โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกออร์กี จูคอฟ

ดัชนี เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

76 ความสัมพันธ์: บลิทซ์ครีกบอลเชวิกชาวรัสเซียพ.ศ. 2458พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2464พ.ศ. 2466พ.ศ. 2473พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2500พ.ศ. 2507พ.ศ. 2517พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตกลยุทธ์กองทัพจักรวรรดิรัสเซียกองทัพแดงการล้อมเลนินกราดการปฏิวัติเดือนตุลาคมฝ่ายอักษะมอสโกมองโกเลียยุทธการที่มอสโกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่ฮาลฮิน กอลยุทธการที่คูสค์ยุทธการที่เบอร์ลินยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)ยุโรปตะวันออกลีเจียนออฟเมอริตวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสหภาพโซเวียตสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตทหารข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่นปฏิบัติการบากราติออนประเทศญี่ปุ่นประเทศรัสเซีย...ประเทศแมนจูประเทศเยอรมนีนาซีเยอรมนีนีกีตา ครุชชอฟนีโคไล บุลกานินแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1โอเดสซาเบอร์ลินเลโอนิด เบรจเนฟเหรียญ "สำหรับชัยเหนือญี่ปุ่น"เหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน"เหรียญ "สำหรับการปลดปล่อยกรุงวอร์ซอ"เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่สตาลินกราด"เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่เลนินกราด"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1945"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ"เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงเครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัยเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์เครื่องอิสริยาภรณ์เลนินเคียฟเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »

บลิทซ์ครีก

วามเสียหายหลังจากบลิทซ์ครีก บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg) การโจมตีสายฟ้าแลบ เป็นคำแผลงเป็นอังกฤษ เป็นปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธีของกองทัพนาซีเยอรมันนีในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมแสนยานุภาพทั้งทางภาคพื้นดินและในอากาศเข้าด้วยกัน คำว่า บลิทซ์ครีก เป็นอธิบายการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้างความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย แนวคิดบลิทซ์ครีกนั้นได้รับการพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำศึกยืดเยื้อ บลิทซ์ครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง นำโดยพลเอกไฮนซ์ กูเดเรียน บลิทซ์ครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรก ๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและบลิทซ์ครีก · ดูเพิ่มเติม »

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวรัสเซีย

วรัสเซีย (русские) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์สลาฟ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยประชากรส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซี.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและชาวรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

รรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Коммунисти́ческая Па́ртия Сове́тского Сою́за; КПСС) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสหภาพโซเวียตและเป็นสถาบันหรือองค์กรที่มีอำนาจและบทบาททั้งทางด้านนิตินัยและพฤตินัยในการกำหนดดำเนินนโยบายต่างประเทศ อำนาจในการบริหารและตัดสินใจมาจากกลุ่มบุคคลชั้นนำในคณะกรรมการการเมือง หรือ 'โปลิตบูโร' (Politburo / Политбюро).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

กลยุทธ์

กลยุทธ์ (strategy) หรือ ยุทธศาสตร์ เป็นศัพท์ที่มีกำเนิดในทางทหาร หมายถึง แผนการปฏิบัติซึ่งวางเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์จำเพาะ กลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ในทางทหารนั้นแตกต่างจากยุทธวิธี ซึ่งว่าด้วยการดำเนินการรบปะทะ (engagement) ขณะที่ยุทธศาสตร์นั้น ว่าด้วยวิธีการเชื่อมโยงการรบปะทะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน คำถามที่ว่า "จะสู้รบอย่างไร" เป็นปัญหาทางยุทธวิธี แต่ข้อกำหนดและเงื่อนไขซึ่งมีการสู้รบกันและความเหมาะสมในการสู้รบกันนั้นเป็นปัญหาทางยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสงคราม (warfare) สี่ระดับ ได้แก่ วัตถุประสงค์ทางการเมืองหรือยุทธศาสตร์หลัก, ยุทธศาสตร์, ปฏิบัติการและยุทธวิธี นักคิดคนหนึ่งนิยามยุทธศาสตร์ไว้ว่าเป็น "วิถีอย่างครอบคลุมในอันที่จะพยายามปฏิบัติเพื่อผลเบื้องปลายทางการเมือง รวมทั้งการข่มขู่หรือการใช้กำลังอย่างแท้จริง ในวิภาษวิธีแห่งเจตจำนง ซึ่งจำต้องมีอย่างน้อยสองฝ่ายในความขัดแย้งหนึ่ง ๆ ฝ่ายเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กัน และดังนั้น ยุทธศาสตร์จะประสบความสำเร็จน้อยครั้งหากไม่แสดงความสามารถในการดัดแปลง"Beatrice Heuser, The Evolution of Strategy: Thinking War from Antiquity to the Present (Cambridge University Press, 2010), ISBN 978-0-521-19968-1, p.27f.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและกลยุทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย

กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย (Ру́сская импера́торская а́рмия) เป็นกองทัพภาคพื้นดินของ จักรวรรดิรัสเซีย ปฏิบัติการครั้งแรกในปี 1721 จนถึง การปฏิวัติรัสเซีย ในปี 1917 ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 กองทัพจักรวรรดิรัสเซียมีกำลังพลประมาณ 900,000 นาย และประจำการเกือบ 250,000 นาย (ส่วนใหญ่เป็น คอสแซค).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและกองทัพจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแดง

accessdate.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและกองทัพแดง · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมเลนินกราด

การล้อมเลนินกราด (блокада Ленинграда blokada Leningrada) เป็นการล้อมยืดเยื้อซึ่งกลุ่มกองทัพเหนือของเยอรมันกระทำต่อเลนินกราด ซึ่งก่อนหน้านี้และปัจจุบันคือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง การล้อมเริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 1941 เมื่อถนนเส้นสุดท้ายสู่นครถูกตัดขาด แม้ฝ่ายโซเวียตสามารถเปิดฉนวนทางบกแคบ ๆ สู่นครได้เมื่อวันที่ 18 มกราคม 1943 กว่าการล้อมจะยุติก็วันที่ 27 มกราคม 1944 กินเวลา 872 วัน เป็นการล้อมที่ยาวนานและทำลายล้างสูงสุดในประวัติศาสตร์ และอาจเป็นการล้อมที่มียอดผู้เสียชีวิตสูงสุดด้ว.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและการล้อมเลนินกราด · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติเดือนตุลาคม

การปฏิวัติเดือนตุลาคม (October Revolution, Октя́брьская револю́ция) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การปฏิวัติสังคมนิยมแห่งเดือนตุลาคมอันยิ่งใหญ่ (Great October Socialist Revolution, Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция) และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิก เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ลักษณะเหตุการณ์เป็นการก่อการกบฏด้วยอาวุธในกรุงเปโตรกราดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและการปฏิวัติเดือนตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่มอสโก

ทธการมอสโก เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่มอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮาลฮิน กอล

ทธการฮาลฮิน กอลเป็นการสู้รบอย่างดุเดือดของข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่นโดยไม่ได้ประกาศซึ่งสู้รบบนพื้นที่ระหว่างสหภาพโซเวียต, มองโกเลีย, ญี่ปุ่น และแมนจูกัวในปี..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่ฮาลฮิน กอล · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คูสค์

ทธการที่คูสค์ (Курская битва, Битва на Курской дуге) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่คูสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบอร์ลิน

ทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ทธการเคียฟครั้งที่หนึ่ง เป็นยุทธการที่เป็นการปิดล้อมทหารโซเวียตขนาดใหญ่โดยเยอรมันในแถบรอบเมืองเคียฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งการล้อมนี้ถือว่ายาวที่สุดในประวัติศาสตร์การรบ (จากจำนวนทหาร) ปฏิบัติการเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ลีเจียนออฟเมอริต

ลีเจียนออฟเมอริต (Legion of Merit) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์สหรัฐอเมริกา สถาปนาเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและลีเจียนออฟเมอริต · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต

อมพลแห่งสหภาพโซเวียต (Ма́ршал Сове́тского Сою́за) เป็นยศสูงสุดในกองทัพโซเวียต (ส่วนยศสูงสุด จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งมีการเสนอให้โจเซฟ สตาลินหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ไม่เคยได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร

ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น

้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น เป็นความขัดแย้งตามแนวชายแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบากราติออน

ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและปฏิบัติการบากราติออน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและประเทศแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2498) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (1955-1958) ภายใต้รัฐบาล นีกีตา ครุชชอฟ.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและนีโคไล บุลกานิน · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 (1-й Белорусский фронт) เป็นแนวรบหน้าของกองทัพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงหลังสงครามแนวรบนี้ได้วางกำลังในเยอรมนีตะวันออกเป็นกองกำลังโซเวียตในเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและแนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

โอเดสซา

อเดสซา (Оде́са, Odessa หรือ Odesa) เป็นเมืองใหญ่อันดับสามของประเทศยูเครนและเป็นเมืองท่าสำคัญในทะเลดำ โอเดสซาได้ฉายาว่า "ไข่มุกแห่งทะเลดำ" (Pearl of the Black Sea) "เมืองหลวงใต้" (South Capital) ในช่วง จักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียต และ "แพลไมราตอนใต้" (Southern Palmyra).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและโอเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับชัยเหนือญี่ปุ่น"

หรียญ "สำหรับชัยเหนือญี่ปุ่น" (Медаль «За победу над Японией») เป็นเหรียญที่ระลึกจากการสู้รบกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1945 เหรียญมอบเป็นครั้งสุดท้ายในวันที่ 18 กรกฎาคม 1980 ตามประกาศของคณะผู้บริหารสูงสุดสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต เลขที่ 2523-X ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยในขอบครึ่งวงกลมมีอักษรเขียนว่า "สำหรับชัยชนะเหนือญี่ปุ่น" («ЗА ПОБЕДУ НАД ЯПОНИЕЙ») โดยในเหรียญมีรูปครึ่งซ้ายของโจเซฟ สตาลิน ด้านหลังของเหรียญมีรูปดาวห้าแฉกพร้อมกับอักษรที่เขียนว่า "3 กันยายน 1945" («3 СЕНТЯБРЯ 1945»).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับชัยเหนือญี่ปุ่น" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน"

หรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน" (Медаль «За взятие Берлина») เป็นเหรียญที่ระลึกทางการศึกของสหภาพโซเวียตจากการสู้รบที่กรุงเบอร์ลินในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 9 มิถุนายน 1945 ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยภายในมีรูปดาวพร้อมอักษรที่เขียนว่า"สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน" («ЗА ВЗЯТИЕ БЕРЛИНА») พร้อมกับร่วงใบโอ๊กในขอบครึ่งวงกลม ด้านหลังของเหรียญมีอักษรที่เขียนว่า "2 พฤษภาคม 1945" («2 МАЯ 1945») พร้อมกับมีรูปดาวห้าแฉกอยู่ด้านล่าง.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับการปลดปล่อยกรุงวอร์ซอ"

หรียญ "สำหรับการปลดปล่อยกรุงวอร์ซอ" (Медаль «За освобождение Варшавы») เป็นเหรียญที่ระลึกจากการสู้รบที่กรุงวอร์ซอในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 9 มิถุนายน 1945 ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยในขอบครึ่งวงกลมมีอักษรเขียนว่า"สำหรับการปลดปล่อย" («ЗА ОСВОБОЖДЕНИЕ») ในแพรผ้ามีอักษรเขียนว่า "วอร์ซอ" («ВАРШАВЫ») ด้านหลังของเหรียญมีรูปดาวห้าแฉกพร้อมกับอักษรที่เขียนว่า "17 มกราคม 1945" («17 ЯНВАРЯ 1945»).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับการปลดปล่อยกรุงวอร์ซอ" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"

หรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก" (Медаль «За оборону Москвы») เป็นเหรียญที่ระลึกจากการสู้รบที่กรุงมอสโกในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1944 ระเบียบการมอบเหรียญได้รับการแก้ไขเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 1980 ตามประกาศจากคณะกรรมการบริหารสูงสุดของสหภาพโซเวียตของสหภาพโซเวียตเลขที่ 2523-X ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยในวงกลมมีรูปกลุ่มทหารโซเวียตขึ้นรถถังที-34 ผ่าน monument to Minin and Pozharsky, หอคอยเครมลิน เหนือกำแพงเครมลิน มีรูปโดมของอาคาร Senate building พร้อมกับ ธงชาติสหภาพโซเวียตที่โบกสะพัต ในท้องฟ้ามีเครื่องบินรบ 5 ลำบินอยู่ และ มีอักษรในขอบครึ่งวงกลมบนเขียนว่า "สำหรับการป้องกันที่มอสโก" («ЗА ОБОРОНУ МОСКВЫ») และมีรูปดาวห้าแฉกและช่อมะกอกอยู่ตรงกลางขอบครึ่งวงกลมล่าง ด้านหลังของเหรียญมีรูปค้อนเคียวและอักษรที่เขียนว่า "เพื่อสำหรับมาตุภูมิโซเวียต" («ЗА НАШУ СОВЕТСКУЮ РОДИНУ».).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่สตาลินกราด"

หรียญ "สำหรับการป้องกันที่สตาลินกราด" (Медаль «За оборону Сталинграда») เป็นเหรียญที่ระลึกจากการสู้รบที่นครสตาลินกราดในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1942 ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยในวงกลมมีรูปทหารโซเวียต, รถถัง, เครื่องบินรบ และ ธงชาติสหภาพโซเวียต และมีอักษรในขอบครึ่งวงกลมเขียนว่า "สำหรับการป้องกันที่สตาลินกราด" («ЗА ОБОРОНУ СТАЛИНГРАДА») และมีรูปดาวห้าแฉกด้านบน ด้านหลังของเหรียญมีรูปค้อนเคียวและอักษรที่เขียนว่า "เพื่อสำหรับมาตุภูมิโซเวียต" («ЗА НАШУ СОВЕТСКУЮ РОДИНУ».).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับการป้องกันที่สตาลินกราด" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่เลนินกราด"

หรียญ "สำหรับการป้องกันที่เลนินกราด" (Медаль «За оборону Ленинграда») เป็นเหรียญที่ระลึกถึงการศึกในสงครามโลกครั้งที่สอง จากสหภาพโซเวียตในช่วงการป้องกันนครเลนินกราดจากการล้อมตลอด 872 วัน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญ "สำหรับการป้องกันที่เลนินกราด" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง" (Юбилейная медаль «XX лет Рабоче-Крестьянской Красной Армии») เป็นเหรียญที่ระลึกของสหภาพโซเวียต เนื่องในวาระครบรอบ 20 ปีการก่อตั้งกองทัพโซเวียต ได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 24 มกราคม..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1945"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาต..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1945" · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ"

หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" (Юбилейная медаль «30 лет Советской Армии и Флота») เป็นเหรียญที่ระลึกของสหภาพโซเวียต เนื่องในวาระครบรอบ 30 ปีการก่อตั้งกองทัพโซเวียต และ กองทัพเรือโซเวียต ได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1948 ระเบียบการมอบเหรียญได้รับการแก้ไขเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 1980 ตามประกาศจากคณะกรรมการบริหารสูงสุดของสหภาพโซเวียตของสหภาพโซเวียตเลขที่ 2523-X เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" ถูกสวมใส่ที่ด้านซ้ายของหน้าอกและอยู่รวมกับเหรียญอื่น ๆ โดยไว้ลำดับถัดไปจากเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง" หากมีเหรียญจากสหภาพโซเวียตที่สูงกว่าหรือจากเหรียญของสหพันธรัฐรัสเซีย ให้ไว้ในลำดับถัดไป ลักษณะของเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 มิลลิเมตร ด้านหน้าเป็นรูปครึ่งขวาของวลาดีมีร์ เลนิน และ โจเซฟ สตาลิน (หน้าสุด) โดยที่มีเลขโรมัน "XXX" อยู่ด้านล่าง ด้านหลังมีข้อความที่เขียนเป็นขอบวงกลมว่า "เพื่อฉลองครบรอบ 30 ปี" («В ОЗНАМЕНОВАНИЕ ТРИДЦАТОЙ ГОДОВЩИНЫ») และมีรูปดาวห้าแฉกอยู่ด้านล่างสุดของเหรียญ ตรงกลางมีข้อความที่เขียนเป็น 2 บรรทัดว่า "กองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" («СОВЕТСКОЙ АРМИИ И ФЛОТА») พร้อมกับระบุปี "1918-1948".

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง

รื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง (Орден Красного Знамени) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารดวงแรกของสหภาพโซเวียต สถาปนาเมื่อวันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ

รื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ («Орден Суворова» "Orden Suvorova") เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งชื่อตามGeneralissimoแห่งจักรวรรดิรัสเซีย อะเลคซันดร์ วาซีลเยวิช ซูโวรอฟ (1729–1800) เครื่องอิสริยาภรณ์ได้รับการสถาปนาในช่วงมหาสงครามของผู้รักชาติ โดยจะมอบให้กับเจ้าหน้าที่และนายพลในกองทัพแดง ที่ทำหน้าที่เป็นผู้นำที่ดี เครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ มีทั้งหมดสามชั้น โดยได้รับการสถาปนาอีกครั้งในสหพันธรัฐรัสเซียหลัง การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ตามประกาศของสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เลขที่ 2557-I เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 1992.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย

รื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย (Орден "Победa") คือเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สหภาพโซเวียตมอบให้กับผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สองและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน

รื่องอิสริยาภรณ์เลนิน (Орден Ленина, Orden Lenina) คือเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหภาพโซเวียตโดยตั่งชือตามวลาดีมีร์ เลนินผู้นำการปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยผู้ได้รับต้องมีคุณสมบัติดังนี.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

เคียฟ

ียฟ (Київ, Kyyiv, คืยิว; Киев, Kiyev, คียิฟ; Kiev, Kyiv) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครน และยังเป็น 1 ใน 4 เมืองเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ด้วย โดยมีสนามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติเคียฟเป็นสถานที่แข่งขัน ตั้งอยู่ภาคกลางตอนเหนือของประเทศ ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ (Dnieper) ในปี พ.ศ. 2544 เคียฟมีประชากร 2,660,401 คน ในปัจจุบันคาดว่าเพิ่มเป็นมากกว่า 3.5 ล้านคน.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเคียฟ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ใหม่!!: เกออร์กี จูคอฟและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Georgy Zhukovกอร์กี ซูคอฟกิออร์กี ชูคอฟกิออร์กี้ ชูคอฟจอร์จี ซูคอฟซูคอฟ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »