โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะนิวเดย์...

ดัชนี อะนิวเดย์...

อะนิว... (A New Day...) เป็นมหรสพของเซลีน ดิออน จัดแสดงที่โรงมหรสพเดอะโคลอสเซียม ณ โรงแรมซีซาส์พาเลซ ในนครลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา โดยเป็นผลงานการสร้างสรรค์และอำนวยการผลิตของฟรังโก ดรากอน ซึ่งเดิมนั้นกำหนดแสดงสามปี (พ.ศ. 2546-2549) แต่ด้วยความสำเร็จทำให้มีการขยายเวลาออกไปอีกสองเป็น รวมการแสดงทั้งหมดเป็นระยะเวลาห้าปี เจ็ดร้อยรอบ และห้าคืนต่อหนึ่งสัปดาห์ มหรสพชุด อะนิว... สิ้นสุดลงในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีมหรสพของแชร์ ชื่อ "แชร์แอตเดอะโคลอสเซียม" (Cher at the Colosseum) และมหรสพของเบ็ตต์ มิดเลอร์ ชื่อ "เดอะโชว์เกิร์ลมัสต์โกออน" (The Showgirl Must Go On) มาแทน.

54 ความสัมพันธ์: บีคอสยูเลิฟด์มีพ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พฤศจิกายนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546พฤษภาคมก็อดเบลสอเมริกามกราคมมกราคม พ.ศ. 2550มายฮาร์ตวิลโกออนมีนาคมรัฐเนวาดาลาสเวกัสสหรัฐสิงหาคมอะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัสอะนิวเดย์แฮสคัมอะนิวเดย์แฮสคัม (เพลง)อินซัมสมอลเวย์ธันวาคมทูเลิฟยูมอร์ดอลลาร์สหรัฐคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟตุลาคมประเทศเบลเยียมปูร์เกอตูแมมอองกอร์แชร์แอมอะไลฟ์แอตลาสต์แฮฟยูเอเวอร์บีนอินเลิฟไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์...ไอโดรฟออลไนต์ไดโอดเปล่งแสงเบ็ตต์ มิดเลอร์เอเชอแตมอองกอร์เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์เดอะเฟิสต์ไทม์เอเวอร์ไอซอว์ยัวร์เฟสเซลีน ดิออน10 ธันวาคม11 ธันวาคม15 ธันวาคม16 สิงหาคม...17 สิงหาคม17 ตุลาคม24 มิถุนายน25 มีนาคม ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

บีคอสยูเลิฟด์มี

"บีคอสยูเลิฟด์มี" (Because You Loved Me) คือซิงเกิลของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม ฟอลลิงอินทูยู ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 ในสหรัฐอเมริกา, แคนาดา, ญี่ปุ่น และละตินอเมริกา ส่วนอื่นๆของโลกออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่ 2 (หลังจากเพลง "ฟอลลิงอินทูยู") ออกจำหน่ายในเดือนพฤๅภาคม..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และบีคอสยูเลิฟด์มี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเบลสอเมริกา

เซลีนร้องเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ในรายการโทรทัศน์ "อเมริกา: อะทริบิวต์ทูฮีโร่ส์" เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ก็อดเบลสอเมริกา เป็นอัลบั้มเพลงการกุศลอันเนื่องด้วยเหตุการณ์ วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 เซลีน ดิออนได้แสดงเพลงนี้ในรายการพิเศษ "อเมริกา: อะทริบิวต์ทูฮีโร่ส์" และนอกจากนี้เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ก็ได้วางจำหน่ายอัลบั้มเพื่อการกุศล ภายใต้ชื่ออัลบั้มว่า "ก็อดเบลสอเมริกา" ซึ่งภายในอัลบั้มก็ได้บรรจุเพลงนี้ไว้ด้วย ตัวอัลบั้มได้ขึ้นอันดับ 1 ชาร์ตบิลบอร์ด 200 และได้กลายเป็นอัลบั้มการกุศลที่สามารถขึ้นอันดับ 1 ได้เป็นอัลบั้มต่อไป หลังจากที่ USA for Africa's We Are the World ได้ทำไว้เมื่อปี พ.ศ. 2528 และเพลง "ก็อดเบลสอเมริกา" ในแบบฉบับของเซลีน ดิออนก็ได้รับการตอบรับอย่างล้นหลามในการเปิดออกอากาสทางสถานีวิทยุต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา จนสามารถขึ้นสู่อันดับที่ 14 ในชาร์ต Hot Adult Contemporary Tracks ของบิลบอร์ดได้ มิวสิกวิดีโอ เพลงนี้ได้จัดทำและออกอากาศในเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 นอกจากนี้ เซลีนยังได้ร้องเพลงนี้ ในการแข่งขันซูเปอร์โบวล์ในปีพ.ศ. 2545 และเธอยังนำไปร้องในการแสดง อะนิวเดย์... ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งเป็นวันประกาศเอกราชของประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย หมวดหมู่:เพลงของเซลีน ดิออน หมวดหมู่:ซิงเกิลในปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และก็อดเบลสอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2550

มกราคม..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และมกราคม พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

มายฮาร์ตวิลโกออน

"มายฮาร์ตวิลโกออน" (My Heart Will Go On) เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ไททานิก ซึ่งออกฉายในปี..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และมายฮาร์ตวิลโกออน · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม

มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และมีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเนวาดา

รัฐเนวาดา (Nevada) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ประชากรในรัฐมีประมาณ 2,414,807 (พ.ศ. 2548) โดยเพิ่มขึ้นจาก 1,998,257 (พ.ศ. 2543) ซึ่งรัฐเนวาดาเป็นรัฐที่มีการเติบโตของประชากรมากสุดในสหรัฐอเมริกา เมืองสำคัญของรัฐเนวาดา ได้แก่ ลาสเวกัส รีโน และเมืองหลวง คาร์สันซิตี บุคคลสำคัญจากรัฐเนวาดาได้แก่ อังเดร อกัสซี นักเทนนิส ป้ายทะเบียนรถยนต์ ของรัฐเนวาดา โดยมีสัญลักษณ์พิเศษบนตัวอักษร a ตัวที่สอง เพื่อบอกความแตกต่างจากเสียงทั่วไป ชื่อรัฐเนวาดามาจากภาษาสเปนมีความหมายถึง หิมะ ชื่อรัฐเนวาดานิยมอ่านทั่วไปว่า "เนวาดา" แต่คนในพื้นที่จะเรียกรัฐเนวาดาว่า "เนแวดา" ในปี..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และรัฐเนวาดา · ดูเพิ่มเติม »

ลาสเวกัส

ลาสเวกัส (Las Vegas) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในรัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา เป็นสถานที่ที่ชาวอเมริกันและคนทั่วโลก ให้ฉายาว่า "เมืองแห่งบาป" (Sin City) หรือ นักเขียนบางคนให้ชื่อว่าเป็น "America's Playground" หรือสนามเด็กเล่นของสหรัฐอเมริกา ลาสเวกัสเป็นสถาณที่ที่มีลักษณะพิเศษ เพราะเมืองทั้งเมืองเจริญเติบโตขึ้นมาจากความก้าวหน้าของกิจการการพนัน เป็นแรงดึงดูดหลักให้นักท่องเที่ยวหลั่งไหลเข้ามา ต่อมาก็ได้พัฒนาไปสู่ธุรกิจบริการใกล้เคียง ได้แก่ โรงแรม ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความโอ่อ่าอลังการ และขนาดใหญ่มากกว่าที่อื่นในโลก จะหาได้ค่อนข้างยากที่จะมีบ่อนการพนัน และโรงแรมมารวมตัวกันอย่างแน่นหนาในบริเวณใกล้เคียงกันเหมือนกับเมืองลาสเวกัส แห่งนี้ โดยในที่สุด ปัจจุบันนี้ คนไปเที่ยวลาสเวกัสไม่ได้เป็นเพราะต้องการที่จะไปเล่นการพนันหรือไปดื่มกินให้สนุกเป็นหลักอีกต่อไป แต่ไปเพื่อได้เห็นลักษณะอันพิเศษของเมืองนี้ เมืองนี้มีแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่คือ ไฮจ์ โรลเลอร์ ซึ่งเป็นชิงช้าสวรรค์ที่สูงที่สุดในโลก ตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และลาสเวกัส · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และสิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

อะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส

อะนิว...

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และอะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส · ดูเพิ่มเติม »

อะนิวเดย์แฮสคัม

ลงในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ อะนิวเดย์แฮสคัม (เพลง) อะนิวเดย์แฮสคัม (A New Day Has Come) คืออัลบั้มของเซลีน ดิออน ที่แสดงถึงการกลับมาของเธอในฐานะนักร้อง หลังจากการพักนาน 2 ปีเพื่อให้กำเนิดบุตรชาย อัลบั้มนี้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2545 นับเป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษที่ 9 และอัลบั้มที่ 28 เมื่อรวมอัลบั้มภาษาฝรั่งเศส อัลบั้มนี้จะนำมาวางแผงอีกครั้ง พร้อมกับอัลบั้ม ฟอลลิ่งอินทูยู และ เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ ในรูปแบบ 3 ซีดีในรูปแบบใหม่ ซึ่งวางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ในยุโรป และ แคนาดา และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 ในออสเตรเลีย นอกจากนี้ยังจะออกจำหน่ายในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2551 ในสหรัฐอเมริกา และในวันเดียวกันนี้ อะนิวเดย์แฮสคัมจะออกจำหน่ายอีกครั้งในรูปแบบสำหรับนักสะสม ในรูปแบบใหม่นี้จะรวมถึงซีดีดั้งเดิม และดีวีดีพิเศษที่รวมถึงมิวสิกวิดีโอ และเบื้องหลังการทำงานในอัลบั้ม นับเป็นการวางจำหน่ายรูปแบบนักสะสมที่ 2 ของการผลิตรูปแบบนักสะสมย้อนหลัง หลังจากอัลบั้ม ดีสอาร์สเปเชียลไทม.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และอะนิวเดย์แฮสคัม · ดูเพิ่มเติม »

อะนิวเดย์แฮสคัม (เพลง)

อัลบั้มในชื่อเดียวกันนี้ ดูบทความที่ อะนิวเดย์แฮสคัม "อะนิวเดย์แฮสคัม" (A New Day Has Come) คือซิงเกิลแรกจากอัลบั้มการกลับมาของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม อะนิวเดย์แฮสคัม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2545 เพลงนี้เป็นผลงานการประพันธ์ของ Aldo Nova และ Stephan Moccio เพลงนี้บรรจุอยู่ในอัลบั้มถึง 2 แบบ คือแบบบัลลาร์ด และ แบบเรดิโอรีมิกซ์ซึ่งแบบเรดิโอรีมิกซ์ได้วางจำหน่ายในฐานะเป็นเพลงหลัก เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "อะนิวเดย์แฮสคัม" (พ.ศ. 2545) มิวสิกวิดีโอเพลง "อะนิวเดย์แฮสคัม" (ปี พ.ศ. 2545) อำนวยการสร้าง โดย Dave Meyers และ premiere ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซิงเกิลนี้ประสพความสำเร็จอย่างมาก ด้วยการขึ้นสู่อันดับ 1 เป็นเวลา 1 สัปดาห์ในชาร์ตโลก และชาร์ตเพลงร่วมสมัยของสหรัฐอเมริกา เพลงนี้ได้ทำลายสถิติขึ้นสู่อันดับ 1 ในชาร์ตนี้ เป็นเวลาถึง 21 สัปดาห์ ซึ่งสถิติเดิมเป็นเพลงของ ฟิล โคลิน ในเพลง "ยูล์บีอินมายฮาร์ต" และเพลงเก่าของเธอเอง "บีคอสยูเลิฟด์มี" ทั้งสองครองอันดับ 1 เป็นเวลา 19 สัปดาห์ อย่างไรก็ตาม สถิตินี้ได้ถูกทำลายแล้วในเพลง "ดริฟท์อะเวย์" (Drift Away) ของอังเคิล แครกเกอร์ ซึ่งครองที่ 1 ถึง 28 สัปดาห์ในปี..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และอะนิวเดย์แฮสคัม (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

อินซัมสมอลเวย์

"อินซัมสมอลเวย์" (In Some Small Way) คือซิงเกิลที่ 4 และซิงเกิลวิทยุสุดท้ายจากอัลบั้มมิราเคิล ของเซลีน ดิออน เผยแพร่เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา "อินซัมสมอลเวย์" ประพันธ์โดยริชาร์ด เพจ ผู้ประพันธ์เพลง "สลีปไทต์" ในอัลบั้มนี้ เซลีนแสดงเพลง "อินซัมสมอลเวย์" ในการแสดง อะนิวเดย์... ระหว่างเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และอินซัมสมอลเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ทูเลิฟยูมอร์

ซลีน และทาโร ในการแสดงเพลง "ทูเลิฟยูมอร์" ที่เมมฟิส สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2540) "ทูเลิฟยูมอร์" (To Love You More) คือซิงเกิลของเซลีน ดิออน ออกจำหน่ายทางการค้าในประเทศญี่ปุ่น วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2538 "ทูเลิฟยูมอร์" บันทึกเสียงในฐานะเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ชุด เรื่อง Koibito Yo (แปลว่า "คู่รัก") และได้บรรจุในอัลบั้ม เดอะคัลเลอร์ออฟมายเลิฟ ซึ่งวางจำหน่ายอีกครั้งในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2538 เพลงนี้ออกจำหน่ายอีกครั้งในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2542 ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันกับที่ออกซิงเกิลแม็กซิ โดยโทนี มอแรน "ทูเลิฟยูมอร์" ออกจำหน่ายอีกครั้งในฐานะของซิงเกิลวิทยุในแคนาดาจากอัลบั้ม ไลฟ์อาปารี ในสหรัฐอเมริกาในฐานะซิงเกิลวิทยุจากอัลบั้ม เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 และ "ทูเลิฟยูมอร์" ก็เป็นซิงเกิลวิทยุในบราซิลในปีถัดมา เพลงนี้ได้บรรจุในอัลบั้มต่างๆดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และทูเลิฟยูมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ

อนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ (Let's Talk About Love Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา การจัดเริ่มต้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ในคอนเสิร์ตนี้จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนอัลบั้ม เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ นอกจากนี้ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส ยังได้นำเพลงจากอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม มาขับร้องด้ว.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม

ตุลาคม เป็นเดือนที่ 10 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนตุลาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีตุล และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพิจิก แต่ในทางดาราศาสตร์ เดือนตุลาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาวและไปอยู่ในกลุ่มดาวคันชั่งตอนต้นเดือนพฤศจิกายน เดือนตุลาคมในภาษาอังกฤษ October มาจากภาษาละติน octo เนื่องจากเป็นเดือนที่ 8 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนตุลาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ปูร์เกอตูแมมอองกอร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอ เพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" (พ.ศ. 2538) เซลีนขับร้องเพลง "ปูร์เกอตูแมมอองกอร์" ในมหรสพ''อะนิวเดย์...'' (พ.ศ. 2550) ปูร์เกอตูแมมอองกอร์ (Pour que tu m'aimes encore, "เพื่อให้คุณกลับมารักฉันอีกครั้ง") เป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบัม เดอ (D'eux) ซึ่งออกจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2538 เพลงนี้เป็นผลงานการประพันธ์ของชอง-ชาก โกลด์แมน (Jean-Jacques Goldman) และเป็นเพลงหนึ่งอันเป็นที่รู้จักมากที่สุดของเซลีน ดิออน มิวสิกวิดีโอเพลงนี้ อำนวยการสร้างโดยมีแชล แมแยร์ (Michel Meyer) ใน..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และปูร์เกอตูแมมอองกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แชร์

ำสำคัญ "แชร์" หรือ "share" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมอะไลฟ์

"แอมอะไลฟ์" (I'm Alive) คือซิงเกิลทางการค้าที่ 2 ของอัลบั้ม อะนิวเดย์แฮสคัม ของเซลีน ดิออน วางจำหน่ายเมื่อ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เพลง "แอมอะไลฟ์" เป็นผลงานการประพันธ์และอำนวยการสร้างโดย Kristian Lundin และ Andreas Carlsson ผู้ทำงานให้กับเซลีนมาแล้วในปี..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และแอมอะไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอตลาสต์

"แอตลาสต์" (At Last) คือเพลงในปี พ.ศ. 2484 ประพันธ์โดย แม็ก กอร์ดอน (Mack Gordon), แฮรรี่ วาร์เรน (Harry Warren) เพลงนี้นำมาขับร้องครั้งแรกโดย Glenn Miller แม้ว่าเพลงนี้เป็นเพลงที่นิยมของ Glenn แต่มันก็ถูกลืมเลือนไป จนกระทั่งได้นำมาขับร้องใหม่อีกครั้งโดย เอตต้า เจม.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และแอตลาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮฟยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" (พ.ศ. 2546) "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" (Have You Ever Been in Love) คือซิงเกิลที่ 2 ของอัลบั้ม วันฮาร์ตโดยเซลีน ดิออน ซึ่งออกจำหน่ายในฐานะเป็นซิงเกิลวิทยุในวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2546 ในสหรัฐอเมริกา และแคนาดา และออกในฐานะทางการค้าเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ในบางประเทศในยุโรป "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" ปรากฏครั้งแรกปี พ.ศ. 2545 จากอัลบั้ม อะนิวเดย์แฮสคัม แม้ว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่ถูกบรรจุลงในอัลบั้ม วันฮาร์ต ในปี พ.ศ. 2546 อีก "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" ใช้เวลา 14 สัปดาห์ กับตำแหน่งที่ 2ของชาร์ตเพลงร่วมสมัยของผู้ใหญ่ที่ได้รับความนิยมในสหรัฐอเมริกา เซลีน ดิออน แสดงเพลงนี้ (ระหว่างมีนาคม - พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) 5 คืนต่อสัปดาห์ในมหรสพ อะนิวเดย์... ที่โรงแรมซีร์พาเลส, ลาส เวกัส ภาพปกของซิงเกิล "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" ปรากฏอีกครั้งในซิงเกิลปี พ.ศ. 2549 เพลง "ตูเลเซอเกร".

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และแฮฟยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์...

ำหรับมหรสพที่ลาส เวกัส ดูบทความที่ อะนิวเดย์... สำหรับอัลบั้มบันทึกการแสดง ดูบทความที่ อะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส ไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิว... (Live in Las Vegas - A New Day...) คือผลงานสื่อวิดิทัศน์ที่ออกจำหน่ายในรูปแบบดีวีดีของเซลีน ดิออนที่ 8 ออกจำหน่ายในวันที่ 7 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ในยุโรป วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550ในฮ่องกง.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และไลฟ์อินลาสเวกัส - อะนิวเดย์... · ดูเพิ่มเติม »

ไอโดรฟออลไนต์

"ไอโดรฟออลไนต์" (I Drove All Night) เป็นผลงานการประพันธ์ของ Billy Steinberg และ Tom Kelly เพื่อรอย ออบินสัน รอยบันทึกเสียงเพลงนี้คนแรกในปี พ.ศ. 2530 แต่ไม่ได้ออกจำหน่ายจนกระทั่ง พ.ศ. 2535 เพลงนี้ได้ขึ้นสู่เพลงยอดนิยม 10 อันดับแรกของซินดี ลอเปอร์ เพลงนี้ได้นำมาขับร้องใหม่หลายครั้ง อาทิ โดย Pinmonkey (พ.ศ. 2545) และเซลีน ดิออน (พ.ศ. 2546).

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และไอโดรฟออลไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอดเปล่งแสง

อดเปล่งแสงสีต่าง ๆ ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode หรือย่อว่า LED) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทางไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิก โฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และไดโอดเปล่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

เบ็ตต์ มิดเลอร์

็ตต์ มิดเลอร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1945 เป็นนักร้อง นักแสดง ดาราตลก ชาวอเมริกัน ในบางครั้งรู้จักในชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า The Divine Miss M. ซึ่งก็เป็นชื่ออัลบั้มเพลงอัลบั้มแรกของเธอในปี 1972 ด้วย เธอได้รับรางวัลแกรมมี่ 4 ครั้ง, รางวัลลูกโลกทองคำ 4 รางวัล, รางวัลเอมมี 3 รางวัล และ 1 รางวัลโทนี เธอยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์มาแล้ว 2 ครั้งจากภาพยนตร์เรื่อง The Rose (1979) และ For The Boys (1991) ปัจจุบันเธอแสดงคอนเสิร์ตที่ชื่อ The Showgirl Must Go On ที่เซซาร์ส พาเลซ ในลาสเวกัส หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:นักร้องอเมริกัน หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายยิว หมวดหมู่:นักร้องเสียงเมซโซ-โซปราโน หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลโทนี หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลเอมมี หมวดหมู่:นักแสดงตลกอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากโฮโนลูลู.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และเบ็ตต์ มิดเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชอแตมอองกอร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "เอเชอแตมอองกอร์" (พ.ศ. 2546) "เอเชอแตมอองกอร์" (Et je t'aime encore,"และฉันก็ยังคงรักคุณ") คือซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออน จากอัลบั้มอวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส "เอเชอแตมอองกอร์" ประพันธ์โดยชอง-ชาก โกลด์แมนผู้ร่วมทำงานกับเซลีน ในอัลบั้ม เดอ ในปี พ.ศ. 2538 และซีลซูฟฟีเซแดมเม ในปี พ.ศ. 2541 ฉบับภาษาอังกฤษของเพลงนี้บรรจุในอัลบั้มวันฮาร์ต ซึ่งบันทึกเสียงก่อนและใช้ชื่อเพลงเดียวกัน ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เซลีนได้บันทึกเทปรายการพิเศษ อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ที่โรงแรมซีซ่าร์พาเลซ, ลาสเวกัส มิวสิกวิดีโอ อำนวยการสร้างโดย Yannick Saillet ถ่ายทำที่บาร์ Whiskey Bar ในลาส เวกัส ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และเอเชอแตมอองกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เทกกิงแชนเซส (Taking Chances Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ปัจจุบันของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา เพื่อสนับสนุนอัลบั้มภาษาอังกฤษ เทกกิงแชนเซส ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ตทัวร์นี้ใช้เวลากว่า 1 ปีในการเยือน 5 ทวีป, 24 ประเทศ, 84 เมือง รวมการแสดงกว่า 123 ครั้ง.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟิสต์ไทม์เอเวอร์ไอซอว์ยัวร์เฟส

"เดอะเฟิสต์ไทม์เอเวอร์ไอซอว์ยัวร์เฟส" (The First Time Ever I Saw Your Face)" คือเพลงแนวโฟล์คปี พ.ศ. 2500 เป็นผลงานการประพันธ์ของ อีวาน แม็กคอล เพื่อเพ็กกี ซีเจอร์ ภรรยาของเขา ในฉบับที่ได้รับความนิยมขับร้องโดย โรเบอร์ตา แฟลก เพลงนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในอัลบั้ม เฟิสต์เทก ของโรเบอร์ตา ในปี พ.ศ. 2512 และเป็นเพลงที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางเมื่อเพลงนี้นำมาใช้ในการประกอบภาพยนตร์เรื่อง เพลย์มิสตีฟอร์มี (Play Misty for Me) ที่กำกับและแสดงนำโดยคลินท์ อีสท์วูด ในปี พ.ศ. 2514 เพลงนี้ขึ้นชาร์ตเพลงยอดนิยม 100 เพลงของชาร์ตบิลบอร์ดและได้รับรางวัลแกรมมีในอีก 3 ปีถัดมา ฉบับของโรเบอร์ตานั้นช้ากว่า แต่ได้อรรถรสมากกว่า ทำให้คลินต์ อีสต์วูด (Clint Eastwood) ได้เลือกนำมาใช้ในภาพยนตร์เรื่อง เพลย์มิสตีฟอร์มี ระหว่างฉากรัก และเพื่อเป็นการเผยแพร่เพลงมากขึ้น ค่ายแอตแลนติก (Atlantic Records) ได้ย่อเพลงนี้ในฉบับความยาว 4 นาที และเผยแพร่ทางวิทยุ เพลงนี้ติดชาร์ตอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกานานกว่า 6 สัปดาห์ และอันดับ 14 ในสหราชอาณาจักร ในฐานะของเพลงโฟล์คซอง "เดอะเฟิสต์ไทม์เอเวอร์ไอซอว์ยัวร์เฟส" ได้นำมาขับร้องใหม่โดยศิลปินหลายคน อาทิ Marianne Faithfull, Kingston Trio, the Chad Mitchell Trio-Mike Kobluk solo, Gordon Lightfoot, Bert Jansch, Maria Taylor, และ Peter, Paul and Mary และภายหลังจากฉบับของ Roberta เพลงนี้ได้นำมาร้องใหม่อีกมากมาย อาทิ ฉบับของ Johnny Cash, the Chi-Lites, Marcia Griffiths, Isaac Hayes, Bradley Joseph, Joanna Law, Alison Moyet, George Michael, Elvis Presley, the Stereophonics, Mel Tormé, Vanessa L. Williams, Cindytalk, Amanda Palmer, Christy Moore, Leona Lewis, และ Lauryn Hill เซลีน ดิออน ได้รับความนิยมในสหราชอาณาจักร เพลงนี้ยังได้นำมาปรับรูปแบบแจ็ซ โดย Rachel Z trio ในอัลบั้มชื่อเดียวกับเขาเอง เพลงนี้ยังได้เป็นเพลงพื้นฐานของดรัมและเบส โดย Teebee และ Future Prophecies.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และเดอะเฟิสต์ไทม์เอเวอร์ไอซอว์ยัวร์เฟส · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อะนิวเดย์...และ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

A New Day...อะ นิว เดย์...

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »