Tularemia) เป็นโรคที่พบในสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนู และกระต่าย มีพาหะคือ ตัวเห็บ หรือ ตัวฟลี (Flea) ลำตัวแบน สีดำ มีขนาดเล็กมาก กระโดดได้ไกลมาก เห็บที่ดูดเลือดกระต่าย หรือสัตว์ฟันแทะที่มีเชื้อ แล้วกระโดดไปเกาะและกัดอีกตัวทำให้ติดเชื้อกัน มีอาการเหมือนโรคกาฬโรค คือ ต่อมน้ำเหลืองโต มีไข้สูง มีน้ำมูก และมีอาการท้องเสียร่วมด้วย โรคนี้สามารถติดจากสัตว์ไปสู่คนได้ทางลมหายใจ และสารคัดหลั่งต่างๆ วิธีการป้องกันโรค คือ การพ่นยาฆ่าตัวเห็บ เพื่อตัดตอนพาหะออกไป ข้อแนะนำสำหรับผู้ที่เลี้ยงกระต่ายหรือสัตว์ที่เป็นฟันแทะ เช่น กระรอก หนู ควรปฏิบัติดังนี้ 1.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้กระต่าย · ดูเพิ่มเติม »

ไข้กาฬหลังแอ่น

้กาฬหลังแอ่น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้กาฬหลังแอ่น · ดูเพิ่มเติม »

ไข้รากสาดน้อย

้รากสาดน้อย หรือ ไข้ไทฟอยด์ (Typhoid fever; Enteric fever) เป็นการเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella enterica serovar Typhi พบได้ทั่วโลกโดยติดต่อผ่านทางการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ป่วย โดยเชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้จะเจาะทะลุผนังลำไส้แล้วถูกจับกินโดยเซลล์แมโครฟาจ (macrophage) จากนั้นเชื้อ Salmonella typhi จะเปลี่ยนโครงสร้างตัวเองเพื่อดื้อต่อการทำลายและสามารถหลบหนีออกจากแมโครฟาจได้ กลไกดังกล่าวทำให้เชื้อดื้อต่อการทำลายโดยแกรนูโลไซต์ ระบบคอมพลีเมนต์ และระบบภูมิคุ้มกัน จากนั้นเชื้อก่อโรคจะกระจายไปทั่วร่างกายผ่านทางน้ำเหลืองขณะที่อยู่ในเซลล์แมโครฟาจ ทำให้เชื้อเข้าสู่ระบบเรติคูโลเอนโดทีเลียม (reticuloendothelial system) และไปยังอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย จุลชีพก่อโรคนี้เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปแท่งสั้น ซึ่งเคลื่อนที่โดยแฟลกเจลลัมหลายเส้น (peritrichous flagella) แบคทีเรียเจริญได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิกาย 37 °C (99 °F).

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้รากสาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ไข้รากสาดใหญ่

้รากสาดใหญ่ หรือ ไข้ไทฟัส เป็นกลุ่มของโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรีย โดยมีแมลงปรสิต (louse) เป็นพาหะ ชื่อโรคไทฟัสมาจากรากศัพท์ภาษากรีก typhos แปลว่าขี้เกียจหรือขุ่นมัว ซึ่งอธิบายสภาวะจิตใจของผู้ป่วยด้วยโรคนี้ เชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้คือเชื้อกลุ่มริกเก็ตเซีย (Rickettsia) ซึ่งเป็นปรสิตที่จำเป็นต้องอยู่ในเซลล์โฮสต์ตลอดเวลา ไม่มีวงชีพอิสระ เชื้อริกเก็ตเซียเป็นเชื้อที่ระบาดอยู่ในสัตว์พวกหนู และแพร่กระจายเข้าสู่มนุษย์โดยเห็บ เหา หมัด โลน หรือไร พาหะเหล่านี้จะเจริญได้ดีภายใต้ภาวะสุขลักษณะไม่ดีเช่นในเรือนจำ ค่ายผู้ลี้ภัย ในหมู่คนไร้บ้าน และในสนามรบช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในประเทศที่พัฒนาแล้วโรคไข้รากสาดใหญ่มักติดต่อผ่านทางหมัด ส่วนในเขตร้อนโรคนี้มักเข้าใจผิดว่าเป็นโรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อริกเก็ตเซียนอกจากจะมีไข้รากสาดใหญ่ประเภทต่างๆ ที่จะกล่าวถึงแล้วนั้น ยังมีโรคไข้พุพองเทือกเขาร็อกกี (Rocky Mountain spotted fever) และโรคไข้พุพอง (spotted fevers) ที่ระบาดในประเทศโคลอมเบียและบราซิล.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้รากสาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไข้ดำแดง

้ดำแดง (scarlet fever) เป็นโรคที่เกิดจากสารพิษ exotoxin ซึ่งสร้างโดยเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pyogenes มีอาการเช่น เจ็บคอ มีไข้ ลิ้นสีแดงสดคล้ายลูกสตรอวเบอรรี่ มีผื่นที่มีลักษณะเฉพาะ เป็นต้น โรคนี้วินิจฉัยจากการดูผลตรวจทางคลินิก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้ดำแดง · ดูเพิ่มเติม »

ไข้เลือดออกจากไวรัส

ไข้เลือดออกจากไวรัส (viral hemorrhagic fever, VHFs) เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดกับสัตว์และมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอไวรัสสี่แฟมิลี ได้แก่อาเรนาไวริดี ฟิโลไวริดี บุนยาไวริดี และฟลาวิไวริดี ไข้เลือดออกในกลุ่มนี้ทุกชนิดมีลักษณะทำให้ผู้ป่วยมีไข้และมีเลือดออกผิดปกติ และอาจดำเนินโรครุนแรงทำให้มีไข้สูง ช็อค และเสียชีวิตได้ทั้งหมด โรคในกลุ่มนี้บางโรคมีอาการไม่รุนแรง เช่น Scandinavien nephropathia epidemica ในขณะที่บางโรค เช่นอีโบลา ทำให้มีโรครุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ง่าย ไข้เลือดออกเดงกีซึ่งระบาดในประเทศไทย และเป็นที่รู้จักในชื่อ "ไข้เลือดออก" ก็เป็นโรคไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้เลือดออกจากไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไข้เหลือง

ไข้เหลืองเป็นโรคชนิดหนึ่งในกลุ่มโรคไข้เลือดออกจากไวรัส ไวรัสไข้เหลืองมีขนาด 40-50 นาโนเมตร เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอไวรัสเซนส์บวก มีปลอกหุ้ม อยู่ในแฟมิลีฟลาวิไวริดี ติดต่อผ่านทางการถูกยุงตัวเมียที่มีเชื้อกัด อาจเป็นยุงไข้เหลือง ยุงลาย หรือยุงอื่นๆ บางชนิด พบในพื้นที่เขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาและพื้นที่ข้างเคียง แต่ไม่พบในทวีปเอเชีย โฮสต์ของไวรัสไข้เหลืองคือลิงไพรเมทรวมถึงมนุษย์และยุงบางชนิด เชื่อว่าโรคนี้มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่แอฟริกา ระบาดมายังอเมริกาใต้พร้อมกับการค้าทาสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาในศตวรรษที่ 17 เริ่มมีบันทึกการระบาดครั้งใหญ่หลายครั้งในอเมริกา แอฟริกา และยุโรป จนในศตวรรษที่ 19 ไข้เหลืองก็ถูกยกระดับเป็นโรคติดต่อที่อันตรายที่สุดโรคหนึ่ง ผู้ป่วยไข้เหลืองส่วนใหญ่มีอาการไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ปวดกล้ามเนื้อ (โดยเฉพาะหลัง) และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่หายได้เองในเวลาหลายวัน ผู้ป่วยบางคนจะมีระยะพิษตามหลังจากระยะไข้ เซลล์ตับเสียหายจนมีดีซ่าน (เป็นที่มาของชื่อโรค) และอาจเป็นมากจนเสียชีวิตได้ ไข้เหลืองอาจทำให้ผู้ป่วยมีเลือดออกง่าย จึงจัดอยูในกลุ่มโรคไข้เลือดออก องค์การอนามัยโลกประมาณไว้ว่ามีคนที่ไม่ได้รับวัคซีนไข้เหลืองป่วยเป็นไข้เหลือง 200,000 รายต่อปี และเสียชีวิต 30,000 รายต่อปี ปัจจุบันผู้ป่วยโรคไข้เหลืองกว่า 90% อยู่ในแอฟริกา วัคซีนไข้เหลืองที่ปลอดภัยและใช้ได้ผลนั้นผลิตสำเร็จตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 บางประเทศยังกำหนดให้นักท่องเที่ยวต้องได้รับวัคซีนนี้ก่อนเข้าประเทศ เนื่องจากเป็นโรคที่ยังไม่มีวิธีการรักษาจำเพาะจึงมีความจำเป็นต้องจัดให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงได้มีโอกาสเข้าถึงวัคซีนอย่างทั่วถึง พร้อมๆ กับลดจำนวนยุงและลดโอกาสถูกยุงกัด ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา จำนวนผู้ป่วยไข้เหลืองเริ่มเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง จึงจัดอยู่ในกลุ่มโรคอุบัติซ้ำ (re-emerging disease) เชื่อว่าเป็นผลจากสภาพสังคมและสงครามในหลายๆ ประเทศในแอฟริกา หมวดหมู่:ไข้จากไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัส หมวดหมู่:ฟลาวิไวรัส หมวดหมู่:โรคเขตร้อน หมวดหมู่:วิทยาตับ หมวดหมู่:โรคติดเชื้อจากแมลง หมวดหมู่:โรคที่ไม่ได้รับการรักษา หมวดหมู่:อาวุธชีวภาพ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้เหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไข้เด็งกี

้เด็งกี (Dengue fever) หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า ไข้เลือดออก เป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดในเขตร้อน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่นลักษณะเฉพาะซึ่งคล้ายกับผื่นของโรคหัด ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็นไข้เลือดออกเด็งกี (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทำให้มีเลือดออกง่าย มีเกล็ดเลือดต่ำ และมีการรั่วของพลาสมา หรือรุนแรงมากขึ้นเป็นกลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก (Dengue shock syndrome) ซึ่งมีความดันโลหิตต่ำอย่างเป็นอันตรายได้ ไข้เลือดออกติดต่อผ่านทางพาหะคือยุงหลายสปีชีส์ในจีนัส Aedes โดยเฉพาะ A. aegypti หรือยุงลายบ้าน ไวรัสเด็งกีมีชนิดย่อยอยู่สี่ชนิด การติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งมักทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสชนิดนั้น ๆ ไปตลอดชีวิต แต่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกีชนิดอื่น ๆ ในเวลาสั้น ๆ การติดเชื้อไวรัสเด็งกีชนิดอื่นในภายหลังเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนรุนแรง การป้องกันโรคทำโดยลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์และจำนวนของยุง และป้องกันมิให้ยุงลายกัด เพราะยังไม่มีวัคซีนในทางพาณิชย์ ยังไม่มีวิธีจำเพาะในการรักษาไข้เลือดออก การรักษาหลัก ๆ เป็นการรักษาประคับประคอง สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงรักษาโดยการคืนน้ำ อาจใช้การกินทางปากหรือการให้ทางหลอดเลือดดำ และสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงรักษาโดยให้สารน้ำหรือเลือดหรือองค์ประกอบของเลือดทางหลอดเลือดดำ อุบัติการณ์ของไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีผู้ป่วยติดเชื้อ 50-100 ล้านคนต่อปี โรคนี้มีการอธิบายเอาไว้ครั้งแรกตั้งแต..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและไข้เด็งกี · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อบุช่องท้อง

ื่อบุช่องท้อง (peritoneum) เป็นเนื้อเยื่อ 2 ชั้นที่คลุมอยู่โดยรอบช่องท้อง และห่อหุ้มอวัยวะภายใน เยื่อบุช่องท้องแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเยื่อบุช่องท้อง · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

ื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือเยื่อหุ้มสมอง(และไขสันหลัง)อักเสบ (meningitis) เป็นภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อที่อยู่รอบสมองและไขสันหลังซึ่งเรียกรวมว่าเยื่อหุ้มสมอง การอักเสบนี้อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือจุลชีพอื่นๆ และบางครั้งเกิดจากยาบางชนิด เป็นภาวะที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตเนื่องจากเป็นการอักเสบที่อยู่ใกล้เนื้อสมองและไขสันหลัง ดังนั้นจึงเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ อาการที่พบบ่อยได้แก่อาการปวดศีรษะและคอแข็งเกร็งพร้อมกับมีไข้ สับสนหรือซึมลง อาเจียน ทนแสงจ้าหรือเสียงดังไม่ได้ บางครั้งอาจมีเพียงอาการแบบไม่จำเพาะเจาะจง เช่น อาการไม่สบายตัวหรือง่วงซึมได้โดยเฉพาะในเด็กเล็ก หากมีผื่นร่วมด้วยอาจบ่งชี้ถึงสาเหตุเฉพาะบางอย่างของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เช่น เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย''เมนิงโกคอคคัส'' ซึ่งมีผื่นที่มีลักษณะเฉพาะ แพทย์อาจเจาะน้ำไขสันหลังเพื่อวินิจฉัยหรือแยกโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ทำโดยใช้เข็มเจาะเข้าช่องสันหลังเพื่อนำเอาน้ำหล่อสมองไขสันหลังออกมาตรวจทางห้องปฏิบัติการ การรักษาโดยทั่วไปทำโดยให้ยาปฏิชีวนะอย่างทันท่วงที บางครั้งอาจมีการใช้ยาสเตียรอยด์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการอักเสบรุนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่รุนแรง เช่น หูหนวก โรคลมชัก โพรงสมองคั่งน้ำ และสติปัญญาเสื่อมถ่อย โดยเฉพาะหากรักษาไม่ทันท่วงที เยื่อหุ้มสมองอักเสบบางชนิดอาจสามารถป้องกันได้ด้วยการให้วัคซีน เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส, ''ฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา'' ชนิดบี, ''นิวโมคอคคัส'' หรือไวรัสคางทูม เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค

เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค (tuberculous meningitis, TB meningitis, tubercular meningitis) เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis) ที่เยื่อหุ้มสมอง เป็นวัณโรคระบบประสาทส่วนกลางที่พบบ่อยที่สุด หมวดหมู่:วัณโรค หมวดหมู่:เยื่อหุ้มสมองอักเสบ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อแขวนลำไส้

เยื่อแขวนลำไส้ (mesentery เมซันเทรี) เป็นเยื่อบุช่องท้องสองทบที่ยึดลำไส้กับผนังท้อง คำว่า mesentery ใช้กับลำไส้เล็กและ mesenteric organ บางครั้งใช้หมายถึงเยื่อแขวนลำไส้ที่เหลือซึ่งรวมเยื่อแขวนลำไส้ใหญ่ (mesocolon) เยื่อแขวนไส้ติ่ง (mesoappendix) เยื่อแขวนไส้ใหญ่ส่วนคด (mesosigmoid) และเยื่อแขวนไส้ตรง (mesorectum) การจำแนกชนิดของมันเปลี่ยนเป็นอวัยวะหลังมีการวิจัยโดยมหาวิทยาลัยลิเมอริค การสอนดั้งเดิมอธิบายเยื่อแขวนลำไส้ใหญ่ว่าเป็นโครงสร้างแยกส่วนกับส่วนดังกล่าวทั้งหมด คือ เยื่อแขวนลำไส้ใหญ่ส่วนขึ้น ขวาง ลงและไส้ใหญ่ส่วนคด เยื่อแขวนไส้ติ่งและเยื่อแขวนไส้ตรง โดยที่มีที่เกาะปลายสิ้นสุดแยกกันเข้าผนังท้องหลัง ในปี 2555 หลังการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนอย่างละเอียด พบว่าเยื่อแขวนลำไส้ใหญ่เป็นโครงสร้างต่อเนื่องเดียวซึ่งตั้งต้นจากส่วนโค้งลำไส้เล็กส่วนต้นและลำไส้เล็กส่วนกลาง (duodenojejunal flexure) และลากไประดับเยื่อแขวนไส้ตรงส่วนปลาย มโนทัศน์ที่ง่ายขึ้นนี้ทำให้มีความก้าวหน้าอย่างสำคัญในการผ่าตัดลำไส้ใหญ่และไส้ตรงแง่ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีความหมายต่อวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัด กายวิภาคศาสตร์และการเจริญด้วย หมวดหมู่:ระบบย่อยอาหาร หมวดหมู่:ท้อง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเยื่อแขวนลำไส้ · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อเมือก

ื่อเมือก (mucous membranes, mucosa) เป็นชั้นที่บุผิวที่มักเจริญมาจากเอนโดเดิร์ม (endoderm) ปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อบุผิว มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูดซึมและหลั่งสาร เยื่อเมือกจะดาดอยู่ที่หลายช่องว่างของอวัยวะซึ่งติดต่อกับสิ่งแวดล้อมภายนอกและอวัยวะภายใน เยื่อเมือกในหลายที่ที่ติดต่อมาจากผิวหนัง เช่นที่รูจมูก (nostril), ริมฝีปาก, หู บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ และทวารหนัก สารข้นเหนียวที่หลั่งออกมาจากเยื่อเมือกและต่อมเรียกว่า เมือก หรือมูก (mucus) ช่องว่างภายในร่างกายที่พบเยื่อเมือกนี้รวมถึงส่วนใหญ่ของระบบทางเดินหายใจ ลึงค์ (ส่วนหัวขององคชาต) และส่วนหัวของคลิตอริส และภายในของหนังหุ้มปลายองคชาต (prepuce หรือ foreskin) ต่างเป็นเยื่อเมือก ไม่ใช่ผิวหนัง.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเยื่อเมือก · ดูเพิ่มเติม »

เริม

รคเริมบริเวณริมฝีปากล่าง โรคเริม (Herpes simplex) โรคเริมเป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัส ชื่อ "Herpes simplex" ซึ่งเชื้อไวรัสตัวนี้มีอยู่ 2 ชนิด คือ ชนิดที่ทำให้เกิดแผล (cold sore) ที่พบบริเวณริมฝีปาก ทั้งบนและล่าง หรือมุมปาก พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ และชนิดที่มักจะพบเริมบริเวณอวัยวะเพศ พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก ลักษณะอาการแบ่งได้เป็นหลายระยะ โดยจะเริ่มจากความรู้สึกคันหรือเจ็บยิบๆบริเวณที่จะเกิดแผล แล้วจะมีผื่น กลายเป็นกลุ่มของตุ่มน้ำใสซึ่งภายหลังจะรวมตัวกันอยู่บนผิวหนังประมาณ 1-2 วัน จากนั้นตุ่มน้ำใสนี้ จะแตกออก และตกสะเก็ดแต่บางรายอาจเป็นนานกว่านั้นเกือบถึง 1 สัปดาห์ ทั้งนี้เราไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสเริมได้เด็ดขาด แต่เชื้อจะมีระยะพักตัว ซึ่งมักพักตัวอยู่ในเส้นประสาท และก่อให้เกิดตุ่มใสขึ้นอีกได้เสมอๆ ซึ่งขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ภูมิคุ้มกันลดลง ความเครียดทางกายหรือจิตใจ ช่วงประจำเดือน เป็นต้น.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเริม · ดูเพิ่มเติม »

เรื้อน

รคเรื้อน (Leprosy) หรือ โรคแฮนเซน (Hansen's disease, ย่อ: HD) เป็นโรคเรื้อรังอันเกิดจากแบคทีเรีย Mycobacterium leprae และ Mycobacterium lepromatosis ตั้งตามชื่อแพทย์เจอร์ราด แฮนเซน (Gerhard Hansen) ชาวนอร์เวย์ โรคเรื้อนหลัก ๆ เป็นโรคผิวหนังเส้นประสาทส่วนปลายและเยื่อเมือกระบบทางเดินหายใจส่วนบน รอยโรคที่ผิวหนังเป็นสัญญาณภายนอกหลักอย่างหนึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา โรคเรื้อนอาจลุกลาม และสร้างความเสียหายถาวรต่อผิวหนัง เส้นประสาท แขนขาและตาได้ คติชาวบ้านมักเชื่อว่าโรคเรื้อนทำให้ส่วนของร่างกายหลุดออกมา แต่คตินี้ไม่เป็นความจริง แม้ส่วนนั้นอาจชาหรือเป็นโรคจากการติดเชื้อทุติยภูมิ ซึ่งเกิดขึ้นหลังภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อปฐมภูมิ การติดเชื้อทุติยภูมิสามารถส่งผลให้สูญเสียเนื้อเยื่อตามลำดับ ทำให้นิ้วมือและนิ้วเท้าสั้นลงและผิดรูปร่าง เพราะกระดูกอ่อนถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย แม้วิธีการส่งผ่านโรคเรื้อนจะยังไม่ทราบแน่ชัด ผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า M. leprae ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งโดยฝอยละออง การศึกษาได้แสดงว่า โรคเรื้อนสามารถส่งผ่านไปยังมนุษย์ได้โดยอาร์มาดิลโล ปัจจุบันนี้ โรคเรื้อนทราบกันว่า ไม่ส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้ออย่างรุนแรงหลังได้รับการรักษาแล้ว มนุษย์กว่า 95% มีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ และผู้ป่วยจะไม่แพร่เชื้อหลังรักษาแล้วเพียง 2 สัปดาห์ ระยะฟักตัวน้อยสุดมีรายงานว่าสั้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ ตามการเกิดโรคเรื้อนขึ้นอย่างน้อยครั้งมากในทารก ระยะฟักตัวมากสุดมีรายงานว่านานถึง 30 ปีหรือมากกว่า ดังที่สังเกตหมู่ทหารผ่านศึกที่เคยไปอยู่ในพื้นที่การระบาดช่วงสั้น ๆ แต่ปัจจุบันได้อยู่ในพื้นที่ไม่มีการระบาด เป็นที่ตกลงกันทั่วไปว่าระยะฟักตัวเฉลี่ยอยู่ระหว่างสามถึงห้าปี โรคเรื้อนเป็นโรคที่มนุษย์เป็นมานานกว่า 4,000 ปีแล้ว และเป็นที่รู้จักกันดีในอารยธรรมจีน อียิปต์และอินเดียโบราณ..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเรื้อน · ดูเพิ่มเติม »

เอชไอวี

วามหมายอื่น: อัลบั้มเพลงของ ไฮ-ร็อก ดูที่ HIV เอชไอวี (Human immunodeficiency virus, HIV) ไวรัสตระกูล Retrovirus เป็นสาเหตุของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ในกรณีของมนุษย์ จะทำให้ระบบภูมิต้านทานล้มเหลว และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ชื่อเดิมของไวรัสนี้ ได้แก่ human T-lymphotropic virus-III (HTLV-III), lymphadenopathy-associated virus (LAV), และ AIDS-associated retrovirus (ARV). เชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อได้ทาง เลือด อสุจิ สารคัดหลั่งในช่องคลอด หรือน้ำนม ซึ่งภายในของเหลวที่ร่างกายสร้างขึ้นนี้ เชื้อเอชไอวีสามารถอยู่ได้ทั้งในสภาพอิสระในตัว และอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ สาเหตุใหญ่ของการแพร่กระจายเชื้อ คือ การมีเพศสัมพันธ์โดยทีไม่ได้ป้องกัน เข็มฉีดยาที่ปนเปิ้อน การติดเชิ้อจากแม่สู่ลูกผ่านทางการให้น้ำนม เลือดที่ปนเปิ้อนเชื้อไวรัสเอชไอวีจากการบริจาคให้ธนาคารเลือด ในขณะนี้การติดเชื้อเอชไอวี ในมนุษย์จัดได้ว่าเป็นโรคระบาดร้ายแรง ซึ่งเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2006 องค์กรความร่วมมือเกี่ยวกับ HIV/AIDS (UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประมาณการไว้ว่ามีผู้เสียชีวิตจากเอดส์มากกว่า 25 ล้านคนจากการตรวจพบในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1981 ทำให้เชื้อ HIV เป็นหนึ่งในการแพร่ระบาดที่เป็นสาเหตุการตายของมนุษย์ ที่ร้ายแรงที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์อีกเหตุการหนึ่ง นับจากภายหลังแบล็กเดธที่คร่าชีวิตประชากรยุโรปในสมัยกลางไปถึง 1 ใน 3 เชื้อ HIV ยังเป็นสาเหตุของการตายของมนุษย์ที่มีความเสียหายมากที่สุดในปี ค.ศ. 2005 มีการคาดการว่า มีผู้ติดเชื้อประมาณ 2.4 และ 3.3 ล้านคนที่ยังมีชีวิตอยู่ และจำนวนมากกว่า 570,000 คนเป็นเด็ก.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเอชไอวี · ดูเพิ่มเติม »

เอดส์

หมวดหมู่:กลุ่มอาการ หมวดหมู่:โรคระบาดทั่ว หมวดหมู่:โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หมวดหมู่:ไวรัส หมวดหมู่:ภัยพิบัติทางการแพทย์ หมวดหมู่:ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน หมวดหมู่:โรคติดเชื้อไวรัส หมวดหมู่:วิทยาไวรัส หมวดหมู่:จุลชีววิทยา.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนเกลอริเอซิส

รคเนเกลอริเอซิส (naegleriasis) หรือ เยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบจากอะมีบาแบบปฐมภูมิ (primary amebic meningoencephalitis), ฝีในสมองจากอะมีบา (amebic brain abscess) หรือ สมองอักเสบจากอะมีบา (amebic encephalitis) เป็นโรคติดเชื้อของสมองอย่างหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว Naegleria fowleri ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่าอะมีบากินสมอง ส่วนใหญ่จะพบเชื้อ N. fowleri ได้ในแหล่งน้ำอุ่นในธรรมชาติ เช่น บึง ทะเลสาบ แม่น้ำ บ่อน้ำพุร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจพบได้ในดิน แหล่งน้ำในชุมชนที่ไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม เครื่องทำความร้อนในบ้าน บริเวณน้ำทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม สระว่ายน้ำที่ไม่ได้ใช้คลอรีนหรือมีคลอรีนน้อยเกินไป เป็นต้น โดยจะพบได้ในระยะอะมีบอยด์หรือระยะแฟลเจลเลตแบบชั่วคราว ยังมีปรากฏหลักฐานว่าเชื้อนี้อยู่ได้ในน้ำเค็ม.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและเนเกลอริเอซิส · ดูเพิ่มเติม »

Escherichia coli

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนของ ''E. coli'' กำลังขยาย 10,000 เท่า Escherichia coli ("เอสเชอริเชีย โคไล" หรือ ") หรือเรียกโดยย่อว่า E. coli (อี. โคไล) เป็นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์ม เป็นตัวชี้การปนเปื้อนของอุจจาระในน้ำ มีอยู่ตามธรรมชาติในลำไส้ใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ แบคทีเรียชนิดนี้ทำให้เกิดอาการท้องเสียบ่อยที่สุด ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ทำให้ถ่ายอุจจาระเหลว หรือเป็นน้ำ แต่อาการมักไม่รุนแรง เพราะทั้งเด็ก และผู้ใหญ่มักมีภูมิต้านทานอยู่บ้างแล้ว เนื่องจาก ได้รับเชื้อนี้เข้าไปทีละน้อยอยู่เรื่อยๆ เชื้อนี้มักปนเปื้อนมากับอาหาร น้ำ หรือ มือของผู้ประกอบอาหาร ปกติเชื้อเหล่านี้อาจพบในอุจจาระได้อยู่แล้วแม้จะไม่มีอาการอะไร มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย ลาว กัมพูชา อินโดนีเซีย เป็นต้น ถูกค้นพบโดย Theodur Escherich มีลักษณะเป็นรูปท่อน ติดสีแดง เป็นแกรมลบ เป็น Facultative aerobe.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและEscherichia coli · ดูเพิ่มเติม »

Haemophilus influenzae

Haemophilus influenzae, หรือมีชื่อเดิมว่า Pfeiffer's bacillus หรือ Bacillus influenzae เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน ค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและHaemophilus influenzae · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) เป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก รหัสได้ถูกจัดทำขึ้นแตกต่างกันถึง 155,000 รหัสและสามารถติดตามการวินิจฉัยและหัตถการใหม่ๆ ดังจะเห็นจากรหัสที่เพิ่มขึ้นจากฉบับก่อนหน้า ICD-9 ที่มีอยู่เพียง 17,000 รหัส งานจัดทำ ICD-10 เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2526 และแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและICD-10 · ดูเพิ่มเติม »

Mycoplasma

Mycoplasma (มัยโคพลาสมา) เป็นจีนัสหนึ่งของแบคทีเรียซึ่งไม่มีผนังเซลล์ ยาปฏิชีวนะหลายๆ ชนิดที่ออกฤทธิ์ต่อผนังเซลล์ เช่น เพนิซิลลิน หรือยาอื่นในกลุ่มเบต้าแลคเทม จึงไม่มีผลต่อแบคทีเรียกลุ่มนี้ หลายสปีชีส์เป็นเชื้อก่อโรคในมนุษย์ ที่สำคัญ เช่น Mycoplasma pneumoniae ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบชนิด atypical pneumonia และโรคระบบหายใจอื่นๆ และ Mycoplasma genitalium ซึ่งเชื่อว่าสัมพันธุ์กับโรคอักเสบของอุ้งเชิงกราน หมวดหมู่:สาเหตุของมะเร็งที่มาจากการติดเชื้อ.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและMycoplasma · ดูเพิ่มเติม »

Neisseria meningitidis

Neisseria meningitidis (ไนซีเรีย เมนิงไจไทดิส) เป็นแบคทีเรียกรัมลบรูปกลมอยู่เป็นคู่ อาศัยอยู่ได้ในหลายสภาวะ เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นเชื้อก่อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและโรคติดเชื้อเมนิงโกคอคคัสหรือไข้กาฬหลังแอ่นอื่นๆ เช่น meningococcemia เชื้อนี้เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตและทุพพลภาพของเด็กและสตรีมีครรภ์ในประเทศอุตสาหกรรมและมีการระบาดในกะปิทวีปแอฟริกาและเอเชี.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและNeisseria meningitidis · ดูเพิ่มเติม »

Salmonella

Salmonella เป็นแบคทีเรียแกรมลบรูปท่อนไม่สร้างสปอร์ที่เป็นสาเหตุของอาหารเป็นพิษที่พบได้บ่อยที่สุด และจำนวนแบคทีเรียชนิดนี้ในอาหารเพียงเล็กน้อยทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยได้ สามารถเติบโตได้ที่อุณหภูมิในขอบเขตระหว่าง 8-45 องศาเซลเซียส ในอาหารที่มีความเป็นกรด-ด่างระหว่าง 4-9 อาหารที่มาจากสัตว์เช่นเนื้อสัตว์ดิบ/ปรุงไม่สุก หรือซากเป็ดไก่ ไข่ดิบ ผลิตภัณฑ์ที่มีไข่ดิบ นมดิบหรือนมที่ไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อ และผลิตภัณฑ์จากนมเช่น เนย ไอศกรีม เนยแข็งและผักบางชนิด สามารถนำเชื้อก่อโรค Salmonella จากสัตว์มาสู่คนได้ การใช้น้ำที่สกปรกทางการเกษตรหรือใช้ล้างอาหารสดทำให้เกิดการปนเปื้อนได้เช่นกัน อาการของอาหารเป็นพิษที่เกิดจาก Salmonella เป็นเช่นเดียวกับจุลินทรีย์ที่มาจากระบบทางเดินอาหารอื่นๆ เกี่ยวข้องกับอาการถ่ายเป็นน้ำ อาเจียน ปวดท้องและมีไข้ เฉพาะโดยการทดสอบจุลินทรีย์ในอุจจาระของคนจึงจะจำแนกเชื้อที่ก่อโรคได้ ทำให้เกิดไข้ไทฟอยด์ การติดเชื้อ Salmonella สามารถส่งผ่านระหว่างคน และระหว่างคนกับสัตว์ได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและSalmonella · ดูเพิ่มเติม »

Staphylococcus

Staphylococcus (มาจากσταφυλή, staphylē, "พวงองุ่น" และ κόκκος, kókkos, "แกรนูล") เป็นสกุลของแบคทีเรียแกรมบวก เมื่อมองใต้กล้องจุลทรรศน์มีรูปร่างกลม และจัดตัวเป็นรูปคล้ายพวงองุ่น สกุล Staphylococcus ประกอบด้วยสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ มีอยู่ 9 สปีชีส์ที่แบ่งได้สองสับสปีชีส์ และอีก 1 สปีชีส์ที่มีสามสับสปีชีส์ ส่วนใหญ่ไม่เป็นอันตราย พบที่ผิวหนังและสารเมือกของมนุษย์ และพบเป็นส่วนน้อยในดิน.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและStaphylococcus · ดูเพิ่มเติม »

Staphylococcus aureus

การย้อมติดสีกรัมของ ''S. aureus'' ที่มักปรากฏเป็นกลุ่ม ผนังเซลล์ติดสีของคริสตัลไวโอเล็ต โคโลนีสีเหลืองของ ''S. aureus'' ที่เจริญบน blood agar บริเวณใสรอบ ๆ โคโลนีเกิดจากการย่อยสลายเซลล์เม็ดเลือดแดงในอาหาร (beta hemolysis) Staphylococcus aureus (หมายถึง องุ่นสีทอง) เป็นแบคทีเรียชนิด facultative anaerobic กรัมบวก รูปกลม เป็นส่วนหนึ่งของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อประจำถิ่นในผิวหนังและโพรงจมูก เป็นแบคทีเรียก่อโรคชนิดหนึ่ง เมื่อ S. aureus ปนเปื้อนลงไปในอาหาร จะสร้างสารพิษที่เรียกว่าเอนเทอโรทอกซินขึ้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 ชนิด ได้แก่ ชนิด A, B, C1, C2, C3, D, E และ H สารพิษนี้ทนต่อความร้อนได้ดีมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดอาหารเป็นพิษ หลังจากรับประทานอาหารที่มีแบคทีเรียปนเปื้อนเข้าไปประมาณ 1-6 ชั่วโมง อาการของโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจาก S. aureus คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้องจากสารพิษ อาการมักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วนมากไม่มีไข้ ในรายรุนแรงอาจช็อกได้.

ใหม่!!: ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคและStaphylococcus aureus · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ICD-10 Chapter BICD-10 Chapter I: Certain infectious and parasitic diseasesICD-10 บท AICD-10 บท A และ B: โรคติดเชื้อและปรสิตICD-10 บท B

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »