โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

CYP3A4

ดัชนี CYP3A4

ซโทโครม P450 3A4 (Cytochrome P450 3A4; ชื่อย่อ: CYP3A4) เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกายมนุษย์ ส่วนใหญ่พบได้ที่ตับและลำไส้ โดยเอนไซม์นี้จะทำหน้าที่ออกซิไดซ์โมเลกุลอินทรีย์แปลกปลอมขนาดเล็ก (ซีโนไบโอติค) เช่น สารพิษ หรือยา เพื่อให้ร่างกายสามารถกำจัดสารแปลกปลอมเหล่านี้ออกไปได้ ยารักษาโรคส่วนใหญ่มักถูกทำให้หมดฤทธิ์ได้โดยเอนไซม์ CYP3A4 แต่ในทางตรงกันข้าม กลับมียาบางชนิดที่ถูกทำให้มีฤทธิ์ในการรักษาได้ด้วยเอนไซม์นี้ อย่างไรก็ตาม สารบางอย่าง เช่น น้ำเกรปฟรูต และยาบางชนิดอาจมีฤทธิ์รบกวนการทำงานของเอนไซม์ CYP3A4 ได้ โดยผลที่เกิดขึ้นจากอันตรกิริยาระหว่างสารเหล่านี้กับเอนไซม์ CYP3A4 อาจเพิ่มหรือลดประสิทธิภาพการรักษาของยาที่จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างด้วยเอนไซม์ CYP3A4 ได้ CYP3A4 เป็นเอนไซม์ในกลุ่มออกซิไดซิงเอนไซม์ตระกูลไซโตโครม P450 ซึ่งเอนไซม์สมาชิกอื่นในกลุ่มเอนไซม์นี้ล้วนมีส่วนสำคัญยิ่งในกระบวนการเปลี่ยนแปลงยาหลายชนิดที่แตกต่างกันออกไป แต่ CYP3A4 เป็นเอนไซม์มีส่วนเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงยาได้หลากหลายชนิดมากที่สุด CYP3A4 เป็นเอนไซม์ที่เป็นสารฮีโมโปรตีนเช่นเดียวกันกับเอนไซม์อื่นในตระกูลนี้ กล่าวคือ เป็นโปรตีนที่มีกลุ่มของฮีมซึ่งมีอะตอมของธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบ ในมนุษย์ โปรตีน CYP3A4 จะถูกเข้ารหัสโดยยีน CYP3A4 ซึ่งยีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มยีน cytochrome P450 บน โครโมโซมคู่ที่ 7 โลคัส 7q21.1.

116 ความสัมพันธ์: ชิมแปนซีบิวพรีนอร์ฟีนชีวปริมาณออกฤทธิ์พาราเซตามอลพิเพอรีนกล้ามเนื้อเรียบการถอดรหัส (พันธุศาสตร์)การฉีดเข้าหลอดเลือดดำการแปลรหัส (พันธุศาสตร์)กาเฟอีนมะเร็งมะเร็งเต้านมมิดาโซแลมยอยายาชาเฉพาะที่ยากันชักยายับยั้งการหลั่งกรดยาระงับอาการทางจิตยาระงับปวดยาปฏิชีวนะยานอนหลับยาแก้ท้องร่วงยาแก้ซึมเศร้ายีนระบบประสาทกลางริสเพอริโดนริโตนาเวียร์ร่างแหเอนโดพลาซึมลำไส้เล็กลิแกนด์วัฏจักรเซลล์วาร์ฟารินสมองสารกระตุ้นสารก่อมะเร็งสารต้านฮิสตามีนสารต้านตัวรับเอช2สแตตินสเตอรอยด์อะฟลาทอกซินอะซิโทรมัยซินอะโทวาสแตตินอัลลีลอัลเฟนทานิลอาการปวดเค้นหัวใจอาการไม่พึงประสงค์จากยาอิริโทรมัยซินอินดินาเวียร์ทรามาดอล...ทับทิม (ผลไม้)คลอแรมเฟนิคอลคลอเฟนะมีนคลาริโทรมัยซินคอเลสเตอรอลคาร์บอนไดออกไซด์คาร์บามาเซพีนคีโตโคนาโซลตับตัวถูกเปลี่ยนตัวทำการซาควินาเวียร์ซิมวาสแตตินซิลเดนาฟิลซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึมซิโปรฟลอกซาซินปฏิกิริยารีดอกซ์ปราวาสแตตินแมโครไลด์แอมโลดิพีนแอสเทมมีโซลแอนตี้โดพามิเนอร์จิกแดพโซนแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์แคปเซอิซินแปะก๊วยโพรพาโนลอลโรสุวาสแตตินโลวาสแตตินโลคัส (พันธุศาสตร์)โอมีปราโซลโอปิออยด์โคดีอีนโคเคนโปรดรักโปรตีนไรแฟมพิซินไฮโดรโคโดนไดแอซิแพมไซเมทิดีนเบตาบล็อกเกอร์เบ็นโซไดอาเซพีนเฟนิโทอินเฟนทานิลเกรปฟรูตเมทาโดนเมแทบอลิซึมเมแทบอลิซึมของยาเรื้อนเอสโตรเจนเอนไซม์เอ็มอาร์เอ็นเอเทลิโทรมัยซินเทสโทสเตอโรนเทอร์เฟนาดีนเดอะแลนซิตเด็กซาเมทาโซนเคมีบำบัดเงิน (โลหะ)เซอริวาสแตตินเนลฟินาเวียร์เนวิราพีนเนื้อเยื่อCYP3A5CYP3A7Selective serotonin re-uptake inhibitors ขยายดัชนี (66 มากกว่า) »

ชิมแปนซี

มแปนซี (Chimpanzee; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pan troglodytes) เป็นลิงไม่มีหางที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที.

ใหม่!!: CYP3A4และชิมแปนซี · ดูเพิ่มเติม »

บิวพรีนอร์ฟีน

วพรีนอร์ฟีน หรือ bupe (Buprenorphine) เป็นยาในกลุ่ม โอปิออยด์ ที่มีฤทธิ์เป็นตัวทำการ ย่อย(agonist) และปฏิปักษ์ (antagonist) บิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์นำออกทำตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1980 โดยเรคกิตต์และโคลแมน (ปัจจุบันคือเรคกิตต์เบนค์กิเซอร์ (Reckitt Benckiser)) เป็นยาบรรเทาปวด ครั้งแรกใช้รักษาการติดยาในกลุ่มโอปิออยด์ จัดเป็นยาประเภท Schedule III โดยอนุสัญญาว่าด้วยสารที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท (Convention on Psychotropic Substances).

ใหม่!!: CYP3A4และบิวพรีนอร์ฟีน · ดูเพิ่มเติม »

ชีวปริมาณออกฤทธิ์

ีวปริมาณออกฤทธิ์ หรือ ชีวประสิทธิผล (bioavailability) ในทางเภสัชวิทยา หมายถึงส่วนของยาจากยาทั้งหมดที่นำเข้าสู่ร่างกายคนไข้ (administered dose) ที่สามารถเข้าสู่ ระบบไหลเวียนโลหิต ได้ ตามหลักข้อหนึ่งของเภสัชจลนศาสตร์ถ้าผู้ป่วยได้รับยาโดยการฉีดเข้าเส้น (intravenous) ชีวปริมาณออกฤทธิ์ของยาตัวนี้จะเท่ากับ 100% แต่ถ้าผู้ป่วยได้รับยาโดยการรับประทานหรือทางปาก จำนวนยาที่เข้าสู่กระแสเลือดจะลดลงเหลือไม่ถึง 100% เนื่องจากการดูดซึมที่ไม่สมบูรณ์และเฟิร์สท-พาสส์ เมตาโบลิซึม (first-pass metabolism) ชีวปริมาณออกฤทธิ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในเภสัชจลนศาสตร์ ที่จะใช้คำนวณปริมาณยาที่จะให้คนไข้ในกรณีที่ไม่ใช่การให้โดยการฉี.

ใหม่!!: CYP3A4และชีวปริมาณออกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พาราเซตามอล

ราเซตามอล (Paracetamol (INN)) หรือ อะเซตามีโนเฟน (acetaminophen (USAN)) ทั้งหมดย่อมาจาก para-acetylaminophenol เป็นยาที่สามารถจำหน่ายได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ (OTC) มีฤทธิ์แก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ และอาการปวดเมื่อย และรักษาให้หายจากโรคหวัดและไข้หวัด พาราเซตามอลประกอบด้วยยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) และโอปิออยด์ พาราเซตามอลมักใช้รักษาอาการปวดพื้นฐานถึงการปวดอย่างซับซ้อน โดยทั่วไปพาราเซตามอลจะปลอดภัยต่อมนุษย์หากได้รับในปริมาณที่เหมาะสม แต่หากได้รับปริมาณมากเกินไป (เกิน 1000 มิลลิกรัมต่อโดส หรือ 4,000 มิลลิกรัมต่อวันในผู้ใหญ่ หรือเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวันสำหรับผู้ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) จะทำให้เกิดความเสียหายต่อการทำงานของตับได้ แต่ผู้ป่วยบางรายที่รับประทานในปริมาณปกติก็สามารถส่งผลต่อตับได้เช่นเดียวกับผู้ที่รับในปริมาณมากเกินไปเช่นกัน แต่หากกรณีดังกล่าวพบได้น้อยมาก อันตรายจากการใช้ยานี้จะมากขึ้นในผู้ดื่มแอลกอฮอล์ พิษของพาราเซตามอลสามารถทำให้แกิดภาวะตับล้มเหลวซึ่งมีการพบแล้วในโลกตะวันตก อาทิในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และนิวซีแลน.

ใหม่!!: CYP3A4และพาราเซตามอล · ดูเพิ่มเติม »

พิเพอรีน

พิเพอรีน (Piperine) เป็นแอลคาลอยด์ในกลุ่ม Piperidine พบมากในเมล็ดพริกไทยและดีปลี ซึ่งอยู่ในวงศ์ Piperaceae สารพิเพอรีน เป็นสารที่ให้รสร้อน ออกฤทธิ์กระตุ้นต่อมรับรส ทำให้กรดในในกระเพาะถูกหลั่งขึ้นมา มีฤทธิ์ในการขับเหงื่อ ปัสสาวะ และไล่แมลงด้วย หมวดหมู่:เคมี.

ใหม่!!: CYP3A4และพิเพอรีน · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อเรียบ

ั้นต่างๆ ของหลอดอาหาร:1. ชั้นเยื่อเมือก (mucosa) 2. ชั้นใต้เยื่อเมือก (submucosa) 3. ชั้นกล้ามเนื้อ (muscularis) 4. ชั้นแอดเวนทิเชีย (adventitia) 5. กล้ามเนื้อลาย (striated muscle) 6. กล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อเรียบ (Striated and smooth) 7. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) 8. ชั้นมัสคิวลาริส มิวโคซา (Lamina muscularis mucosae) 9. ต่อมหลอดอาหาร (Esophageal glands) กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อที่ไม่มีลาย หรือเซลที่ไม่มีลาย มีการหดตัวอัตโนมัติ จากการสั่งงานของเส้นประสาท (Smooth muscle) เป็นกล้ามเนื้อชนิดหนึ่งที่พบอยู่ที่ผนังของอวัยวะกลวง (hollow organs) และบริเวณอื่นๆ เช่น กระเพาะปัสสาวะและช่องท้อง, มดลูก, ท่อทางเดินในระบบสืบพันธุ์เพศชายและหญิง, ทางเดินอาหาร, ทางเดินหายใจ, หลอดเลือด, ผิวหนัง, กล้ามเนื้อซิลิอารี และม่านตา ที่โกลเมอรูลัส (glomerulus) ในไตยังมีเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เรียกว่า เซลล์มีแซนเจียล (mesangial cell) กล้ามเนื้อเรียบมีความแตกต่างจากกล้ามเนื้อโครงร่างและกล้ามเนื้อหัวใจทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที.

ใหม่!!: CYP3A4และกล้ามเนื้อเรียบ · ดูเพิ่มเติม »

การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)

การถอดรหัส หรือ การสร้างอาร์เอ็นเอ (Transcription หรือ RNA synthesis) คือ กระบวนการการสร้างอาร์เอ็นเอจากดีเอ็นเอ ซึ่งทั้งอาร์เอ็นเอและดีเอ็นเอต่างเป็นกรดนิวคลิอิกซึ่งใช้ลำดับคู่เบสของนิวคลีโอไทด์เป็นส่วนเติมเต็มซึ่งกันและกันซึ่งสามารถเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้หากมีเอนไซม์ที่เหมาะสม ในช่วงการถอดรหัสนั้น ลำดับดีเอ็นเอจะถูกอ่านโดยเอนไซม์ RNA polymerase ซึ่งจะสร้างคู่เติมเต็มซึ่งเป็นสายอาร์เอ็นเอที่ขนานสวนกัน เทียบกันกับการสร้างดีเอ็นเอแล้ว การถอดรหัสจะทำให้ได้ผลเป็นอาร์เอ็นเอคู่เติมเต็มที่มีเบสยูราซิล (Uracil, U) แทนที่ตำแหน่งของเบสไทมีน (Thymine, T) ที่เคยมีในสายดีเอ็นเอคู่นั้น.

ใหม่!!: CYP3A4และการถอดรหัส (พันธุศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ

การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ คือการส่งผ่านของเหลวเข้าสู่เส้นเลือดโดยตรง โดยวิธีนี้เป็นวิธีที่เร็วที่สุดในการส่งของเหลวเข้าสู่ร่างกายเปรียบเทียบกับวิธีการอื่น การรักษาที่ใช้วิธีการฉีดเข้าเส้น ได้แก่ การถ่ายเลือด หรือการฉีดยาเข้าสู่เส้นเลือดดำโดยตรงเพื่อให้ยาออกฤทธิ์แทบจะทันที หมวดหมู่:รูปแบบเภสัชภัณฑ์ หมวดหมู่:การรักษาทางการแพทย์.

ใหม่!!: CYP3A4และการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ · ดูเพิ่มเติม »

การแปลรหัส (พันธุศาสตร์)

ทรานสเลชันของโปรตีนที่หลั่งเข้าสู่เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม ทรานสเลชัน (Translation) เป็นขั้นตอนแรกของการสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงออกของยีน ทรานสเลชันเป็นการผลิตโปรตีนโดยอ่านรหัสจาก mRNA ที่ได้จากทรานสคริบชัน ทรานสเลชันเกิดในไซโตพลาสซึมซึ่งมีไรโบโซมอยู่ ไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ซึ่งจะมาประกบกันเมื่อมี mRNA ทรานสเลชันนี้จะสร้างพอลิเพปไทด์จากการอ่านรหัสพันธุกรรมที่เป็นลำดับเบสบน mRNA รหัสพันธุกรรมจะเป็นตัวบอกลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน ส่วน RNA ชนิดอื่น เช่น rRNA, tRNA, snRNA ไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกรดอะมิโน ทรานสเลชันมี 4 ขั้นตอนคือ การกระตุ้น การเริ่มต้น การต่อเนื่องและการสิ้นสุด กรดอะมิโนจะถูกนำมายังไรโบโซมจากนั้นจึงต่อกันเป็นโปรตีน ขั้นตอนการกระตุ้น กรดอะมิโนจะเกิดพันธะโควาเลนต์กัน tRNA ที่เป็นคู่กัน กรดอะมิโนจะใช้หมู่คาร์บอกซิลจับกับหมู่ 3' OH ของ tRNA ด้วยพันธะเอสเทอร์ ขั้นตอนการเริ่มต้น เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5' ของ mRNA โดยมี initiation factors (IF) เป็นผู้ช่วย การสิ้นสุดของการสร้างสายพอลิเพปไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็นรหัสพันธุกรรมหยุด (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่ releasing factor จะเข้ามาทำให้ปล่อยสายพอลิเพปไทด์ออกไป ปลาย 5' ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของพอลิเพปไทด์ และขั้นตอนทรานสเลชันเริ่มจาก N->C ยาปฏิชีวนะจำนวนหนึ่งออกฤทธิ์ยับยั้งทรานสเลชัน เช่น anisomycin, cycloheximide, chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin ไรโบโซมของโปรคาริโอตมีโครงสร้างต่างจากของยูคาริโอต ทำให้ยาปฏิชีวนะจำเพาะเฉพาะแบคทีเรียไม่ทำลายยูคาริโอตที่เป็นเจ้าบ้าน หมวดหมู่:การแสดงออกของยีน หมวดหมู่:เซลล์ หมวดหมู่:อณูชีววิทยา.

ใหม่!!: CYP3A4และการแปลรหัส (พันธุศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

กาเฟอีน

กาเฟอีน (caféine) เป็นสารแซนทีนอัลคาลอยด์ ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดได้แก่ เมล็ดกาแฟ, ชา, โคล่า กาเฟอีนถือว่าเป็นยากำจัดศัตรูพืชโดยธรรมชาติ เพราะมันออกฤทธิ์ทำให้อัมพาต และสามารถฆ่าแมลงบางชนิดได้ กาเฟอีนยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ร่างกายเกิดความตื่นตัวและลดความง่วงได้ เครื่องดื่มหลายชนิดมีกาเฟอีนเป็นส่วนผสม เช่นในกาแฟ น้ำชา น้ำอัดลม รวมทั้งเครื่องดื่มชูกำลัง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: CYP3A4และกาเฟอีน · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ใหม่!!: CYP3A4และมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็งเต้านม

แมมโมแกรม: (ซ้าย) เต้านมปกติ (ขวา) เต้านมมะเร็ง มะเร็งเต้านม (Breast cancer) เป็นโรคมะเร็งที่พัฒนาจากเนื้อเยื่อเต้านม อาจมีอาการแสดง ได้แก่ มีก้อนในเต้านม มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของเต้านม ผิวหนังมีรอยบุ๋ม มีสารน้ำไหลจากหัวนม หรือมีปื้นผิวหนังมีเกล็ดแดง ในผู้ที่มีการแพร่ของโรคไปไกล อาจมีปวดกระดูก ปุ่มน้ำเหลืองโต หายใจลำบาก มะเร็งเต้านมทั่วโลกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในหญิง โดยคิดเป็น 25% ของผู้ป่วยมะเร็งทั้งหมด ในปี 2555 โรคนี้มีผู้ป่วย 1.68 ล้านคน และผู้เสียชีวิต 522,000 คน พบมากกว่าในประเทศพัฒนาแล้ว และพบในหญิงมากกว่าชาย 100 เท.

ใหม่!!: CYP3A4และมะเร็งเต้านม · ดูเพิ่มเติม »

มิดาโซแลม

มิดาโซแลม (Midazolam) หรือชื่อทางการค้าคือ เวอร์เซด (Versed) เป็นยาในกลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนออกฤทธิผ่านกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก ใช้สำหรับทำให้สลบ, ใช้เป็นยาระงับประสาท, รักษาอาการนอนไม่หลับ และรักษาภาวะกายใจไม่สงบ ผู้คนมักใช้ยานี้เป็นยานอนหลับและลดความวิตกกังวล การใช้ยานี้ส่งผลให้ความสามารถในการจำแย่ลง ยานี้ยังเป็นประโยชน์อย่างมากในการระงับอาการชัก สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, สูดดม หรือรับเป็นสายละลายผ่านท่อน้ำเกลือ หากใช้วิธีฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิภายในห้านาที หากเป็นการฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะออกฤทธิในสิบห้านาที และจะออกฤทธิเป็นเวลาหนึ่งถึงหกชั่วโมง ผลข้างเคียงจากการใช้ยามิดาโซแลม ได้แก่ หายใจลำบาก, ความดันโลหิตต่ำ และง่วงนอน หากใช้ยานี้ในระยะยาวอาจเกิดภาวะดื้อยาและการเสพติด สตรีมีครรภ์ควรงดใช้ยานี้ สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ได้ในปริมาณจำกัด มีดาโซแลมเป็นยาที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: CYP3A4และมิดาโซแลม · ดูเพิ่มเติม »

ยอ

อกยอ ยอ (L.) เป็นพืชพื้นเมืองในแถบพอลินีเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ภาษามลายูเรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกโนนู เป็นไม้ยืนต้น ต้นสี่เหลี่ยม เปลือกต้นเรียบ ใบสีเขียวเข้ม ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ฐานดอกติดกันแน่นเป็นทรงกลม ผลทรงยาวรี เมื่ออ่อนสีเขียว พอสุกเปลี่ยนเป็นสีขาวนวล เนื้อนุ่ม รสเผ็ด กลิ่นแรง มีเมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาลเข้ม.

ใหม่!!: CYP3A4และยอ · ดูเพิ่มเติม »

ยา

thumb ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว.

ใหม่!!: CYP3A4และยา · ดูเพิ่มเติม »

ยาชาเฉพาะที่

ฉพาะที่ (Local anesthetic, LA) เป็นยาที่ทำให้เกิดการหมดความรู้สึกเฉพาะที่ (local anesthesia) โดยทั่วไป จุดมุ่งหมายของยาชาประเภทนี้คือการทำให้เกิดอาการชาหรือระงับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นเฉพาะบริเวณที่ต้องการให้หมดความรู้สึก (local analgesic) เท่านั้น ดังนั้น บริเวณอื่นของร่างกายที่ไม่ได้รับยาชาเฉพาะที่ก็จะยังคงสามารถรับความรู้สึกได้ตามปกต.

ใหม่!!: CYP3A4และยาชาเฉพาะที่ · ดูเพิ่มเติม »

ยากันชัก

แอนติอิพิเลปติก (อังกฤษ:antiepileptics) มีอีกชื่อว่า แอนติคอนวัลแซนต์ (anticonvulsants) เป็นยาต้านและป้องกันอาการชักเช่นอาการชักจากลมบ้าหมู กลไกการออกฤทธิ์คือการบล็อกโวลเตก-เซนซิตีพ โซเดียมแชแนล (voltage-sensitive sodium channel) ในสมอง.

ใหม่!!: CYP3A4และยากันชัก · ดูเพิ่มเติม »

ยายับยั้งการหลั่งกรด

(Proton pump inhibitors, PPI) เป็นกลุ่มของยาที่มีฤทธิ์ลดการผลิตกรดในกระเพาะอาหารได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ทางยาที่ใกล้เคียงกับยาอีกกลุ่มแต่ออกฤทธิ์ต่างกันเล็กน้อยเรียกว่า H2-รีเซพเตอร์ แอนตาโกนิสต์ ยาพวกนี้มีใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากมีคุณภาพสูงและปลอดภัย ตามโครงสร้างทางเคมียาเหล่านี้จะเป็นสารเคมีในกลุ่มเบนซิมิดาโซล (benzimidazole).

ใหม่!!: CYP3A4และยายับยั้งการหลั่งกรด · ดูเพิ่มเติม »

ยาระงับอาการทางจิต

ระงับอาการทางจิต (Antipsychotic หรือ Neuroleptic) หรือ ยากล่อมประสาทหลัก (Major tranquilizer) เป็นยาประเภทหนึ่งที่ใช้รักษาโรคจิต (ได้แก่อาการหลงผิด, ประสาทหลอน, อาการจิตหวาดระแวง หรือ ความผิดปรกติในความคิด) โดยเฉพาะโรคจิตเภทและโรคอารมณ์สองขั้ว อย่างไรก็ตาม มีการใช้ยานี้เพื่อรักษาโรคอื่นๆที่ไม่ใช่โรคจิตเช่นกัน การใช้ยาประเภทนี้ติดต่อกันในระยะยาวอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงอันได้แก่ การเคลื่อนไหวนอกอำนาจจิตใจ, เต้านมโต, และโรคอ้วนลงพุง ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อมจากการใช้ยาประเภทนี้.

ใหม่!!: CYP3A4และยาระงับอาการทางจิต · ดูเพิ่มเติม »

ยาระงับปวด

ระงับปวด ยาบรรเทาปวด หรือ ยาแก้ปวด (analgesic หรือ painkiller) เป็นกลุ่มของยาที่ใช้บรรเทาความเจ็บปวด มีผลหลายทางทั้งระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system) และระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) ประกอบด้ว.

ใหม่!!: CYP3A4และยาระงับปวด · ดูเพิ่มเติม »

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ใหม่!!: CYP3A4และยาปฏิชีวนะ · ดูเพิ่มเติม »

ยานอนหลับ

นอนหลับ เป็นยากดประสาทที่ทำหลับ นิยมใช้ทางการแพทย์เพื่อทำให้คนไข้หลับ ยานอนหลับมี 3 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: CYP3A4และยานอนหลับ · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้ท้องร่วง

แก้ท้องร่วง (antidiarrhoeal) เป็นยาที่ใช้บรรเทาอาการท้องร่วงท้องร่วง (diarrhoea) ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มดังนี้.

ใหม่!!: CYP3A4และยาแก้ท้องร่วง · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้ซึมเศร้า

แผงยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) โครงสร้างทางเคมีของ venlafaxine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI) ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) เป็นยาเพื่อรักษาโรคซึมเศร้าและโรคอื่น ๆ รวมทั้ง dysthymia, โรควิตกกังวล, โรคย้ำคิดย้ำทำ, ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder), ความเจ็บปวดเรื้อรัง, ความเจ็บปวดเหตุประสาท (neuropathic pain), และในบางกรณี อาการปวดระดู การกรน โรคไมเกรน โรคสมาธิสั้น การติด การติดสารเสพติด และความผิดปกติในการนอน โดยสามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือรวมกับยาชนิดอื่น ๆ ตามที่แพทย์สั่ง กลุ่มยาแก้ซึมเศร้าที่สำคัญที่สุดรวมทั้ง selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs), serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs), tricyclic antidepressants (TCAs), monoamine oxidase inhibitors (MAOIs), reversible monoamine oxidase A inhibitors (rMAO-A inhibitors), tetracyclic antidepressants (TeCAs), และ noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSAs) โดยมียาสมุนไพรจากพืช Hypericum perforatum (St John's wort) ที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าเหมือนกัน.

ใหม่!!: CYP3A4และยาแก้ซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

ยีน

รโมโซมคือสายดีเอ็นเอที่พันประกอบขึ้นเป็นรูปร่าง ยีนคือส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอที่ถอดรหัสออกมาเพื่อทำหน้าที่ ยีนสมมติในภาพนี้ประกอบขึ้นจากแค่สี่สิบคู่เบส ซึ่งยีนจริงๆ จะมีจำนวนคู่เบสมากกว่านี้ ยีน, จีน หรือ สิ่งสืบต่อพันธุกรรม (gene) คือลำดับดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอที่สามารถถอดรหัสออกมาเป็นโมเลกุลหนึ่งๆ ที่สามารถทำหน้าที่ได้ โดยปกติแล้วดีเอ็นเอจะถูกถอดรหัสออกมาเป็นอาร์เอ็รนเอ แล้วอาร์เอ็นเอนั้นอาจทำหน้าที่ได้เองโดยตรง หรือเป็นแบบให้กับขั้นตอนการแปลรหัส ซึ่งเป็นการสร้างโปรตีนเพื่อทำหน้าที่ต่อไปก็ได้ การถ่ายทอดยีนไปยังทายาทของสิ่งมีชีวิตเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการส่งต่อลักษณะไปยังรุ่นถัดไป ยีนต่างๆ เหล่านี้ประกอบกันขึ้นเป็นลำดับดีเอ็นเอเรียกว่าจีโนทัยป์หรือลักษณะพันธุกรรม ซึ่งเมื่อประกอบกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและการเจริญเติบโตแล้วจะเป็นตัวกำหนดฟีโนทัยป์หรือลักษณะปรากฏ ลักษณะทางชีวภาพหลายๆ อย่างถูกกำหนดโดยยีนหลายยีน บางอย่างถูกกำหนดโดยปฏิสัมพันธ์ระหว่างยีนกับสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างอาจปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น สีตา จำนวนแขนขา และบางอย่างก็ไม่ปรากฏให้เห็น เช่น หมู่เลือด ความเสี่ยงของการเกิดโรค รวมถึงกระบวนการทางชีวเคมีนับพันที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ยีนอาจเกิดการกลายพันธุ์สะสมในลำดับพันธุกรรมได้ ทำให้เกิดความแตกต่างของการแสดงออกในกลุ่มประชากร เรียกว่าแต่ละรูปแบบที่แตกต่างนี้ว่า อัลลีล แต่ละอัลลีลของยีนยีนหนึ่งจะถอดรหัสออกมาเป็นโปรตีนที่มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ทำให้เกิดลักษณะปรากฏทางฟีโนทัยป์ที่แตกต่างกันไป ในระดับคนทั่วไปเมื่อพูดถึงการมียีน เช่น มียีนที่ดี มียีนสีผมน้ำตาล มักหมายถึงการมีอัลลีลที่แตกต่างของยีนยีนหนึ่ง ยีนเหล่านี้จะผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติเพื่อให้เกิดการอยู่รอดของอัลลีลที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ยีนเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซมที่ถอดรหัสได้เป็นสายพอลิเพปไทด์หนึ่งสายที่ทำงานได้ (single functional polypeptide) หรือได้เป็นอาร์เอ็นเอ ยีนประกอบด้วยส่วนที่สามารถถอดรหัสเป็นอาร์เอ็นเอได้ เรียกว่า exon และบริเวณที่ไม่สามารถถอดรหัสได้ เรียกว่า intron.

ใหม่!!: CYP3A4และยีน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบประสาทกลาง

แผนภาพแสดงซีเอ็นเอส:'''1.''' สมอง'''2.''' ระบบประสาทกลาง (สมองและไขสันหลัง) '''3.''' ไขสันหลัง ระบบประสาทกลาง หรือ ระบบประสาทส่วนกลาง หรือ ซีเอ็นเอส (central nervous system; ตัวย่อ: CNS) เป็นโครงสร้างที่ใหญ่ที่สุดของระบบประสาท ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system) ในการควบคุมพฤติกรรม โครงสร้างของระบบประสาทกลางจะอยู่ภายในช่องลำตัวด้านหลัง (dorsal cavity) สมองอยู่ในช่องลำตัวด้านศีรษะ (cranial cavity) และไขสันหลังอยู่ในช่องไขสันหลัง (spinal cavity) โครงสร้างเหล่านี้ถูกปกคลุมด้วยเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง (meninges) สมองยังถูกปกคลุมด้วยกะโหลกศีรษะและไขสันหลังยังมีกระดูกสันหลังช่วยป้องกันการกระทบกระเทือน.

ใหม่!!: CYP3A4และระบบประสาทกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ริสเพอริโดน

ริสเพอริโดน (Risperidone) หรือชื่อทางการค้าคือ ไรสเปอร์ดัล (Risperdal) เป็นยาระงับอาการทางจิต ใช้โดยหลักเพื่อรักษาโรคจิตเภท โรคอารมณ์สองขั้ว และความหงุดหงิดของคนไข้โรคออทิซึม --> เป็นยาที่ใช้รับประทานหรือฉีดในกล้ามเนื้อ โดยแบบฉีดมีฤทธิ์ยาวนานประมาณ 2 อาทิตย์ ผลข้างเคียงที่สามัญรวมทั้งปัญหาการเคลื่อนไหว (extrapyramidal symptoms) ความง่วง ปัญหาในการมองเห็น ท้องผูก และน้ำหนักเพิ่ม ผลข้างเคียงหนักอาจรวมความพิการทางการเคลื่อนไหวแบบถาวรคืออาการยึกยือเหตุยา (tardive dyskinesia) กลุ่มอาการร้ายจากยารักษาโรคจิต (neuroleptic malignant syndrome) โอกาสเสี่ยงฆ่าตัวตายสูงขึ้น และภาวะเลือดมีน้ำตาลมาก (hyperglycemia) ในผู้สูงอายุที่มีอาการโรคจิต (psychosis) เนื่องจากภาวะสมองเสื่อม อาจจะเพิ่มโอกาสเสียชีวิต --> ยังไม่ชัดเจนว่ายาปลอดภัยที่จะใช้ระหว่างมีครรภ์หรือไม่ --> ริสเพอริโดนเป็นยากลุ่ม atypical antipsychotic --> กลไกการออกฤทธิ์ของมันยังไม่ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกี่ยวกับความเป็นปฏิปักษ์ต่อระบบโดพามีน (dopamine antagonist) งานศึกษาเกี่ยวกับยาเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับอนุญาตให้ขายในสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และริสเพอริโดน · ดูเพิ่มเติม »

ริโตนาเวียร์

ริโตนาเวียร์ (Ritonavir) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: CYP3A4และริโตนาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่างแหเอนโดพลาซึม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: CYP3A4และร่างแหเอนโดพลาซึม · ดูเพิ่มเติม »

ลำไส้เล็ก

ลำไส้เล็ก เป็นอวัยวะซึ่งมีหน้าที่ย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยวิลไล(มีหน้าที่เพิ่มพื้นที่ในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก) เอนไซม์ย่อยในลำไส้เล็กนั้นมาจากลำไส้เล็กหลั่งเองส่วนหนึ่งและตับอ่อนหลั่งส่วนหนึ่ง.

ใหม่!!: CYP3A4และลำไส้เล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ลิแกนด์

ลิแกนด์ (ligand) มีความหมายตามวิชาดังนี้.

ใหม่!!: CYP3A4และลิแกนด์ · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรเซลล์

chapter.

ใหม่!!: CYP3A4และวัฏจักรเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

วาร์ฟาริน

วาร์ฟาริน (warfarin, หรือชื่อการค้า คูมาดิน, มารีแวน, ยูนิวาร์ฟิน) เป็นสารกันเลือดเป็นลิ่มซึ่งปกติใช้ป้องกันภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือดและภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด วาร์ฟารินมักเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ยาเจือจางเลือด" (blood thinner) เริ่มใช้ใน..

ใหม่!!: CYP3A4และวาร์ฟาริน · ดูเพิ่มเติม »

สมอง

มอง thumb สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท คำว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คำนี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษ.

ใหม่!!: CYP3A4และสมอง · ดูเพิ่มเติม »

สารกระตุ้น

ริทาลิน SR 20 มก. สารกระตุ้น หรือ ยากระตุ้น (Stimulant) เป็นยาที่ใช้เพิ่มระดับความตื่นตัวหรือการรับรู้ชั่วคราว ยาเหล่านี้มักจะทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการออกฤทธิ์ที่มากเกินไปจึงมักเป็นยาผิดกฎหมายหรือต้องอยู่ภายใต้การสั่งของแพทย์ ยาเหล่านี้มีกลไกเพิ่มการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติก หรือระบบประสาทกลาง หรือทั้งสองอย่าง สารกระตุ้นบางชนิดโดยเฉพาะยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทกลางทำให้เกิดภาวะเคลิ้มสุข (euphoria) ฤทธิ์ในการรักษาของยากระตุ้นคือเพื่อเพิ่มความตื่นตัว เพื่อสู้กับความเหนื่อยล้าจากการนอนหลับไม่เพียงพอ หรือเพื่อต้านกับภาวะผิดปกติที่มีความรู้สึกตัวลดลง เช่น ภาวะง่วงเกิน (narcolepsy) หรือเพื่อลดน้ำหนักร่วมกับรักษาโรคสมาธิสั้น (ADHD) และในบางครั้งอาจใช้รักษาภาวะซึมเศร้า ยากระตุ้นอาจใช้ในเพิ่มการทำงานร่วมกับลดความอยากอาหาร.

ใหม่!!: CYP3A4และสารกระตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

สารก่อมะเร็ง

ัญลักษณ์เตือน"สารเคมีนี้อาจเป็นสารก่อมะเร็ง" สารก่อมะเร็ง (carcinogen) หมายถึง สาร วัตถุ นิวไคลด์กัมมันตรังสี หรือการแผ่รังสีใดๆ ที่เป็นตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงเสถียรภาพของจีโนม หรือการรบกวนกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ ธาตุกัมมันตรังสีบางชนิดก็ถูกจัดให้เป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งการกระตุ้นนั้นจะมาจากรังสีที่แผ่ออกมา อาทิ รังสีแกมมาหรืออนุภาคแอลฟา สารก่อมะเร็งอย่างหนึ่งที่รู้จักโดยทั่วไปคือ ควันบุหรี.

ใหม่!!: CYP3A4และสารก่อมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

สารต้านฮิสตามีน

รต้านฮิสตามีน (antihistamine) หรือ ทั่วไปเรียกว่า ยาแก้แพ้ เป็น ยา ที่ใช้กำจัดหรือลดผลของ ฮิสตามีน (histamine) ซึ่งเป็นเป็นสารเคมีที่ถูกปลดปล่อยภายในร่างกายจาก ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (allergic reactions) โดยผ่านการกระทำที่ ตัวรับฮิสตามีน (histamine receptors) สารที่มีผลในการรักษาจะออกฤทธิ์ในการยับยั้งตัวรับฮีสทามีนนี้จึงถูกเรียกว่า สารต้านฮีสตามีน - สารอื่นที่มีผลต้านฮีสทามีนแต่ไม่ออกฤทธิ์ที่ ตัวรับฮิสตามีน จะไม่เป็นสารต้านฮีสทามีนที่แท้จริง โดยทั่วไป สารต้านฮีสตามีนจะหมายถึง ตัวรับปฏิปักษ์ H1 ซึ่งเรียกว่า สารต้านฮิสตามีน-H1 เราพบว่า สารต้านฮิสตามีน-H1เป็น ตัวทำการกลับ (inverse agonist) ที่ตัวรับฮิสตามีน-H1มากกว่าที่จะเป็น ตัวรับปฏิปักษ์ per se.

ใหม่!!: CYP3A4และสารต้านฮิสตามีน · ดูเพิ่มเติม »

สารต้านตัวรับเอช2

อช2รีเซพเตอร์แอนตาโกนีสต์ (H2-receptor antagonist) เป็นยาที่ใช้ระงับการทำงานของฮีสตามีนต่อพาเรียทัลเซลล์ (parietal cell) ในกระเพาะอาหาร เพื่อทำให้เซลล์เหล่านั้นลดการผลิตกรดลง ยาเหล่านี้ใช้รักษาอาการอาหารไม่ย่อย (dyspepsia) อย่างไรก็ดีความนิยม ได้ลดลงเนื่องจากยายับยั้งการขับโปรตอน (proton pump inhibitor) ใช้ได้ดีกว.

ใหม่!!: CYP3A4และสารต้านตัวรับเอช2 · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: CYP3A4และสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

สเตอรอยด์

ตอรอยด์ (อังกฤษ: steroid) เป็นลิพิดที่มีคุณสมบัติพิเศษ โดยที่โครงสร้างคาร์บอนจะเป็นวงแหวน 4 วงเชื่อมต่อกัน ความแตกต่างของชนิดสเตอรอยด์จะผันแปรไปตามฟังก์ชันนัลกรุป (functional group) ที่ติดอยู่กับวงแหวนเหล่านี้ มีสเตอรอยด์แตกต่างกันนับร้อยชนิดที่สามารถตรวจพบในพืชและสัตว์ ตัวอย่างบทบาทสำคัญของสเตอรอยด์ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่คือ ฮอร์โมน Steroid skeleton. Carbons 18 and above can be absent. ในสรีรวิทยาและการแพทย์ของมนุษย์ สารสเตอรอยด์ที่สำคัญส่วนใหญ่ คือ คอเลสเตอรอล, สเตอรอยด์, ฮอร์โมน และสารตั้งต้น (precursor) และเมแทบอไลต์ คอเลสเตอรอลเป็นสารประกอบประเภท สเตอรอยด์แอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ในสัตว์ แต่อย่างไรก็ดี ถ้ามันมีปริมาณมากเกินไปจะทำให้เกิดโรค และภาวะผิดปกติมากมาย เช่น ภาวะผนังเส้นโลหิตแดงหนาและมีความยึดหยุ่นน้อยลง (atherosclerosis) สเตอรอยด์อื่นส่วนใหญ่ถูกสังเคราะห์จาก คอเลสเตอรอลฮอร์โมนต่าง ๆ เช่น ฮอร์โมนเพศของสัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrate) ก็เป็นสเตอรอยด์ที่สร้างจากคอเลสเตอรอล สเตอรอยด์แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: CYP3A4และสเตอรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

อะฟลาทอกซิน

ูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน B1 สูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน G1 อะฟลาทอกซิน (aflatoxins) เป็นสารเคมีมีพิษและก่อมะเร็งที่ผลิตจากราบางชนิด (Aspergillus flavus และ Aspergillus parasiticus) ซึ่งเจริญในดิน พืชพรรณที่ย่อยสลาย ฟางและเมล็ดพืช มักพบในโภคภัณฑ์สำคัญที่เก็บอย่างไม่เหมาะสม เช่น มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวโพด เมล็ดฝ้าย ข้าวเดือย ถั่วลิสง ข้าวฟ่าง เมล็ดดอกทานตะวัน ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ข้าวสาลี และเครื่องเทศหลายชนิด เมื่ออาหารที่ปนเปื้อนถูกแปรรูป อะฟลาทอกซินจะเข้าสู่แหล่งอาหารทั่วไปซึ่งมีการพบทั้งในอาหารคนและสัตว์ เช่นเดียวกับในอาหารสัตว์สำหรับสัตว์ทางการเกษตร สัตว์ที่ได้อาหารที่ปนเปื้อนสามารถผ่านผลิตภัณฑ์การแปลงอะฟลาทอกซินสู่ไข่ ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ได้ เด็กได้รับผลกระทบจากการสัมผัสอะฟลาทอกซินมากเป็นพิษ ทำให้การเติบโตช้า พัฒนาการช้า ตับเสียหายและมะเร็งตับ ผู้ใหญ่มีความทนต่อการสัมผัสมากกว่า แต่ก็ยังมีความเสี่ยง ไม่มีสัตว์ชนิดใดมีภูมิต้านทาน อะฟลาทอกซฺนจัดเป็นสารก่อมะเร็งได้มากที่สุดชนิดหนึ่งเท่าที่ทราบ หลังเข้าสู่ร่างกาย อะฟลาทอกซินจะถูกตับสร้างและสลายเป็นสารตัวกลางอีพอกไซด์กัมมันต์หรือถูกย่อยสลายด้วยน้ำกลายเป็นอะฟลาทอกซิน เอ็ม1 ซึ่งเป็นอันตรายน้อยกว่า อะฟลาทอกซินส่วนใหญ่ได้จากการกิน แต่อะฟลาทอกซินชนิดบี1 ซึ่งเป็นพิษมากที่สุด สามารถผ่านเข้าทางผิวหนังได้ ค่าระดับการแสดงฤทธิ์ที่องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กำหนดสำหรับอะฟลาทอกซินในอาหารหรืออาหารสัตว์อยู่ที่ 20 ถึง 300 ส่วนต่อพันล้านส่วน FDA ยังสามารถประกาศเรียกคืนอาหารคนและสัตว์ได้เป็นมาตรการล่วงหน้าเพื่อป้องกันการสัมผัส คำว่า "อะฟลาทอกซิน" มาจากชื่อของราตัวหนึ่งที่ผลิตสารนี้ คือ Aspergillus flavus มีการประดิษฐ์คำนี้ประมาณ..

ใหม่!!: CYP3A4และอะฟลาทอกซิน · ดูเพิ่มเติม »

อะซิโทรมัยซิน

อะซิโทรมัยซิน (Azithromycin) หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: CYP3A4และอะซิโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

อะโทวาสแตติน

อะโทวาสแตติน (atorvastatin) เป็นยาในกลุ่มสแตตินใช้สำหรับลดคอเลสเตอรอลและป้องกันโรคคาร์ดิโอวาสคูลาร์ อะโทวาสแตตินมีฤทธิ์ยับยั้งเรต-ดีเทอร์มินิงเอ็นไซม์ซึ่งทำหน้าที่สังเคราะห์คอเลสเตอรอลในตับ มันมีผลลดแอลดีแอล คอเลสเตอรอลซึ่งเป็นคอเลสเตอรอลชนิดดีด้วย ต่างจากซิมวาสแตติน และ ปราวาสแตติน อะโทวาสแตตินเป็นสารประกอบที่สังเคราะห์ 100 % อะโทวาสแตติน ผลิตและจำหน่ายโดย บริษัทยา ไฟเซอร์ ในชื่อการค้าว่า ลิปิเตอร์ (Lipitor) เป็นยาที่ขายดี ที่สุดในโลก โดยในปี 2547 มียอดขายประมาณ 440,000 ล้านบาท.

ใหม่!!: CYP3A4และอะโทวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

อัลลีล

อัลลีล (allele) คือรูปแบบหนึ่ง ๆ จากหลาย ๆ รูปแบบของยีนหนึ่ง ๆ บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจทำให้เกิดลักษณะแสดงออก เช่น สีตา สีผม ที่แตกต่างกันได้ บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจไม่ได้ทำให้มีลักษณะแสดงออกที่แตกต่างกันก็ได้ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ส่วนใหญ่มีโครโมโซมสองชุด เรียกว่าเป็นสิ่งมีชีวิตแบบดิพลอยด์ โครโมโซมเหล่านี้เรียกว่าเป็นโครโมโซมที่เป็นโฮโมโลกัสกัน สิ่งมีชีวิตแบบดิพลอยด์จะมียีนหนึ่ง ๆ หนึ่งยีน (และหมายถึงอัลลีลหนึ่ง ๆ หนึ่งอัลลีล) บนโครโมโซมแต่ละอัน หากทั้งสองอัลลีลเป็นอัลลีลที่เหมือนกัน เรียกว่าเป็นอัลลีลที่เป็นโฮโมไซกัส ถ้าไม่เหมือนกันเรียกว่าเป็นเฮเทอโรไซกั.

ใหม่!!: CYP3A4และอัลลีล · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟนทานิล

ูตรโครงสร้างของอัลเฟนทานิล อัลเฟนทานิล (Alfentanil หรือ Alfenta) เป็นยาฉีด (parenteral) ออกฤทธิ์สั้นประเภทโอปิออยด์ เป็นยาบรรเทาปวดที่ใช้ระงับความรู้สึกในการผ่าตัด มีปัญหาต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด น้อย แต่มีการกดระบบหายใจที่รุนแรง.

ใหม่!!: CYP3A4และอัลเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

อาการปวดเค้นหัวใจ

อาการปวดเค้นหัวใจ (angina pectoris) คืออาการเจ็บหน้าอกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นผลจากการขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจ ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการอุดตันหรือหดเกร็งของหลอดเลือดหัวใจ สาเหตุส่วนใหญ่ของอาการปวดเค้นหัวใจคือโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นผลจากการเกิดการแข็งของหลอดเลือดหัวใจ คำภาษาอังกฤษของอาการปวดเค้นหัวใจคือ angina pectoris มาจากคำภาษาลาตินว่า "angere" ("บีบรัด") ประกอบกับคำว่า pectus ("อก") ดังนั้นอาจแปลตามรูปศัพท์ได้ว่าอาการปวดเหมือนถูกบีบรัดหน้าอก ความรุนแรงของความเจ็บปวดมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของการขาดออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจอยู่บ้างเพียงเล็กน้อย (หมายความว่าแม้จะมีอาการปวดรุนแรง แต่อาจไม่เป็นหัวใจขาดเลือดก็ได้ และผู้ป่วยหัวใจขาดเลือด อาจไม่เจ็บหรือเจ็บไม่มากก็ได้) อาการปวดที่เป็นมากขึ้นๆ ("crescendo") อาการปวดที่เป็นมากขึ้นทันทีทันใดขณะไม่ได้ออกแรงหรือพัก และอาการปวดที่เป็นอยู่นานกว่า 15 นาที เป็นอาการของอาการปวดเค้นไม่เสถียร ("unstable angina") (มักนับรวมกับโรคอื่นๆ ที่ใกล้เคียงกันเป็นกลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน) อาการเช่นนี้มีโอกาสสูงที่จะเป็นจากการมีกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด จำเป็นต้องได้รับการตรวจจากแพทย์โดยด่วน ส่วนใหญ่เบื้องต้นมักถือว่าเป็นหัวใจขาดเลือดไว้ก่อน.

ใหม่!!: CYP3A4และอาการปวดเค้นหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

อาการไม่พึงประสงค์จากยา

อาการไม่พึงประสงค์จากยา (adverse drug reaction, ADR) คือภาวะซึ่งมีผลเสียจากการใช้ยาในขนาดปกติ ในการให้ยาแบบปกติ อาจเกิดหลังการให้ยาเพียงครั้งเดียว หรือเมื่อให้เป็นเวลานาน หรือเมื่อให้พร้อมกับยาอื่น ก็ได้ ภาวะนี้แตกต่างจากผลข้างเคียงของยาตรงที่ผลข้างเคียงของยานั้นไม่จำเป็นจะต้องเป็นผลที่ไม่พึงประสงค์แต่เพียงอย่างเดียว วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์จากยาเรียกว่า pharmacovigilance Category:เภสัชวิทยา.

ใหม่!!: CYP3A4และอาการไม่พึงประสงค์จากยา · ดูเพิ่มเติม »

อิริโทรมัยซิน

อีริโธรมัยซิน (Erythromycin) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในกลุ่มแมคโครไลด์ (Macrolides) ซึ่งใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุจากแบคทีเรีย ซึ่งยาในกลุ่มดังกล่าว รวมถึงอีริโธรมัยซินนั้นมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียได้คล้ายคลึงหรือกว้างกว่ายาในกลุ่มเพนนิซิลิน (Penicillins) เล็กน้อย โดยยาดังกล่าวมักถูกสั่งใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ต่อยากลุ่มเพนนิซิลิน สำหรับในกรณีที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อในทางเดินหายใจนั้น ยาดังกล่าวจะออกฤทธิ์ครอบคุลมเชื้อกลุ่ม Atypical pathogens ได้ดีกว่า ได้แก่ ไมโคพลาสมา (Mycoplasma) และ ลิจิโอเนลลา (Legionella) โดยบริษัทแรกที่ผลิตยาชนิดนี้ออกสู่ตลาดเป็นรายแรกคือ Eli Lilly and Company จนกระทั่งในปัจจุบัน ยาชนิดนี้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ erythromycin ethylsuccinate (EES) ซึ่งเป็นรูปแบบเกลือเอสเทอร์ที่ถูกใช้กันโดยส่วนใหญ่ และยาดังกล่าวมักถูกนำไปปรับประยุกต์เพื่อใช้ในการบริหารยาโดยการหยอดตาสำหรับเด็กแรกเกิดเพื่อป้องกันเยื่อตาอักเสบในทารกแรกเกิด (neonatal conjunctivitis) และถือเป็นยาทางเลือกรองสำหรับการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexual transmitted diseases; STDs) บางโรคอีกด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังมีการใช้อีริโธรมัยซินเพื่อรักษาภาวะที่มีระยะเวลาที่ใช้ในการบีบตัวของกระเพาะอาหารเพื่อดันอาหารลงสู่ลำไส้เล็กนานกว่าปกติ (Delayed gastric emptying time) แต่การใช้ในข้อบ่งชี้ดังกล่าวนั้น เป็นการใช้ยาจากประโยชน์นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในฉลาก (Off-label use basis) ในกรณีที่ต้องการผลทางเภสัชจลนศาตร์ที่ดีกว่าในผู้ป่วยที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (hospitalized patients) อาจมีการพิจารณาใช้ยาอีริโธรมัยซินในรูปแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดำ (IV) แทน อย่างไรก็ตาม การใช้ยาอีริโธรมัยซินในรูปแบบรับประทานเพื่อแก้ไขความผิดปกติของทางเดินอาหารข้างต้นนั้นยังมีข้อมูลจำกัดในเรื่องของประสิทธิภาพของยาในระยะยาว จากสูตรโคงสร้างทางเคมีของอีริโธรมัยซินซึ่งเป็นสารประกอบแมคโครไซคลิค (macrocyclic compound) ที่ประกอบไปด้วยวงแหวนแลคโตน (Lactone ring) จำนวน 14 วง, มีศูนย์ไครัล (Chiral center หรือ asymmetric center) มากถึง 10 ตำแหน่ง และต่อกับน้ำตาลอีก 2 โมเลกุล คือ (L-cladinose และ D-desosamine) ทำให้สารประกอบชนิดนี้ยากต่อการสังเคราะห์เลียนแบบเป็นอย่างมาก ดังนั้น การผลิตยาอีริโธรมัยซินนี้จึงต้องผลิตจากการคัดแยกจากสารผสมที่ได้จากการสันดาปของเชื้อแอคติโนมัยสีท (Actinomycete) ชื่อวิทยาศาสตร์ แซคคาโรโพลีสปอรา อีรีธราอี (''Saccharopolyspora erythraea'') อีริโธรมัยซินเป็นยาอีกหนึ่งชนิดในรายการจำเป็นขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization's List of Essential Medicines) ซึ่งเป็นรายการยาที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบบริการสุขภาพพื้นฐาน (ฺBasic health system) ของแต่ละประเท.

ใหม่!!: CYP3A4และอิริโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

อินดินาเวียร์

อินดินาเวียร์ (Indinavir) หมวดหมู่:แอลกอฮอล์ หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: CYP3A4และอินดินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรามาดอล

ทรามาดอล (Tramadol) เป็นยาในกลุ่มโอปิออยด์ ใช้เป็นยาบรรเทาปวดสำหรับรักษาอาการปวดระดับปานกลางถึงระดับรุนแรง เป็นสารสังเคราะห์ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับโอปิออยด์อื่น และออกฤทธิ์ที่ระบบ GABAergic, noradrenergic และ serotonergic ทรามาดอลถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัทยาของ ประเทศเยอรมนี ชื่อ "Grünenthal GmbH" และทำตลาดภายใต้ชื่อการค้าว่า "ทรามัล" ® (Tramal) Grünenthal มีสิทธิบัตรยาไขว้กับหลายบริษัท ยาตัวนี้จึงมีชื่อการค้าหลายชื่อ ทรามาดอลมีทั้งรูปยาฉีดเข้าเส้น เข้ากล้ามเนื้อ และตำรับยารับประทาน ทรามาดอลในท้องตลาดจะอยู่ในรูปเกลือไฮโดรคลอไรด์ คือ "ทรามาดอลไฮโดรคลอไรด์" (tramadol hydrochloride).

ใหม่!!: CYP3A4และทรามาดอล · ดูเพิ่มเติม »

ทับทิม (ผลไม้)

ผลทับทิม แกะออก เห็นเมล็ดข้างใน บทความนี้กล่าวถึง "ทับทิม" ในฐานะผลไม้ชนิดหนึ่ง สำหรับทับทิมในความหมายอื่นๆ ดูได้ใน ทับทิม ทับทิม ชื่อท้องถิ่น เซี๊ยะลิ้ว, พิลา, พิลาขาว, มะก่องแก้ว, มะเก๊าะ, หมากจัง เป็นไม้ผลขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 5-8 เซนติเมตร ทับทิมมีถิ่นกำเนิดจากตะวันออกของประเทศอิหร่าน ทางตอนใต้ของอัฟกานิสถานและทางตอนเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ทับทิมจึงชอบอากาศหนาวเย็นและอยู่บนพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 300 เมตร ยิ่งอากาศหนาวเนื้อทับทิมจะมีสีแดงเข้มมากขึ้น.

ใหม่!!: CYP3A4และทับทิม (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

คลอแรมเฟนิคอล

ลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol หรือ 2,2-dichlor-N-acetamide) เป็น ยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ได้จาก แบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตมัยซีส เวเนซูเอลี (Streptomyces venezuelae) และปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ คลอแรมเฟนิคอล มีประสิทธิภาพในการต้านจุลินทรีย์ได้หลายชนิด แต่เนื่องจากมันมีผลข้างเคียงที่อันตรายมาก เช่น ทำลายไขกระดูก (bone marrow) และ มะเร็งเม็ดโลหิตขาว (aplastic anemia) ถึงแม้จะมีผลข้างเคียงที่อันตรายแต่องค์การอนามัยโลกก็อนุญาตให้ใช้ คลอแรมเฟนิคอล สำหรับรักษาโรคทางเดินอาหารของเด็กในประเทศโลกที่ 3 กรณีที่ไม่มีทางเลือกใช้ยาที่ดีกว่าและถูกกว่า โรคที่ใช้รักษาได้แก่อหิวาตกโรค (cholera) สามารถทำลายเชื้อ วิบริโอ (vibrio) และลดอาการ ท้องร่วง (diarrhea) มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ วิบริโอ ที่ดื้อยา เตตร้าไซคลิน (tetracycline) ได้ดี และนอกจากนี้ยังใช้ใน ยาหยอดตา (eye drop) เพื่อรักษาโรค เยื่อตาขาวอักเสบ (conjunctivitis).

ใหม่!!: CYP3A4และคลอแรมเฟนิคอล · ดูเพิ่มเติม »

คลอเฟนะมีน

ลอเฟนะมีน (Chlorphenamine) ซึ่งเป็นชื่อสากล หรือ คลอเฟนิรามีน (chlorpheniramine) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (USAN) และเคยใช้ในประเทศอังกฤษ (BAN) เป็นยาที่ขายในรูปแบบ chlorphenamine maleate เป็นสารต้านฮิสทามีนประเภท alkylamine รุ่นแรกที่ใช้ป้องกันอาการแพ้ เช่น เยื่อจมูกอักเสบและลมพิษ ผลระงับประสาทของมันค่อนข้างอ่อนเทียบกับสารต้านฮิสทามีนรุ่นแรกอื่น ๆ คลอเฟนะมีนเป็นสารต้านฮิสทามีนที่ใช้มากที่สุดในสัตวแพทย์สำหรับสัตว์เล็ก แม้จะไม่ได้อนุมัติให้ใช้เป็นยาแก้ซึมเศร้าหรือยาแก้วิตกกังวล (anxiolytic) คลอเฟนะมีนก็มีฤทธิ์เหล่านั้นด้วย คลอเฟนะมีนเป็นส่วนของกลุ่มสารต้านฮิสทามีน ที่รวมเฟนิรามีน, สารอนุพันธ์แบบเฮโลเจน (halogenated) ของเฟนิรามีน, และยาอื่น ๆ รวมทั้ง fluorpheniramine, เดกซ์คลอเฟนิรามีน, บรอมเฟนิรามีน, เดกซ์บรอมเฟนิรามีน, deschlorpheniramine, ไตรโพรลิดีน, และ iodopheniramine สารต้านฮิสทามีนประเภท alkylamine แบบเฮโลเจนทั้งหมดรวมทั้งคลอเฟนะมีน มี optical isomerism เช่นกัน และคลอเฟนะมีนที่วางขายจะอยู่ในรูปแบบ chlorphenamine maleate แบบแรซิมิก เทียบกับเดกซ์คลอเฟนิรามีน ซึ่งเป็น dextrorotary stereoisomer.

ใหม่!!: CYP3A4และคลอเฟนะมีน · ดูเพิ่มเติม »

คลาริโทรมัยซิน

คลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทแมคโคไรด์ หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: CYP3A4และคลาริโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

คอเลสเตอรอล

อเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นทั้งสารสเตอรอยด์ ลิพิด และแอลกอฮอล์ พบในเยื่อหุ้มเซลล์ของทุกเนื้อเยื้อในร่างกายและถูกขนส่งในกระแสเลือดของสัตว์ คอเลสเตอรอลส่วนใหญ่ไม่ได้มากับอาหารแต่จะถูกสังเคราะห์ขึ้นภายในร่างกาย จะสะสมอยู่มากในเนื้อเยื้อของอวัยวะที่สร้างมันขึ้นมาเช่น ตับ ไขสันหลัง สมอง และผนังหลอดเลือดแดง (atheroma) คอเลสเตอรอลมีบทบาทในกระบวนการทางชีวเคมีมากมาย ในอดีต-ปัจจุบันคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าคอเลสเตอรอลเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหัวใจหลอดเลือด และภาวะคอเลสเทอรอลสูงในเลือด (Hypercholesterolemia) แต่กลุ่มนักโภชนาการบำบัดบางกลุ่มอ้างว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค และภาวะดังกล่าวนั้น เกิดจากการที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินไป ส่งผลให้ของเสียของน้ำตาล นั่นก็คือ CO2 (คาร์บอนไดออกไซด์) ทำให้เกิดภาวะเป็นกรดในหลอดเลือด กัดเซาะผนังหลอดเลือดจนเสียหาย ร่างก่ายจึงต้องส่งคอเลสเตอรอลมาซ่อมแซมผนังหลอดเลือดที่เสียหาย ร่างกายใช้คอเลสเตอรอลเป็นสารเบื้องต้นในการสร้างฮอร์โมนเพศทุกชนิด สร้างน้ำดี สร้างสารสเตอรอลที่อยู่ใต้ผิวหนังให้เป็นเป็นวิตามินดี เมื่อโดนแสงแดด คอเลสเตอรอลจะพบมากในไข่แดง เครื่องในสัตว์ และอาหารทะเล ค่อนข้างสูง ร่างกายสามารถสังเคราะห์เองได้แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการ.

ใหม่!!: CYP3A4และคอเลสเตอรอล · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บอนไดออกไซด์

ร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) หรือ CO2 เป็นก๊าซไม่มีสี ซึ่งหากหายใจเอาก๊าซนี้เข้าไปในปริมาณมากๆ จะรู้สึกเปรี้ยวที่ปาก เกิดการระคายเคืองที่จมูกและคอ และหาจยใจไม่ออกเนื่องจากอาจเกิดการละลายของแก๊สนี้ในเมือกในอวัยวะ ก่อให้เกิดกรดคาร์บอนิกอย่างอ่อน คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่น 1.98 kg/m3 ซึ่งเป็นประมาณ 1.5 เท่าของอากาศ โมเลกุลประกอบด้วยพันธะคู่ 2 พันธะ (O.

ใหม่!!: CYP3A4และคาร์บอนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บามาเซพีน

ร์บามาเซพีน (Carbamazepine) หรือชื่อทางการค้าคือ เทเกรทอล (Tegretol) เป็นยาสามัญใช้สำหรับรักษาโรคลมชักและอาการปวดเส้นประสาท แต่ไม่เหมาะสำหรับใช้รักษาโรคชักเหม่อและกล้ามเนื้อกระตุกรัว นอกจากนี้ ยังถูกใช้ควบคู่กับยาอื่นๆในการรักษาโรคจิตเภทและเป็นยารองในการรักษาโรคอารมณ์สองขั้ว ยาคาร์บามาเซพีนมีการทำงานเหมือนกับยาเฟนิโทอินและวาลโปรเอท ผลข้างเคียงจากการใช้ยาคาร์บามาเซพีนได้แก่คลื่นไส้และง่วง ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ เป็นผื่นคัน, ไขกระดูกลดลง, คิดฆ่าตัวตาย หรือเกิดภาวะสับสน ยาชนิดนี้ไม่เหมาะที่จะใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคเกี่ยวกับไขสันหลัง สตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรควรหลีกเลี่ยงยาชนิดนี้ อย่างไรก็ตาม สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคชักเหม่อไม่ควรหยุดใช้ยาชนิดนี้โดยทันที ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับไตหรือตับควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต้คำแนะนำของแพทย์ ยาชนิดนี้ยังทำให้การได้ยินเสียงผิดเพี้ยนไปจากเดิมได้ด้วย คาร์บามาเซพีนถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และคาร์บามาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

คีโตโคนาโซล

ีโตโคนาโซล (ketoconazole) เป็นกลุ่มยาต้านเชื้อราในกลุ่มเอโซล (Azole antifungals) ผลิตจากสารสังเคราะห์อนุพันธ์ของอิมิดาโซลไดออกโซโลน (imidazole dioxolone) ในทางการแพทย์ใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อราอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ยาคีโตโคนาโซล สามารถใช้ได้ทั้งการรับประทานโดยรับประทานพร้อมอาหาร และใช้ทาภายนอกบริเวณที่ติดเชื้อ.

ใหม่!!: CYP3A4และคีโตโคนาโซล · ดูเพิ่มเติม »

ตับ

ตับ (liver) เป็นอวัยวะสำคัญที่พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์บางชนิด ในร่างกายมนุษย์ อยู่ในช่องท้องซีกขวาด้านบนใต้กระบังลม มีหน้าที่หลายอย่างรวมทั้งการกำจัดพิษในเมแทบอไลท์ (metabolites) (สารที่ได้จากขบวนการเมแทบอลิซึม) การสังเคราะห์โปรตีน และการผลิตสารชีวเคมีต่างๆที่จำเป็นในกระบวนการย่อยอาหาร ถ้าตับล้มเหลว หน้าที่ของตับไม่สามารถทดแทนได้ในระยะยาว โดยที่เทคนิคการฟอกตับ (liver dialysis) อาจช่วยได้ในระยะสั้น ตับยังจัดเป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย ในศัพท์ทางการแพทย์ คำที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับตับจะขึ้นต้นด้วยคำว่า hepato- หรือ hepatic ซึ่งมาจากคำในภาษากรีก hepar ซึ่งหมายถึงตับ มีหน้าที่สำคัญในขบวนการเมแทบอลิซึมหลายประการในร่างกาย เช่นการควบคุมปริมาณไกลโคเจนสะสม การสลายเซลล์เม็ดเลือดแดง การสังเคราะห์พลาสมาโปรตีน การผลิตฮอร์โมน และการกำจัดพิษ ตับยังเป็นต่อมช่วยย่อยอาหารโดยผลิตน้ำดีซึ่งเป็นสารประกอบอัลคาไลน์ช่วยย่อยอาหารผลิตโดยขบวนการผสมกับไขมัน (emulsification of lipids) ถุงนํ้าดีจะใช้เป็นที่เก็บน้ำดีนี้ ถุงน้ำดีมีลักษณะเป็นถุงอยู่ใต้ตับ ก่อนอาหารถุงน้ำดีจะป่องมีขนาดเท่าผลลูกแพร์เล็กเต็มไปด้วยน้ำดี หลังอาหาร น้ำดีจะถูกนำไปใช้หมด ถุงน้ำดีจะแฟบ เนื้อเยื่อของตับมีความเป็นพิเศษอย่างมาก ส่วนใหญ่ประกอบด้วย hepatocytes ที่ควบคุมปฏิกิริยาชีวเคมีปริมาณสูง รวมทั้งการสังเคราะห์และการแตกตัวของโมเลกุลที่ซับซ้อนขนาดเล็กที่จำเป็นอย่างมากในการทำงานเพื่อการดำรงชีวิตปกติ หน้าที่การทำงานทั้งหมดอาจแตกต่างกันไป แต่ในตำราประมาณว่ามีจำนวนประมาณ 500 อย่าง.

ใหม่!!: CYP3A4และตับ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวถูกเปลี่ยน

ตัวถูกเปลี่ยน หรือ ซับสเตรต (substrate) ในทางชีววิทยาและวิทยาเอนไซม์ หมายถึง โมเลกุลที่เอนไซม์จับ เอนไซม์เร่งปฏิกิริยาเคมีที่มีตัวถูกเปลี่ยนมาเกี่ยวข้อง ในกรณีตัวถูกเปลี่ยนตัวเดียว ตัวถูกเปลี่ยนจะยึดกับบริเวณเร่ง (active site) ของเอนไซม์ และเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนเอนไซม์กับตัวถูกเปลี่ยน (enzyme-substrate complex) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์ออกมาหนึ่งชนิดหรือมากกว่า ซึ่งจะถูกปล่อยจากบริเวณเร่ง บริเวณเร่งของเอนไซม์ก็จะสามารถรับโมเลกุลตัวถูกเปลี่ยนตัวใหม่ได้อีก ในกรณีที่มีตัวถูกเปลี่ยนมากกว่าหนึ่งตัว ตัวถูกเปลี่ยนอาจจับกับบริเวณเร่งตามลำดับที่เจาะจง ก่อนที่จะทำปฏิกิริยากันเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาระหว่างเอนไซม์กับตัวถูกเปลี่ยน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ E + S ⇌ ES → EP ⇌ E + P โดยที่ E คือ เอนไซม์ S คือ ตัวถูกเปลี่ยน และ P คือ ผลิตภัณฑ์ ขณะที่ขั้นแรก (ขั้นจับ) และขั้นที่สาม (ขั้นปล่อย) โดยทั่วไปสามารถผันกลับได้ แต่ขั้นที่สองอาจผันกลับไม่ได้หรือผันกลับได้ก็ได้ การเพิ่มความเข้มข้นของตัวถูกเปลี่ยน จะเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาเนื่องจากโอกาสเกิดสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างเอนไซม์กับตัวถูกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น ยกเว้นความเข้มข้นของเอนไซม์จะเป็นปัจจัยจำกัด คือ เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของตัวถูกเปลี่ยนไปถึงจุดหนึ่งแล้ว อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะไม่เพิ่มขึ้นอีก เพราะเอนไซม์อิ่มตัวด้วยตัวถูกเปลี่ยน หมวดหมู่:โมเลกุลชีวภาพ หมวดหมู่:จลนศาสตร์เอนไซม์ หมวดหมู่:ตัวเร่งปฏิกิริยา.

ใหม่!!: CYP3A4และตัวถูกเปลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวทำการ

Agonists อะโกนิสต์ (agonist) เป็นสารที่เมื่อเชื่อมต่อกับ รีเซพเตอร์ (receptor)ทางชีวเคมี แล้วทำให้เกิดการกระตุ้นกลไกตอบสนองของ เซลล์ อะโกนิสต์ จะทำงานตรงข้ามกับแอนตาโกนิสต์ (antagonist)ที่เมื่อเชื่อมต่อกับ รีเซพเตอร์ แล้วจะไม่เกิดกลไกการกระตุ้น ดังนั้นเมื่อ แอนตาโกนิสต์ เชื่อมต่อกับรีเซพเตอร์แล้วอะโกนิสต์ เข้าเชื่อมอีกไม่ได้ การยับยั้งการทำงานของอะโกนิสต์จึงเกิดขึ้น อะโกนิสต์บางส่วน(partial agonist)กระตุ้นรีเซพเตอร์ เหมือนกันแต่ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาได้เหมือน อะโกนิสต์ รีเซพเตอร์ในร่างกายมนุษย์ ก็ทำงานโดยการกระตุ้นและยับยั้งโดยสารเคมีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเช่น.

ใหม่!!: CYP3A4และตัวทำการ · ดูเพิ่มเติม »

ซาควินาเวียร์

ซาควินาเวียร์ (อังกฤษ:Saquinavir) (ฟอร์โตเวส®เป็นชื่อทางการค้าของโรช Fortovase&reg) เป็นยาประเภท โปรตีเอส อินฮิบิเตอร์ (protease inhibitor) ใช้รักษาโรคในกลุ่มอาการ เอชไอวี (HIV) ซาควินาเวียร์ มีไซเลต (Saquinavir mesylate-Invirase®, Roche) เป็นตำรับยาของซาควินาเวียร์ที่ทำขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมกับ โปรตีเอส อินฮิบิเตอร์ ตัวอื่นเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมยา สูตรโครงสร้างของ'''ซาควินาเวียร์''' เมื่อรับประทานยาซาควินาเวียร์ตามลำพังพบว่าการดูดซึมช้ามาก แต่ถ้าคนไข้ได้รับยาเอชไอวีโปรตีเอส อินฮิบิเตอร์อีกตัวที่ชื่อ ริโตนาเวียร์ (ritonavir) เข้าไปด้วย พบว่าการดูดซึมของซาควินาเวียร์จะดีขึ้นมากที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าริโตนาเวียร์จะไปยับยั้งเอ็นไซม์ ไซโตโครม พี450 3เอ4 (Cytochrome P450 3A4) ซึ่งเอ็นไซม์ตัวนี้จะไปเมตทาโบไลต์ ซาควินาเวียร์ให้หมดฤทธิ์ยา หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:ควิโนไลน์.

ใหม่!!: CYP3A4และซาควินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิมวาสแตติน

ซิมวาสแตติน (simvastatin; Zocor®, Zocor Heart Pro®, ผลิตและจำหน่ายโดย บริษัทยา Merck & Co.) ในทาง เภสัชวิทยาเป็นยาในกลุ่มสแตติน ใช้รักษา คอเรสเตอรอลสูง และป้องกัน โรคคาร์ดิโอวาสคูลาร์ หมวดหมู่:แอลกอฮอล์ หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:สถานีย่อยเภสัชกรรม.

ใหม่!!: CYP3A4และซิมวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเดนาฟิล

ซิลเดนาฟิลซิเตรต (Sildenafil citrate) ซึ่งมักรู้จักในรูปแบบของยาเม็ดไวอะกร้า (Viagra) และชื่อการค้าอื่นอีกหลายชื่อ เป็นสารสังเคราะห์ที่ใช้รักษาปัญหาการแข็งตัวขององคชาต และภาวะความดันหลอดเลือดแดงปอดสูง(PAH) สำหรับประสิทธิภาพต่อการรักษาภาวะสมรรถภาพทางเพศเสื่อมในเพศหญิงยังไม่มีการรายงานที่ชัดเจน ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย ได้แก่ ปวดหัว และ ภาวะกรดไหลย้อน รวมถึงสีผิวเปลี่ยนเป็นสีแดงมากขึ้น --> หากใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ ต้องใช้อย่างระมัดระวังและเฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด --> ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนักแต่อันตราย ได้แก่ ภาวะองคชาตแข็งค้าง ซึ่งจะสร้างความเสียหายต่อองคชาต และการสูญเสียการได้ยินอย่างเฉียบพลัน --> ไม่ควรใช้ซิลเดนาฟิลในผู้ป่วยที่ได้รับไนเตรต อย่างเช่น ไนโตรกลีเซอรีน(glycerin trinitrate) เนื่องจากจะนำไปสู่ภาวะความดันโลหิตตกอย่างรุนแรงซึ่งอาจถึงแก่ชีวิต ซิลเดนาฟิลทำหน้าที่ยับยั้ง cGMP-specific phosphodiesterase type 5 (phosphodiesterase 5, PDE5) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่กระตุ้นการสลายตัวของ cGMP ซึ่งมีส่วนในการควบคุมการไหลเวียนโลหิตบริเวณองคชาต ในเบื้องต้นทีมวิจัยของบริษัทยา Pfizer ได้แก่ Andrew Bell, David Brown และ Nicholas Terrett ค้นพบว่าซิลเดนาฟิลสามารถใช้รักษาความผิดปกติเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจได้หลายชนิด และเริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และซิลเดนาฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม

DNA molecule 1 differs from DNA molecule 2 at a single base-pair location (a C/T polymorphism). ซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม (single-nucleotide polymorphism) หรือสนิป (SNP) เป็นการแปรผันของลำดับดีเอ็นเอชนิดหนึ่งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของนิวคลีโอไทด์หนึ่งตัวในจีโนมทำให้แตกต่างจากจีโนมของสิ่งมีชีวิตอื่นในสปีชีส์เดียวกันหรือต่างจากโครโมโซมอีกแท่งหนึ่งในสิ่งมีชีวิตเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในตำแหน่งเดียวกันจากคนสองคนพบเป็น AAGCCTA และ AAGCTTA มีความแตกต่างที่นิวคลีโอไทด์ตัวหนึ่ง เช่นนี้กล่าวได้ว่า SNP นี้มี 2 อัลลีล โดย SNP ส่วนใหญ่มีเพียง 2 อัลลีลเท่านั้น.

ใหม่!!: CYP3A4และซิงเกิลนิวคลีโอไทด์โพลีมอร์ฟิซึม · ดูเพิ่มเติม »

ซิโปรฟลอกซาซิน

ซิโปรฟลอกซาซิน (Ciprofloxacin).

ใหม่!!: CYP3A4และซิโปรฟลอกซาซิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยารีดอกซ์

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์แบ่งได้เป็น 2 ส่วนคือปฏิกิริยารีดักชั่น (reduction) และปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (oxidation) ปฏิกิริยารีดอกซ์เป็นปฏิกิริยาเกี่ยวกับการรับส่งอิเล็กตรอน แบ่งได้เป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยาคือ ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เป็นปฏิกิริยาที่เสียอิเล็กตรอน และปฏิกิริยารีดักชั่น เป็นปฏิกิริยาที่รับอิเล็กตรอน.

ใหม่!!: CYP3A4และปฏิกิริยารีดอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราวาสแตติน

ปราวาสแตติน (pravastatin หรือ Pravachol&reg หรือ Selektine&reg) เป็นยาในกลุ่มสแตติน ใช้รักษาคอเรสเตอรอลสูง และป้องกันโรคคาร์ดิโอวาสคูลาร์ สกัดได้จากเชื้อราโนคาร์เดีย ออโตโทฟิกา (Nocardia autotrophica)โดยนักวิจัย Sankyo Pharma Inc. และนำออกจำหน่ายออกญี่ปุ่นโดยบริษัทยา Bristol-Myers Squibb.

ใหม่!!: CYP3A4และปราวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

แมโครไลด์

อิริโทรมัยซิน แมโครไลด์ (macrolide) คือสารประกอบอินทรีย์ที่มีโครงสร้างเป็นวงแล็กโทนขนาดใหญ่ โดยทั่วไปมีขนาดของวงประมาณ 12-16 อะตอม ตัวอย่างของสารประกอบแมโครไลด์ที่พบในธรรมชาติได้แก่ อิริโทรมัยซิน (erythromycin).

ใหม่!!: CYP3A4และแมโครไลด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโลดิพีน

แอมโลดิพีน (Amlodipine) หรือชื่อทางการค้าคือ นอร์วาสค์ (Norvasc) เป็นยาสามัญสำหรับแก้ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ทำงานโดยการไปขยายหลอดเลือดแดง ยานี้ถูกใช้แทนยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ที่อาจก่อให้เกิดภาวะหัวใจวาย และจะถูกใช้ก็ต่อเมื่อยาชนิดอื่นไม่สามารถแก้ความดันโลหิตสูงและอาการปวดเค้นหัวใจได้แล้ว สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีการรับประทานและจะออกฤทธิได้อย่างน้อยที่สุดยาวถึงหนึ่งวัน ผลข้างเคียงของการใช้แอมโลดิพีนได้แก่ อาการบวมน้ำ, รู้สึกล้า, ปวดท้อง และคลื่นไส้ ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ ใจสั่น, ความดันโลหิตต่ำ หรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรหรือไม่ สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับควรใช้ยานี้ในปริมาณแต่น้อย แอมโลดิพีนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และแอมโลดิพีน · ดูเพิ่มเติม »

แอสเทมมีโซล

แอสเทมมีโซล (Astemizole).

ใหม่!!: CYP3A4และแอสเทมมีโซล · ดูเพิ่มเติม »

แอนตี้โดพามิเนอร์จิก

แอนตี้โดพามิเนอร์จิก (Antidopaminergic) เป็นยาที่ออกฤทธิ์ป้องกันหรือต้านการทำงานของ โดพามีน (dopamine).

ใหม่!!: CYP3A4และแอนตี้โดพามิเนอร์จิก · ดูเพิ่มเติม »

แดพโซน

แดพโซน (Dapsone) หรือ ไดอามิโนไดเฟนิล ซัลโฟน (Diaminodiphenyl sulfone) หรือย่อว่า DDS เป็นยาปฏิชีวนะใช้ร่วมกับยาไรแฟมพิซินและClofazimineเพื่อรักษาโรคเรื้อน และเป็นยารองสำหรับใช้รักษาและป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ และใช้ป้องกันโรคท็อกโซพลาสโมซิสในผู้ป่วยที่เป็นภูมิคุ้มกันบกพร่อง นอกจากนี้ ยังถูกใช้สำหรับรักษาสิว, ผิวหนังอักเสบจากเริม ตลอดจนโรคผิวหนังอื่นๆ สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทาน ผลข้างเคียงทั่วไปอาทิ คลื่นไส้, ไม่อยากอาหาร ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงอาทิ เซลล์เม็ดเลือดลดลง หรือ เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกตัวในผู้ป่วยที่เป็นโรคพร่องเอนไซม์ G-6-PDหรือโรคภูมิไวเกิน ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับควรหลีกเลี่ยงใช้ยานี้ ยังไม่มีการศึกษาในมนุษย์ว่ายาชนิดนี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แดพโซนถูกศึกษาและระบุว่ามีฤทธิเป็นยาปฏิชีวนะใน..

ใหม่!!: CYP3A4และแดพโซน · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์

แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ (Calcium channel blockers) เป็นกลุ่มของยาที่มีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อในส่วนที่ทำให้ร่างกายพักผ่อน หลักใหญ่ในการออกฤทธิ์ของ แคลเซียม แชนแนล บล็อกเกอร์ คือการทำให้ความดันโลหิตลดลง ซึ่งจะใช้ในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง (hypertension) แคลเซียม แชนแนล บล็อกเกอร์ ส่วนใหญ่จะลดแรงหดตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจ (myocardium) จากผลของ อินโนโทรปิก ในทางลบของ แคลเซียม แชนแนล บล็อกเกอร์ ซึ่งควรจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ในคนไข้ที่เป็นโรค คาร์ดิโอไมโอพาที่ (cardiomyopathy-กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง) แคลเซียม แชนแนล บล็อกเกอร์ หลายตัวทำให้การนำไฟฟ้าในหัวใจช้าลง จากการที่มันไปหยุด แคลเซียม แชนเนล ตอนช่วงขาขึ้นของกร๊าฟ (plateau phase) ใน แอคชั่น โพเทนเชียล (action potential) ของหัวใจ (ดูคาร์ดิแอก แอคชั่น โพเทนเชียล) ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate) ลดลงและอาจเป็นให้ หัวใจหยุดเต้น (heart block)ได้ ผลของ แคลเซียม แชนแนล บล็อกเกอร์ ชนิดนี้เรียกว่า ผลโครโนโทรปิก (chronotropic) ในทางลบ ซึ่งเหมาะสำหรับคนไข้ที่เป็นเอเทรียล ไฟบิเลชั่น (atrial fibrillation) หรือ ใจสั่น (atrial flutter).

ใหม่!!: CYP3A4และแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคปเซอิซิน

แคปไซซิน (capsaicin) เป็นสารที่ให้ความเผ็ดในพริก แคปไซซินมีสูตรโมเลกุล C18H27NO3 ชื่อตามระบบ IUPAC คือ 8-methyl-N-vanillyl-6-nonenamide เป็นส่วนประกอบที่ใช้งานของพริกซึ่งเป็นพืชที่อยู่ในสกุลแคปซิคัม (genus Capsicum).

ใหม่!!: CYP3A4และแคปเซอิซิน · ดูเพิ่มเติม »

แปะก๊วย

''Ginkgo biloba'' แปะก๊วย (;) เป็นพืชสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากทางตะวันออกของประเทศจีน (แถบภูเขาด้านตะวันตกของนครเซี่ยงไฮ้) ที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบพบว่ามีการนำเข้าไปปลูกในประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายเซน เมื่อประมาณ ช่วงราว..

ใหม่!!: CYP3A4และแปะก๊วย · ดูเพิ่มเติม »

โพรพาโนลอล

Propranolol (อังกฤษ:Propranolol) (Inderal&reg) เป็นบีต้า-บล็อกเกอร์ คือมันจะยับยั้งฤทธิ์ อีพิเนพฟริน (epinephrine) บนทั้ง β1- และ β 2-อะดรีโนรีเซพเตอร์) ยาตัวนี้ใช้รักษาได้หลายโรคเช่น.

ใหม่!!: CYP3A4และโพรพาโนลอล · ดูเพิ่มเติม »

โรสุวาสแตติน

รสุวาสแตติน (Rosuvastatin) เป็นยาในกลุ่มสแตติน ใชรักษา คอเลสเตอรอลสูง และป้องกัน โรคคาร์ดิโอวาสคูลาร์ ผลิตและจำหน่ายโดยบริษัทยา AstraZeneca โดยมีชื่อการค้าว่าCrestor®.

ใหม่!!: CYP3A4และโรสุวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

โลวาสแตติน

ลวาสแตติน(อังกฤษ:Lovastatin) เป็นยาในกลุ่มสแตติน ใช้รักษา คอเลสเตอรอลสูง และป้องกัน โรคคาร์ดิโอวาสคูลาร.

ใหม่!!: CYP3A4และโลวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

โลคัส (พันธุศาสตร์)

ในทางพันธุศาสตร์และการประมวลผลทางวิวัฒนาการ โลคัส (locus, loci) หมายถึงตำแหน่งหนึ่งๆ บนยีนหรือลำดับดีเอ็นเอซึ่งอยู่บนโครโมโซม ลำดับดีเอ็นเอบนโลคัสหนึ่งๆ อาจมีได้หลายแบบแต่ละแบบเรียกว่าอัลลีล รายการลำดับทั้งหมดของโลคัสบนจีโนมหนึ่งๆ ซึ่งเป็นที่รู้ เรียกว่าแผนที่พันธุกรรม (genetic map), กระบวนการทำแผนที่ยีน (gene mapping) คือกระบวนการที่หาโลคัสของลักษณะถ่ายทอดทางชีวภาพหนึ่งๆ หมวดหมู่:โครโมโซม หมวดหมู่:พันธุศาสตร์คลาสสิก.

ใหม่!!: CYP3A4และโลคัส (พันธุศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โอมีปราโซล

อมีปราโซล (Omeprazole) เป็นยาในกลุ่มยายับยั้งการขับโปรตอน หรือยับยั้งเอนไซน์ hydrogen-potassium adenosine triphosphatase เพื่อลดการหลั่งกรด ใช้รักษาโรคระบบทางเดินอาหาร หรือความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคกระเพาะ โรคกรดไหลย้อน ภาวะกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป ใช้ร่วมกับยาอื่นเพื่อกำจัดแบคทีเรีย H.pylori ในกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: CYP3A4และโอมีปราโซล · ดูเพิ่มเติม »

โอปิออยด์

อปิออยด์ (opioid) เป็นสารที่เชื่อมกับโอปิออยด์ รีเซพเตอร์ (opioid receptor) พบในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) และ ระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal tract) โอปิออยด์มี 4 กลุ่มคือ.

ใหม่!!: CYP3A4และโอปิออยด์ · ดูเพิ่มเติม »

โคดีอีน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: CYP3A4และโคดีอีน · ดูเพิ่มเติม »

โคเคน

ส่วนประกอบทางเคมีของโคเคน โคเคน (cocaine) คือ crystalline tropane alkaloid ซึ่งสกัดมาจากใบของต้นโคคา (Coca) ซึ่งออกฤทธิ์เป็นสารกระตุ้นมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง และเป็นสารที่ระงับความต้องการของร่างกาย (Appetite Suppressant) อีกนัยหนึ่งโคเคนอีน เป็นสาร Dopamine reuptake inhibitor ซึ่งผู้ได้รับสารนี้จะรู้สึกมีความสุข และมีพลังงานเพิ่มอย่างสูงในระยะเวลาสั้นๆ ผู้ที่ใช้สารเสพติดนี้ส่วนใหญ่มีอาการเครียด หรือวิตกกังวลอย่างรุนแรง พักผ่อนไม่เพียงพอ และต้องการผ่อนคลายความตึงเครียดลง ถึงแม้ว่าโคเคนจะเป็นสารเสพติด แต่ก็ได้มีการใช้ในวงการแพทย์โดยใช้เป็นสาร Topical Anesthesia มีการใช้ร่วมในเด็ก โดยเฉพาะการศัลยกรรม ตา จมูก และคอ ถ้าใครเสพสารนี้ไปแล้วจะต้องการสารโคเคนตลอดจนตาย ข้อเสียของการใช้สารโคเคนคือ มีผลให้ระบบการหายใจล้มเหลว มีโอกาสเป็น โรคหัวใจ และอัมพาต ในผู้ใช้สารโคเคนเป็นระยะเวลานาน หลังจากโคเคนหมดฤทธิ์แล้วอาจจะทำให้เกิดอาการซึมเศร้าเนื่องจากภาวะการลดระดับของสารโดปามีนในสมองอย่างฉับพลัน หลังจากการกระตุ้นของสารเสพติด หมวดหมู่:สารก่อวิรูป หมวดหมู่:ยาเสพติด.

ใหม่!!: CYP3A4และโคเคน · ดูเพิ่มเติม »

โปรดรัก

ปรดรัก (โปร-ดรัก) (prodrug) เป็นสารประกอบเคมีในลักษณะยาแก่คนไข้ โดยจะไม่ออกฤทธิ์ในการรักษาจนกระทั่งถูกเมตาโบไลซ์ในร่างผู้ป่วยก่อน จึงจะมีฤทธิ์ทาง.

ใหม่!!: CYP3A4และโปรดรัก · ดูเพิ่มเติม »

โปรตีน

3 มิติของไมโอโกลบิน (โปรตีนชนิดหนึ่ง) โปรตีน (protein) เป็นสารประกอบชีวเคมี ซึ่งประกอบด้วยพอลิเพปไทด์หนึ่งสายหรือมากกว่า ที่พับกันเป็นรูปทรงกลมหรือเส้นใย โดยทำหน้าที่อำนวยกระบวนการทางชีววิทยา พอลิเพปไทด์เป็นพอลิเมอร์สายเดี่ยวที่เป็นเส้นตรงของกรดอะมิโนที่เชื่อมเข้ากันด้วยพันธะเพปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนเหลือค้าง (residue) ที่อยู่ติดกัน ลำดับกรดอะมิโนในโปรตีนกำหนดโดยลำดับของยีน ซึ่งเข้ารหัสในรหัสพันธุกรรม โดยทั่วไป รหัสพันธุกรรมประกอบด้วยกรดอะมิโนมาตรฐาน 20 ชนิด อย่างไรก็ดี สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจมีซีลีโนซิสตีอีน และไพร์โรไลซีนในกรณีของสิ่งมีชีวิตโดเมนอาร์เคียบางชนิด ในรหัสพันธุกรรมด้วย ไม่นานหรือระหว่างการสังเคราะห์ สารเหลือค้างในโปรตีนมักมีขั้นปรับแต่งทางเคมีโดยกระบวนการการปรับแต่งหลังทรานสเลชัน (posttranslational modification) ซึ่งเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี การจัดเรียง ความเสถียร กิจกรรม และที่สำคัญที่สุด หน้าที่ของโปรตีนนั้น บางครั้งโปรตีนมีกลุ่มที่มิใช่เพปไทด์ติดอยู่ด้วย ซึ่งสามารถเรียกว่า โปรสทีติกกรุป (prosthetic group) หรือโคแฟกเตอร์ โปรตีนยังสามารถทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุหน้าที่บางอย่าง และบ่อยครั้งที่โปรตีนมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันเพื่อสร้างโปรตีนเชิงซ้อนที่มีความเสถียร หนึ่งในลักษณะอันโดดเด่นที่สุดของพอลิเพปไทด์คือความสามารถจัดเรียงเป็นขั้นก้อนกลมได้ ขอบเขตซึ่งโปรตีนพับเข้าไปเป็นโครงสร้างตามนิยามนั้น แตกต่างกันไปมาก ปรตีนบางชนิดพับตัวไปเป็นโครงสร้างแข็งอย่างยิ่งโดยมีการผันแปรเล็กน้อย เป็นแบบที่เรียกว่า โครงสร้างปฐมภูมิ ส่วนโปรตีนชนิดอื่นนั้นมีการจัดเรียงใหม่ขนานใหญ่จากโครงสร้างหนึ่งไปยังอีกโครงสร้างหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างนี้มักเกี่ยวข้องกับการส่งต่อสัญญาณ ดังนั้น โครงสร้างโปรตีนจึงเป็นสื่อกลางซึ่งกำหนดหน้าที่ของโปรตีนหรือกิจกรรมของเอนไซม์ โปรตีนทุกชนิดไม่จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการจัดเรียงก่อนทำหน้าที่ เพราะยังมีโปรตีนบางชนิดทำงานในสภาพที่ยังไม่ได้จัดเรียง เช่นเดียวกับโมเลกุลใหญ่ (macromolecules) อื่น ดังเช่น พอลิแซกคาไรด์และกรดนิวคลีอิก โปรตีนเป็นส่วนสำคัญของสิ่งมีชีวิตและมีส่วนเกี่ยวข้องในแทบทุกกระบวนการในเซลล์ โปรตีนจำนวนมากเป็นเอนไซม์ซึ่งเร่งปฏิกิริยาทางชีวเคมี และสำคัญต่อกระบวนการเมตาบอลิซึม โปรตีนยังมีหน้าที่ด้านโครงสร้างหรือเชิงกล อาทิ แอกตินและไมโอซินในกล้ามเนื้อและโปรตีนในไซโทสเกเลตอน ซึ่งสร้างเป็นระบบโครงสร้างค้ำจุนรูปร่างของเซลล์ โปรตีนอื่นสำคัญในการส่งสัญญาณของเซลล์ การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน การยึดติดกันของเซลล์ และวัฏจักรเซลล์ โปรตีนยังจำเป็นในการกินอาหารของสัตว์ เพราะสัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโนทั้งหมดตามที่ต้องการได้ และต้องได้รับกรดอะมิโนที่สำคัญจากอาหาร ผ่านกระบวนการย่อยอาหาร สัตว์จะแตกโปรตีนที่ถูกย่อยเป็นกรดอะมิโนอิสระซึ่งจะถูกใช้ในเมตาบอลิซึมต่อไป โปรตีนอธิบายเป็นครั้งแรกโดยนักเคมีชาวดัตช์ Gerardus Johannes Mulder และถูกตั้งชื่อโดยนักเคมีชาวสวีเดน Jöns Jacob Berzelius ใน..

ใหม่!!: CYP3A4และโปรตีน · ดูเพิ่มเติม »

ไรแฟมพิซิน

รแฟมพิซิน (Rifampicin) หรือ ไรแฟมพิน (Rifampin) เป็นยาปฏิชีวนะ ใช้รักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อจากแบคทีเรีย อาทิ วัณโรค, โรคเรื้อน หรือ โรคลีเจียนแนร์ ยานี้มักใช้ควบคู่กับยาปฏิชีวนะอื่นๆ ยกเว้นเป็นการใช้เพื่อป้องกันแบคทีเรีย ''Haemophilus influenzae'' ชนิด b และไข้กาฬหลังแอ่น ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว ก่อนใช้ยาชนิดนี้จำเป็นต้องมีการตรวจนับเม็ดเลือดและวัดประสิทธิภาพของตับเสียก่อน สามารถรับยาไรแฟมพิซินได้โดยวิธีรับประทานหรือวีธีฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ผลข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาได้แก่ คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องร่วง หรือ ไม่อยากอาหาร น้ำปัสสาวะและเหงื่อเป็นสีแดงออกส้ม และยังอาจก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ แม้ว่าจะยังไม่ได้ข้อสรุปว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ที่ผ่านมามักใช้ยานี้รักษาวัณโรคในสตรีมีครรภ์ ยานี้ทำงานโดยไปขัดขวางการสร้างอาร์เอ็นเอของแบคทีเรีย ยาไรแฟมพิซินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และไรแฟมพิซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรโคโดน

รโคโดน (Hydrocodone หรือ dihydrocodeinone มีชื่อทางการค้าว่า Vicodin Anexsia Dicodid Hycodan Hycomine Lorcet Lortab Norco Tussionex Vicoprofen) เป็นสารประกอบในกลุ่มโอปิออยด์ ได้จากธรรมชาติโดยการสกัดจากโอปิแอต โคดีอีน หรือทีบาอีน ไฮโดรโคโดนเป็นยาชนิดรับประทานที่มีฤทธิ์เสพติด บรรเทาปวด และแก้ไอ ปริมาณยาที่ใช้ในการรักษา 5-10 มก. มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเทียบเท่ากับ 30 - 60 มก.

ใหม่!!: CYP3A4และไฮโดรโคโดน · ดูเพิ่มเติม »

ไดแอซิแพม

แอซิแพม (Diazepam) หรือชื่อทางการค้าคือ แวเลียม (Valium) เป็นยาในกลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน มีฤทธิส่งผลให้สงบจิตใจลง ใช้ในการรักษาโรควิตกกังวล, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดเบ็นโซไดอาเซพีน, อาการกล้ามเนื้อกระตุก, อาการชัก, โรคนอนไม่หลับ และกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข การใช้ยาชนิดนี้อย่างต่อเนื่องอาจส่งผลให้เกิดอาการหลง ๆ ลืม ๆ สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, สอดใส่เข้าสู่ไส้ตรง, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าสู่หลอดเลือดดำ หากใช้วิธีฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิ์ใน 1 ถึง 5 นาที หากใช้วิธีรับประทาน จะออกฤทธิ์ภายใน 40 นาที อาการข้างเคียงทั่วไปของการใช้ยาไดแอซิแพมได้แก่ ง่วงนอน, มองไม่ชัด ส่วนอาการข้างเคียงระดับรุนแรงซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยากนั้น ได้แก่ การฆ่าตัวตาย, หายใจลำบาก หากผู้ป่วยโรคลมชักใช้ยานี้บ่อยเกินไปจะเพิ่มความเสี่ยงจากอาการชัก การใช้ยานี้ในระยะยาวอาจก่อให้เกิดภาวะดื้อยาและเกิดอาการเสพติดยา การเลิกยาในทันทีเป็นอันตรายอย่างมากในผู้ป่วยที่ใช้ยาระยะยาว โดยจะส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการรู้คิดไปเป็นเวลากว่าครึ่งปี ไดแอซิแพมเป็นหนึ่งในยาที่ถูกสั่งจ่ายมากที่สุดตั้งแต่เริ่มการจ่ายในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และไดแอซิแพม · ดูเพิ่มเติม »

ไซเมทิดีน

ซเมติดีน (Cimetidine) เป็นฮีสตามีน H2-รีเซพเตอร์ แอนตาโกนิสต์ ที่ยับยั้งการผลิตดรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการฮาร์ตเบิร์น และ แผลในกระเพาะอาหาร ผลิตและจำหน่ายโดยแกลกโซสมิทไคลน์ (GlaxoSmithKline) มีชื่อาทงการค้าว่า ทากาเมท®, (Tagamet&reg) ได้รับการอนุมัติจาก อ.สหรัฐอเมริกา เมื่อ 1 มกราคม, 2522.

ใหม่!!: CYP3A4และไซเมทิดีน · ดูเพิ่มเติม »

เบตาบล็อกเกอร์

เบต้า บล็อกเกอร์ (Beta blockers หรือบางครั้งเขียน β-blockers) เป็นยาลดความดันชนิดหนึ่ง ออกฤทธิ์ผ่านทางระบบประสาท โดยยับยั้งผลของการกระตุ้นของ Adrenalin หรือ Norepinephrine เป็นผลให้หัวใจเต้นช้าลง และเบาลง ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด ลดภาวะบางอย่างที่ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น เช่น อาการตื่นเต้น รักษาโรคต่าง ๆ เช่น ต้อหิน ไมเกรน กระวนกระวาย ตื่นเต้น ต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ เป็นต้น หมวดหมู่:ยาลดความดัน หมวดหมู่:บทความยาที่ต้องการภาพประกอบ.

ใหม่!!: CYP3A4และเบตาบล็อกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็นโซไดอาเซพีน

รงสร้างทางเคมีของเบ็นโซไดอาเซพีน เบ็นโซไดอาเซพีน (Benzodiazepine) หรือเรียกสั้นๆว่า "เบ็นโซส" เป็นกลุ่มยาในหมวดสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เกิดขึ้นจากการทำพันธะโครงสร้างทางเคมีระหว่างเบนซีนกับไดอาเซพีน ทั้งนี้ในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และเบ็นโซไดอาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนิโทอิน

ฟนิโทอิน (Phenytoin) หรือชื่อทางการค้าคือ ไดแลนติน (Dilantin)Drugs.com Page accessed Feb 27, 2016 เป็นยากันชัก ใช้สำหรับป้องกันอาการโคลนัสและการเป็นลมชักอย่างปัจจุบันทันด่วน แต่ไม่สามารถใช้ป้องกันอาหารชักเหม่อได้ มีแบบรับประทานสำหรับผู้ป่วยทั่วไป แต่สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อเนื่อง แพทย์อาจจ่ายยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนเพื่อบรรเทาอาการชัก หากยังไม่ดีขึ้นจึงจะใช้ยาเฟนิโทอินโดยการฉีด ซึ่งจะออกฤทธิภายใน 30 นาทีและจะคงฤทธิได้นานถึง 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ เฟนิโทอินยังถูกใช้เพื่อรักษาอารหัวใจเต้นผิดจังหวะและความเจ็บปวดทางประสาทอีกด้วย ทั้งนี้ แพทย์อาจวัดความดันเพื่อกำหนดปริมาณยาที่เหมาะสม ผลข้างเคียงของการใช้เฟนิโทอิน ได้แก่ อาการคลื่นไส้, ปวดท้อง, ไม่อยากอาหาร, มองไม่ชัด, ขนขึ้นเร็ว และเหงือกบวม ผลข้างเคียงแบบรุนแรงได้แก่ ง่วงนอน, ทำร้ายตนเอง, โรคตับ, ไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดได้น้อย, ความดันโลหิตต่ำ และผิวลอก ยาประเภทนี้ห้ามใช้ระหว่างตั้งครรภ์เนื่องจากอาจทำให้เกิดความผิดปกติในทารก แต่ปลอดภัยหากจะใช้ระหว่างภาวะให้นมบุตร เฟนิโทอินถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: CYP3A4และเฟนิโทอิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟนทานิล

ฟนทานิล (Fentanyl) เป็นยาบรรเทาปวด ในกลุ่มโอปิออยด์ สังคราะห์ได้ครั้งแรกในประเทศเบลเยียม ประมาณปลายปี 1950 มีฤทธิ์บรรเทาปวดมากกว่า มอร์ฟีน 80 เท่า ถูกนำมาใช้ทาง การแพทย์ ในปี 1960 โดยใช้ฉีดเข้าเส้นเป็น ยาระงับความรู้สึก มีชื่อทางการค้าว่า Sublimaze เฟนทานิลมีค่า LD50 เท่ากับ 3.1 มก/กก ในหนู LD50 ในมนุษย์ยังไม่ทราบ เฟนทานิลเป็นยาควบคุมประเภท Schedule II.

ใหม่!!: CYP3A4และเฟนทานิล · ดูเพิ่มเติม »

เกรปฟรูต

กรปฟรูต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่งบาร์เบโดส ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo.

ใหม่!!: CYP3A4และเกรปฟรูต · ดูเพิ่มเติม »

เมทาโดน

มทาโดน (Methadone) เป็นยาสังเคราะห์จำพวกโอปิออยด์ มีฤทธิ์เป็นยาบรรเทาปวด ถูกสังเคราะห์ขึ้นในปี ค.ศ. 1937 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ Max Bockmühl และ Gustav Ehrhart ที่ IG Farben (Hoechst-Am-Main) ซึ่งกำลังวิจัยหายาบรรเทาปวดที่มีความเหมาะสมในระหว่างการผ่าตัดและมีผลข้างเคียงที่ทำให้ติดน้อย เมทาโดนจัดเป็นยาประเภท Schedule II ภายใต้ อนุสัญญาว่าด้วยยาเสพติด (Single Convention on Narcotic Drugs).

ใหม่!!: CYP3A4และเมทาโดน · ดูเพิ่มเติม »

เมแทบอลิซึม

กระบวนการสร้างและสลาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) มาจากภาษากรีก μεταβολή ("metabolē") มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" เป็นกลุ่มปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อค้ำจุนชีวิต วัตถุประสงค์หลักสามประการของเมแทบอลิซึม ได้แก่ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการดำเนินกระบวนการของเซลล์ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิกและคาร์โบไฮเดรตบางชนิด และการขจัดของเสียไนโตรเจน ปฏิกิริยาเหล่านี้มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเติบโตและเจริญพันธุ์ คงไว้ซึ่งโครงสร้างและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม "เมแทบอลิซึม" ยังสามารถหมายถึง ผลรวมของปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งการย่อยและการขนส่งสสารเข้าสู่เซลล์และระหว่างเซลล์ กลุ่มปฏิกิริยาเหล่านี้เรียกว่า เมแทบอลิซึมสารอินเทอร์มีเดียต (intermediary หรือ intermediate metabolism) โดยปกติ เมแทบอลิซึมแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ แคแทบอลิซึม (catabolism) ที่เป็นการสลายสสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น การสลายกลูโคสให้เป็นไพรูเวต เพื่อให้ได้พลังงานในการหายใจระดับเซลล์ และแอแนบอลิซึม (anabolism) ที่หมายถึงการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทั้งนี้ การเกิดแคแทบอลิซึมส่วนใหญ่มักมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา ส่วนการเกิดแอแนบอลิซึมนั้นจะมีการใช้พลังงานเพื่อเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีของเมแทบอลิซึมถูกจัดอยู่ในวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway) ซึ่งสารเคมีชนิดหนึ่งๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนจนกลายเป็นสารชนิดอื่น โดยอาศัยการเข้าทำปฏิกิริยาของใช้เอนไซม์หลายชนิด ทั้งนี้ เอนไซม์ชนิดต่างๆ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดเมแทบอลิซึม เพราะเอนไซม์จะเป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้น โดยการเข้าจับกับปฏิกิริยาที่เกิดเองได้ (spontaneous process) อยู่แล้วในร่างกาย และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะมีปลดปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะถูกนำไปใช้ในปฏิกิริยาเคมีอื่นของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้เองหากปราศจากพลังงาน จึงอาจกล่าวได้ว่า เอนไซม์ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของร่างกายดำเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อมของเซลล์หรือสัญญาณจากเซลล์อื่น ระบบเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตจะเป็นตัวกำหนดว่า สารใดที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น โปรคาริโอตบางชนิดใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นสารอาหาร ทว่าแก๊สดังกล่าวกลับเป็นสารที่ก่อให้เกิดพิษแก่สัตว์ ทั้งนี้ ความเร็วของเมแทบอลิซึม หรืออัตราเมแทบอลิกนั้น ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่สิ่งมีชีวิตต้องการ รวมไปถึงวิธีที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะได้อาหารมาด้วย คุณลักษณะที่โดดเด่นของเมแทบอลิซึม คือ ความคล้ายคลึงกันของวิถีเมแทบอลิซึมและส่วนประกอบพื้นฐาน แม้จะในสปีชีส์ที่ต่างกันมากก็ตาม ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวกลางในวัฏจักรเครปส์นั้นพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มีการศึกษาในปัจจุบัน ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรีย Escherichia coli ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดใหญ่อย่างช้าง ความคล้ายคลึงกันอย่างน่าประหลาดใจของวิถีเมแทบอลิซึมเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจเป็นผลเนื่องมาจากวิถีเมแทบอลิซึมที่ปรากฏขึ้นในช่วงแรกของประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ และสืบมาจนถึงปัจจุบันเพราะประสิทธิผลของกระบวนการนี้.

ใหม่!!: CYP3A4และเมแทบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

เมแทบอลิซึมของยา

มแทบอลิซึมของยา (อังกฤษ: Drug metabolism) คือกระบวนการเผาผลาญยาหรือสารเคมีแปลกปลอมที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย โดยทั่วไปกระบวนการนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสารจากที่ไม่ชอบน้ำ (lipophilicity) ให้เป็นสารที่คุณสมบัติชอบน้ำ (Hydrophilicity) เพิ่มขึ้น สำหรับการเมแทบอลิซึมยาในมนุษย์นั้นจัดว่าเป็นกระบวนการที่จำเป็นเนื่องจากในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์จำเป็นต้องได้รับ หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะได้รับสารแปลกปลอมจากภายนอก (xenobiotics) เข้าสู่ร่างกาย ทั้งนี้อาจเพราะความจำเป็นในการดำรงชีวิตตามปกติ (เช่น สารอาหาร ยารักษาโรค) หรือโดยความไม่ตั้งใจ (เช่น การได้รับสารพิษจากสิ่งแวดล้อม) ดังนั้นร่างกายจึงจำต้องมีกระบวนการเร่งการกำจัดสารส่วนเกิน หรือสารที่ไม่มีประโยชน์แล้วออกจากร่างกาย ทั้งนี้เพื่อป้องกันการสะสมของสารเคมีที่มากเกินควรจนอาจทำให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตได้ ดังนั้นกระบวนการเมแทบอลิซึมยาและสารเคมีจึงเป็นกลไกป้องกันตนเองที่สำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ สำหรับยาซึ่งเป็นสารเคมีที่ได้รับจากภายนอกเพื่อใช้ในการวินิจฉัย ป้องกัน หรือรักษาโรคนั้น เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายโดยทั่วไปจำเป็นต้องผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึมเช่นเดียวกับสารเคมีอื่นๆ ที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย ทั้งนี้การเมแทบอลิซึมยา (drug metabolism) เป็นปฏิกิริยาเคมีที่ใช้เปลี่ยนรูปยาซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปที่ละลายในไขมันได้ดี ให้กลายเป็นเมแทบอไลต์ (metabolite) ที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ถูกขับออกจากร่างกายทางปัสสาวะหรือน้ำดีได้ง่ายขึ้น และมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา หรือมีพิษลดน้อยลงกว่าสารเดิม (parent compound) อย่างไรก็ตาม การเมแทบอลิซึมยาบางชนิดอาจทำให้ได้เมแทบอไลต์ที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้น้อยลง หรือมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหรือพิษเพิ่มมากขึ้นก็ได้ สำหรับยาหรือสารเคมีที่ได้รับจากภายนอกร่างกายที่ละลายน้ำได้ดีอยู่แล้ว ร่างกายสามารถขับออกไปได้โดยตรงโดยไม่จำเป็นต้องผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึม กระบวนการเมแทบอลิซึมยาสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มตามชนิดของปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปฏิกิริยา oxidation, reduction, hydrolysis, hydration และ conjugation โดยปฏิกิริยา oxidation, reduction, hydrolysis และ hydration เป็นการทำให้โมเลกุลของยามีหมู่เคมีต่างๆ ที่มีคุณสมบัติชอบน้ำ (hydrophilic group) ทั้งนี้เพื่อให้ได้เมแทบอไลต์ที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น ส่วนปฏิกิริยา conjugation เป็นการนำโมเลกุลของยา หรือเมแทบอไลต์ที่เป็นผลผลิตจากปฏิกิริยาต่างๆ ข้างต้นมาควบคู่ (conjugate) กับสารเคมีในร่างกายที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดี (เช่น กรด glucuronic, glutathione หรือ sulfate) กลายเป็นเมแทบอไลต์ที่อยู่ในรูป conjugated ที่โดยทั่วไปมีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดี ปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเมแทบอลิซึมยาส่วนใหญ่ต้องอาศัยเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเอนไซม์เหล่านี้มักพบในส่วนต่างๆ ของเซลล์ ตัวอย่างเช่น cytochromes P450 (CYP), flavin-containing monooxygenases (FMOs) ซึ่งทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยา oxidation และ UDP-glucuronosyltransferases (UGTs) ที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยา glucuronidation มักพบในร่างแหเอนโดพลาสซึมแบบเรียบ (smooth endoplasmic reticulum) ส่วนเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา conjugation อื่นๆ เช่น glutathione S-transferases (GSTs), sulfotransferases (SULTs) และ N-acetyltransferases (NATs) พบเฉพาะในไซโทซอล นอกจากนี้เอนไซม์ของจุลชีพประจำถิ่นที่อาศัยในทางเดินอาหาร (gut microflora) หรือเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างและสลายสารพลังงานต่างๆ ภายในร่างกาย (intermediary metabolism) อาจมีบทบาทสำคัญในการเมแทบอลิซึมยาหรือสารเคมีบางชนิดด้วย ตัวอย่างเช่น sulfasalazine จะถูกเมแทบอลิซึมโดยแบคทีเรียในทางเดินอาหารให้เป็น sulfapyridine และกรด 5-aminosalicylic โดยอาศัยเอนไซม์ azoreductase ส่วนกรด cinnamic อาจถูกเมแทบอลิซึมให้กลายเป็นกรด benzoic โดยเอนไซม์ในไมโทคอนเดรียที่ทำหน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยา beta-oxidation ของกรดไขมัน สำหรับเอนไซม์ที่ทำหน้าที่เมแทบอลิซึมยา ถึงแม้จะต่างชนิดกันก็อาจทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาของหมู่เคมี (functional group) ชนิดเดียวกันได้ โดยทั่วไป ยารวมทั้งสารเคมีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย หรือสารเคมีที่มีอยู่ภายในร่างกายล้วนมีโครงสร้างทางเคมีที่ค่อนข้างซับซ้อน ประกอบด้วยหมู่เคมีหลายชนิด ดังนั้นเมื่อผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึมจึงมักเป็นผลให้ได้เมแทบอไลต์หลายชน.

ใหม่!!: CYP3A4และเมแทบอลิซึมของยา · ดูเพิ่มเติม »

เรื้อน

รคเรื้อน (Leprosy) หรือ โรคแฮนเซน (Hansen's disease, ย่อ: HD) เป็นโรคเรื้อรังอันเกิดจากแบคทีเรีย Mycobacterium leprae และ Mycobacterium lepromatosis ตั้งตามชื่อแพทย์เจอร์ราด แฮนเซน (Gerhard Hansen) ชาวนอร์เวย์ โรคเรื้อนหลัก ๆ เป็นโรคผิวหนังเส้นประสาทส่วนปลายและเยื่อเมือกระบบทางเดินหายใจส่วนบน รอยโรคที่ผิวหนังเป็นสัญญาณภายนอกหลักอย่างหนึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา โรคเรื้อนอาจลุกลาม และสร้างความเสียหายถาวรต่อผิวหนัง เส้นประสาท แขนขาและตาได้ คติชาวบ้านมักเชื่อว่าโรคเรื้อนทำให้ส่วนของร่างกายหลุดออกมา แต่คตินี้ไม่เป็นความจริง แม้ส่วนนั้นอาจชาหรือเป็นโรคจากการติดเชื้อทุติยภูมิ ซึ่งเกิดขึ้นหลังภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อปฐมภูมิ การติดเชื้อทุติยภูมิสามารถส่งผลให้สูญเสียเนื้อเยื่อตามลำดับ ทำให้นิ้วมือและนิ้วเท้าสั้นลงและผิดรูปร่าง เพราะกระดูกอ่อนถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย แม้วิธีการส่งผ่านโรคเรื้อนจะยังไม่ทราบแน่ชัด ผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า M. leprae ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งโดยฝอยละออง การศึกษาได้แสดงว่า โรคเรื้อนสามารถส่งผ่านไปยังมนุษย์ได้โดยอาร์มาดิลโล ปัจจุบันนี้ โรคเรื้อนทราบกันว่า ไม่ส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้ออย่างรุนแรงหลังได้รับการรักษาแล้ว มนุษย์กว่า 95% มีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ และผู้ป่วยจะไม่แพร่เชื้อหลังรักษาแล้วเพียง 2 สัปดาห์ ระยะฟักตัวน้อยสุดมีรายงานว่าสั้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ ตามการเกิดโรคเรื้อนขึ้นอย่างน้อยครั้งมากในทารก ระยะฟักตัวมากสุดมีรายงานว่านานถึง 30 ปีหรือมากกว่า ดังที่สังเกตหมู่ทหารผ่านศึกที่เคยไปอยู่ในพื้นที่การระบาดช่วงสั้น ๆ แต่ปัจจุบันได้อยู่ในพื้นที่ไม่มีการระบาด เป็นที่ตกลงกันทั่วไปว่าระยะฟักตัวเฉลี่ยอยู่ระหว่างสามถึงห้าปี โรคเรื้อนเป็นโรคที่มนุษย์เป็นมานานกว่า 4,000 ปีแล้ว และเป็นที่รู้จักกันดีในอารยธรรมจีน อียิปต์และอินเดียโบราณ..

ใหม่!!: CYP3A4และเรื้อน · ดูเพิ่มเติม »

เอสโตรเจน

อสโตรเจน (Estrogen) คือฮอร์โมนเพศขั้นพื้นฐานที่พบอยู่ในเพศหญิงและยังถือเป็นยาชนิดหนึ่งด้วย ฮอร์โมนเอสโตรเจนคอยพัฒนาและควบคุมระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิงตลอดจนลักษณะทางเพศทุติยภูมิ คำว่าเอสโตรเจนยังอาจหมายถึงสารอินทรีย์หรือสารสังเคราะห์ใดๆที่ให้ผลเหมือนกับฮอร์โมนตามธรรมชาติ สารทดแทนเอสโตรเจนมักถูกใช้ใน ยาเม็ดคุมกำเนิด, ถูกใช้เป็นฮอร์โมนทดแทนในสตรีวัยหมดประจำเดือน, สตรีผู้มีภาวะการมีฮอร์โมนเพศต่ำ ตลอดจนถูกใช้โดยหญิงข้ามเพศ ส่วนยาระงับเอสโตรเจนอาจถูกใช้ในการรักษาโรคมะเร็งที่ตอบสนองต่อฮอร์โมน (hormone-sensitive cancer) อาทิ มะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งเต้านม.

ใหม่!!: CYP3A4และเอสโตรเจน · ดูเพิ่มเติม »

เอนไซม์

TIM. Factor D enzyme crystal prevents the immune system from inappropriately running out of control. เอนไซม์ (อังกฤษ: enzyme) เป็นโปรตีน 99 เปอร์เซนต์ เป็น ส่วนใหญ่ ที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เป็นคำในภาษากรีก ένζυμο หรือ énsymo ซึ่งมาจาก én ("ที่" หรือ "ใน") และ simo (":en:leaven" หรือ ":en:yeast") เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ในเซลล์จะเกิดช้ามาก หรือถ้าไม่มีเอนไซม์อาจทำให้ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลายเป็นสารเคมีชนิดอื่น ซึ่งถ้าขาดเอนไซม์ระบบการทำงานของเซลล์จะผิดปกติ (malfunction) เช่น.

ใหม่!!: CYP3A4และเอนไซม์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มอาร์เอ็นเอ

วงชีวิตของ '''mRNA''' ในยูคาริโอต เอ็มอาร์เอ็นเอ (Messenger ribonucleic acid; mRNA เป็นโมเลกุลของอาร์เอ็นเอที่บรรจุรหัสหรือพิมพ์เขียวของโปรตีน mRNA สร้างโดยการทรานสคริปชันจากแม่แบบที่เป็นดีเอ็นเอ จากนั้นจะนำข้อมูลทางพันธุกรรมมาสู่การสังเคราะห์โปรตีนโดยไรโบโซม ซึ่งเป็นการเปลี่ยนข้อมูลจากลำดับนิวคลีโอไทด์ไปสู่ลำดับกรดอะมิโน ข้อมูลทางพันธุกรรมใน mRNA จะอยู่ในรูปลำดับเบสของนิวคลีโอไทด์ที่เรียงเป็นรหัสพันธุกรรม ซึ่งหนึ่งรหัสประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์สามเบส ซึ่งรหัสพันธุกรรมแต่ละตัวจะกำหนดกรดอะมิโนหนึ่งชนิดยกเว้นรหัสพันธุกรรมหยุด ซึ่งจะทำให้การสังเคราะห์โปรตีนสิ้นสุดลง กระบวนการนี้ต้องทำงานร่วมกับอาร์เอ็นเออีกสองชนิดคือ tRNA ที่จดจำรหัสพันธุกรรมและนำกรดอะมิโนเข้ามาต่อกัน กับ rRNAที่เป็นองค์ประกอบหลักของไรโบโซม โครงสร้างของ mRNA ที่สมบูรณ์ในยูคาริโอต ประกอบด้วย 5' cap, 5' UTR, coding region, 3' UTR, and poly(A) tail.

ใหม่!!: CYP3A4และเอ็มอาร์เอ็นเอ · ดูเพิ่มเติม »

เทลิโทรมัยซิน

เทลิโทรมัยซิน (Telithromycin) หมวดหมู่:แมกโครไลด์.

ใหม่!!: CYP3A4และเทลิโทรมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

เทสโทสเตอโรน

ทสโทสเตอโรน (Testosterone) เป็นฮอร์โมนหลักในกลุ่มฮอร์โมนเพศชายและสเตอรอยด์การสร้าง (anabolic steroid) ประเภทหนึ่งที่พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังโดยมาก มีบทบาทสำคัญในพัฒนาการของเนื้อเยื่อในระบบสืบพันธุ์ชาย เช่น อัณฑะและต่อมลูกหมาก ตลอดจนส่งเสริมลักษณะเฉพาะทางเพศทุติยภูมิ เช่น การเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อกับกระดูก และการเกิดขนตัว นอกจากนั้นแล้ว ฮอร์โมนยังเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ต่อสุขภาพและความอยู่เป็นสุข ตลอดจนป้องกันโรคกระดูกพรุน ระดับฮอร์โมนที่ไม่พอในชาย อาจทำให้เกิดความผิดปกติต่าง ๆ เช่น ความอ่อนแอและการเสียกระดูก ฮอร์โมนอาจใช้เพื่อรักษาอวัยวะเพศชายทำงานไม่พอ (male hypogonadism) และมะเร็งเต้านมบางชนิด เนื่องจากระดับฮอร์โมนจะลดลงเรื่อย ๆ ตามอายุ แพทย์บางครั้งจะให้ฮอร์โมนสังเคราะห์กับชายสูงอายุเพื่อแก้ปัญหาการขาด เทสโทสเตอโรนเป็นสเตอรอยด์ในกลุ่ม androstane ที่มีกลุ่มคีโทนและไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3 และ 17 ตามลำดับ ซึ่งสามารถสังเคราะห์จากคอเลสเตอรอลในหลายขั้นตอน และตับจะเปลี่ยนมันเป็นเมแทบอไลต์ที่ไม่มีฤทธิ์ ฮอร์โมนสามารถเข้ายึดและออกฤทธิ์ต่อตัวรับแอนโดรเจน (androgen receptor) ในนิวเคลียสของเซลล์ ในมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังโดยมาก อัณฑะเป็นอวัยวะที่หลั่งฮอร์โมนในชาย และรังไข่ในหญิงแม้ในระดับที่ต่ำกว่า ต่อมหมวกไตก็หลั่งฮอร์โมนแม้เล็กน้อยด้วย โดยเฉลี่ย ในชายผู้ใหญ่ ระดับเทสโทสเตอโรนจะอยู่ที่ 7-8 เท่าของหญิงผู้ใหญ่ เพราะฮอร์โมนมีเมแทบอลิซึมที่สูงกว่าในชาย การผลิตแต่ละวันจะมากกว่าหญิงประมาณ 20 เท่า หญิงยังไวต่อฮอร์โมนมากกว่าชายอีกด้ว.

ใหม่!!: CYP3A4และเทสโทสเตอโรน · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์เฟนาดีน

ทอร์เฟนาดีน (Terfenadine) เป็นยาที่มีฤทธิยับยั้งฮิสทามีนที่ตัวรับ H1 แบบคัดเลือก.

ใหม่!!: CYP3A4และเทอร์เฟนาดีน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะแลนซิต

อะแลนซิต (The Lancet) เป็นวารสารการแพทย์ทั่วไปรายสัปดาห์ที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน ที่เก่าแก่ที่สุดและรู้จักกันดีที่สุดวารสารหนึ่ง โดยมีการกล่าวว่า เป็นวารสารการแพทย์ที่มีเกียรติมากที่สุดวารสารหนึ่งของโลก ในปี 2557 เดอะแลนซิต จัดว่ามีอิทธิพลเป็นที่สองในบรรดาวารสารการแพทย์ทั่วไป โดยมีปัจจัยกระทบที่ 45 ต่อจากวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ ที่มีปัจจัยกระทบที่ 56 หน้าต่างแบบแลนซิตที่โบสถ์แห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร น.ทอมัส เวคลีย์ ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษ ได้จัดตั้งวารสารขึ้นในปี 2366 (ค.ศ. 1823) โดยตั้งชื่อวารสารตามเครื่องมือผ่าตัดที่เรียกว่า "lancet" (มีดปลายแหลมสองคมขนาดเล็กสำหรับผ่าตัด) และตามชื่อส่วนของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษที่เป็นช่องหน้าต่างโค้งยอดแหลม ซึ่งหมายถึง "แสงสว่างแห่งปัญญา" หรือ "เพื่อให้แสงสว่างเข้ามา" เดอะแลนซิต พิมพ์บทความงานวิจัยดั้งเดิม บทความปริทัศน์ บทความบรรณาธิการ งานปฏิทัศน์หนังสือ การติดต่อทางจดหมาย ข่าว และรายงานเค้ส และมีสำนักพิมพ์แอ็ลเซอเฟียร์เป็นเจ้าของตั้งแต่ปี 2534 หัวหน้าบรรณาธิการคือนายริชาร์ด ฮอร์ตัน ตั้งแต่ปี 2538 วารสารมีสำนักงานบรรณาธิการในนครลอนดอน นิวยอร์ก และปักกิ่ง.

ใหม่!!: CYP3A4และเดอะแลนซิต · ดูเพิ่มเติม »

เด็กซาเมทาโซน

็กซาเมทาโซน (Dexamethasone) เป็นยาสเตอรอยด์ชนิดหนึ่ง มีฤทธิในการแก้อักเสบและลดภูมิคุ้มกัน ใช้ในการรักษาอาการจำพวกวิทยารูมาติก, โรคผิวหนัง, ภูมิแพ้, โรคหืด, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น, สมองบวม และจะใช้ควบคู่กับยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยวัณโรค และจะใช้ควบคู่กับยาสเตอรอยด์ชนิดอื่นอย่างฟลูดอร์คอร์ทิโซน (Fludrocortisone) ในผู้ป่วยภาวะต่อมหมวกไตทำงานไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ยาชนิดนี้ยังอาจถูกใช้ในการคลอดก่อนกำหนด ยาชนิดนี้สามารถรับยาได้หลายวิธี ทั้งโดยการรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง หรือฉีดเข้าโพรงกระดูก ยาเด็กซาเมทาโซนจะออกฤทธิภายในหนึ่งวัน และคงฤทธิไปประมาณสามวัน การใช้เด็กซาเมทาโซนในระยะยาวอาจส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ได้แก่ โรคปากอักเสบจากเชื้อรา, โรคกระดูกพรุน, ต้อกระจก, ฟกช้ำง่าย หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้ได้ แต่สตรีให้นมบุตรควรงดใช้ยานี้ เนื่องจากจะไปกดฮอร์โมนการเจริญเติบโตของทารก เด็กซาเมทาโซนถูกคิดค้นขึ้นใน..

ใหม่!!: CYP3A4และเด็กซาเมทาโซน · ดูเพิ่มเติม »

เคมีบำบัด

มีบำบัด (chemotherapy) หรือ คีโม (chemo) เป็นวิธีรักษามะเร็งประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ยาต้านมะเร็งชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดมาประกอบกับเป็นสูตรยาเคมีบำบัดมาตรฐาน เคมีบำบัดอาจให้โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษามะเร็งให้หาย หรือให้เพื่อยืดชีวิตและบรรเทาอาการก็ได้ (เรียกว่า เคมีบำบัดแบบประคับประคอง) ในปัจจุบันคำว่าเคมีบำบัดถูกใช้เมื่อหมายถึงการรักษาด้วยยารักษามะเร็งที่ออกฤทธิ์ด้วยวิธียับยั้งการแบ่งเซลล์ ซึ่งบางครั้งอาจไม่นับรวมยาที่ออกฤทธิ์ผ่านกลไกอื่น เช่น ยาที่ออกฤทธิ์โดยการจับกับตำแหน่งเป้าหมายบนโมเลกุลหรือยีน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งผ่านฮอร์โมน (เช่น เอสโตรเจน สำหรับมะเร็งเต้านม หรือ แอนโดรเจน สำหรับมะเร็งต่อมลูกหมาก) ก็จะถูกเรียกว่า ฮอร์โมนบำบัด หรือการรักษาด้วยฮอร์โมน ส่วนยาที่ออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งการส่งสัญญาณผ่านตัวรับ เช่น ผ่านตัวรับไทโรซีนไคเนส ก็จะถูกเรียกว่า การรักษาแบบมุ่งเป้า เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นการรักษาด้วยยาแบบเคมีบำบัด ฮอร์โมนบำบัด หรือรักษาแบบมุ่งเป้า ก็ตาม ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังเป็นการรักษาที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย กล่าวคือเมื่อให้ยาเข้าสู่ร่างกายแล้วยาจะเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถส่งไปออกฤทธิ์ต่อเซลล์มะเร็งได้ทุกที่ที่มีเลือดไปถึง หรือก็คือทั่วร่างกายนั่นเอง การรักษาแบบทั่วร่างนี้บางครั้งนิยมใช้ร่วมกับการรักษาแบบเฉพาะที่ เช่น การรักษาด้วยรังสี การผ่าตัด หรือการรักษาด้วยความร้อน เป็นต้น ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิมเป็นยาที่เป็นพิษต่อเซลล์ หมายถึงไปรบกวนหรือยับยั้งกระบวนการแบ่งเซลล์ (ไมโทซิส) แต่เซลล์มะเร็งซึ่งมีหลายชนิดนั้นก็ตอบสนองต่อการรักษาแบบนี้แตกต่างกัน อาจกล่าวได้ว่าเคมีบำบัดเป็นยาที่ทำลายหรือทำร้ายเซลล์ ซึ่งอาจทำให้เซลล์ตายลงผ่านกระบวนการอะพอพโทซิส ผลข้างเคียงของเคมีบำบัดนั้นส่วนหนึ่งมาจากการที่เซลล์ปกติที่มีการแบ่งเซลล์บ่อยครั้งนั้นถูกทำลายไปพร้อมกันกับเซลล์มะเร็ง เซลล์เหล่านี้ เช่น เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร และเซลล์รากผม เป็นต้น ทำให้เกิดผลข้างเคียงที่พบบ่อยของเคมีบำบัด ได้แก่ การกดไขกระดูก ทำให้สร้างเม็ดเลือดได้น้อย และทำให้มีภูมิคุ้มกันต่ำตามมา เยื่อบุทางเดินอาหารอักเสบ และผมร่วง เนื่องจากผลต่อเซลล์ภูมิคุ้มกันนี้เอง ทำให้บางครั้งยาเคมีบำบัดเหล่านี้มีที่ใช้ในโรคอื่นที่เกิดจากการที่เซลล์ภูมิคุ้มกันทำงานมากเกินไปหรือทำงานผิดปกติ โรคเหล่านี้เรียกว่าโรคภูมิต้านตนเอง เช่น ข้ออักเสบรูมาตอยด์ ลูปัสอิริทีมาโทซัสทั่วร่าง มัลติเพิลสเคลอโรซิส โรคหลอดเลือดอักเสบต่างๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: CYP3A4และเคมีบำบัด · ดูเพิ่มเติม »

เงิน (โลหะ)

งิน (silver) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 47 และสัญลักษณ์คือ Ag (άργυρος árguros, Argentum) เงินเป็นโลหะทรานซิชันสีขาวเงิน มีสมบัติการนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดีมาก ในธรรมชาติอาจรวมอยู่ในแร่อื่นๆ หรืออยู่อิสระ เงินใช้ประโยชน์ในการทำเหรียญ เครื่องประดับ ภาชนะบนโต๊ะอาหาร และอุตสาหกรรมการถ่ายรูป มีผู้ค้นพบคือ โรเบิร์ต แบนฟอตร.

ใหม่!!: CYP3A4และเงิน (โลหะ) · ดูเพิ่มเติม »

เซอริวาสแตติน

ซอริวาสแตติน (Cerivastatin) (ชื่อการค้า: Baycol, Lipobay) เป็นยาลดระดับไขมันในกระแสเลือดกลุ่มสแตตินที่ได้จากการสังเคราะห์ โดยมีข้อบ่งใช้เพื่อลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดและเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปัจจุบันเซอริวาสสแตตินถูกถือลิขสิทธิ์การผลิตและจัดจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาโดยบริษัทยาที่มีชื่อ เบเย่อร์ เอ.จี.

ใหม่!!: CYP3A4และเซอริวาสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

เนลฟินาเวียร์

เนลฟินาเวียร์ (Nelfinavir) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:ฟีนอล.

ใหม่!!: CYP3A4และเนลฟินาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เนวิราพีน

นวิราพีน (Nevirapine) เป็นยาที่ใช้บรรเทากลุ่มอาการต่างๆ ในโรค เอดส์ (AIDS) เป็นยาในกลุ่ม นอน-นิวคลิโอไซด์ รีเวอรส์ ทรานสคริปเทส อินฮิบิเตอร์ (non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs)) มีชื่อทางการค้าว่า วิรามูน (Viramune).

ใหม่!!: CYP3A4และเนวิราพีน · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อเยื่อ

นื้อเยื่อ ในทางชีววิทยาคือกลุ่มของเซลล์ที่ทำหน้าที่ร่วมกันในสิ่งมีชีวิต วิชาการศึกษาเนื้อเยื่อ เรียกว่า มิญชวิทยา (Histology) หรือ จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy) หรือหากเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโรคเรียกว่า จุลพยาธิวิทยา (histopathology) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อโดยทั่วไปคือ แท่งขี้ผึ้ง (wax block), สีย้อมเนื้อเยื่อ (tissue stain), กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (optical microscope) ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็นกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscopy), immunofluorescence, และการตัดตรวจเนื้อเย็นแข็ง (frozen section) เป็นเทคนิคและความรู้ใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เราสามารถตรวจพยาธิสภาพ เพื่อการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้.

ใหม่!!: CYP3A4และเนื้อเยื่อ · ดูเพิ่มเติม »

CYP3A5

ซโทโครม P450 3A5 (Cytochrome P450 3A5; ชื่อย่อ: CYP3A5) เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งในกลุ่มออกซิไดซิงเอนไซม์ตระกูลไซโตโครม P450 ที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกายมนุษย์ โดยโปรตีน CYP3A5 ในมนุษย์จะถูกเข้ารหัสโดยยีน CYP3A5 ซึ่งยีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มยีน cytochrome P450 บน โครโมโซมคู่ที่ 7 โลคัส 7q22.1 CYP3A5 เป็นเอนไซม์ที่พบได้ในเนื้อเยืื่อหลายชนิดในร่างกาย ส่วนมากมักอยู่ที่เนื้อเยื่อของเซลล์ตับ ต่อมลูกหมาก ทางเดินอาหาร ไต ต่อมหมวกไต อย่างไรก็ตาม CYP3A5 ที่อยู่ในเนื้อเยื่ออื่นที่นอกเหนือจากเซลล์ตับจะสามารถแสดงออกได้โดดเด่นมากกว่า หน้าที่หลักของ CYP3A5 คือ การเมแทบอไลซ์ยาและสารประกอบไขมันต่างๆ ในร่างกาย เช่น เทสโทสเทอโรน โปรเจสเตอโรน และแอนโดรสตีนีไดโอน อย่างไรก็ตาม การทำงานของ CYP3A5 นั้นมีความแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ โดยชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลของ CYP3A5 เป็น CYP3A5*1 จะมีการทำงานของเอนไซม์ที่เป็นปกติ แต่ในบางกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลเป็น CYP3A5*3 อย่างประชากรในแถบยุโรป เอเชียตะวันตก และเอเชียกลาง จะมีการทำงานของเอนไซม์นี้ลดลง และในบางกลุ่มประชากรอาจเกิดการกลายพันธุ์จากอัลลีล CYP3A5*1 มาเป็น CYP3A5*3 ได้.

ใหม่!!: CYP3A4และCYP3A5 · ดูเพิ่มเติม »

CYP3A7

ซโทโครม P450 3A7 (Cytochrome P450 3A7; ชื่อย่อ: CYP3A7) เป็นเอนไซม์ในมหาสกุลไซโทโครม P450 ประกอบด้วยกรดอะมิโนจำนวน 503 ตัว มีขนาดคิดเป็นร้อยละ 87 ของ CYP3A4 มีบทบาทสำคัญในระบบการเปลี่ยนแปลงยา (biotransformation system) ของตัวอ่อนระยะฟีตัสของมนุษย์ โดยจะทำหน้าที่คล้ายคลึงกับ CYP3A4 ในผู้ใหญ่ โปรตีน CYP3A7 ของมนุษย์จะถูกเข้ารหัสโดยยีน CYP3A7 ซึ่งยีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มยีน cytochrome P450 บน โครโมโซมคู่ที่ 7 โลคัส 7q22.1 ทั้งนี้ เอนไซม์ในตระกูลย่อย CYP3A ซึ่งรวมถึง CYP3A7 จัดเป็นกลุ่มเอนไซม์ที่มีการแสดงออกมากที่สุดในบรรดาเอนไซม์มหาสกุลไซโทโครม P450 ที่ตับ โดยเอนไซม์ CYP3A นี้จะทำหน้าที่เมแทบอไลซ์ยาต่างๆที่ใช้ในการป้องกันและบำบัดรักษาโรคในปัจจุบันได้มากกว่าร้อยละ 50.

ใหม่!!: CYP3A4และCYP3A7 · ดูเพิ่มเติม »

Selective serotonin re-uptake inhibitors

Selective serotonin re-uptake inhibitors หรือ serotonin-specific reuptake inhibitors (ตัวย่อ SSRI, SSRIs) เป็นกลุ่มยา (class of drugs) ที่ปกติใช้เป็นยาแก้ซึมเศร้าเพื่อรักษาโรคซึมเศร้า (MDD) และโรควิตกกังวล กลไกการทำงานของ SSRIs ยังเป็นเรื่องไม่ชัดเจน แต่เชื่อว่า SSRI เพิ่มระดับสารสื่อประสาทเซโรโทนินนอกเซลล์ประสาทโดยจำกัดการนำไปใช้ใหม่ในเซลล์ก่อนไซแนปส์ (presynaptic) เป็นการเพิ่มระดับเซโรโทนินในช่องไซแนปส์ (synaptic cleft) ที่สามารถเข้ายึดกับตัวรับ (receptor) ของเซลล์หลังไซแนปส์ (postsynaptic) ได้ ยาแต่ละประเภทมีการเลือกสรร (selectivity) ในระดับต่าง ๆ กันต่อตัวขนส่งโมโนอะมีนประเภทอื่น ๆ แต่ SSRIs แบบบริสุทธิ์จะมีสัมพรรคภาพ (affinity) ที่อ่อนต่อโปรตีนขนส่งนอร์เอพิเนฟรินและโปรตีนขนส่งโดพามีน SSRIs เป็นยาแก้ซึมเศร้าที่แพทย์สั่งให้คนไข้มากที่สุดในประเทศหลาย ๆ ประเทศ แต่ประสิทธิผลของ SSRIs ต่อโรคซึมเศร้าในระดับอ่อนหรือปานกลางยังเป็นเรื่องขัดแย้ง.

ใหม่!!: CYP3A4และSelective serotonin re-uptake inhibitors · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Cytochrome P450 3A4ไซโทโครม P450 3A4

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »