โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาโกส

ดัชนี อาโกส

"อาโกส " (A cause, "เพราะว่า") คือซิงเกิลที่ 3 ที่จำหน่ายในฝรั่งเศสของ เซลีน ดิออน จากอัลบั้ม แดล ส่งเข้าสู่สถานีวิทยุครั้งแรกเมื่อวันที่19 มกราคมพ.ศ. 2551 ฟรองซวส โดแรง และ ชาก เวอเนอรูโซประพันธ์เนื้อร้องเพลง "อาโกส" (นอกจากนี้ ฟรองซวส โดแรงยังประพันธ์เพลง "เอต์ซีลนองแรสเตกวิน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" และ ชาก เวอเนอรูโซ ประพันธ์เพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม", "กงตร์นาตูร์", "เชอเนอวูอูบลีปา", "ตูเลเซอเกร", "อีมองซีเต", "เลอต็องกีกง") เซลีนในเพลง "อาโกส" ในรายการพิเศษ "ทีเอฟวัน" (พ.ศ. 2550) เซลีน ดิออน แสดงเพลงนี้ขณะออกรายการสถานีโทรทัศน์ที่ฝรั่งเศส TF1 TV special ซึ่งทำเพื่ออัลบั้มของเธอ "แดล" ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ยังแสดง "อาโกส" ในรายการ Vivement Dimanche ขณะที่เธอไปฝรั่งเศสในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และออกอากาศในเดือนพฤษภาคม..

28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พฤศจิกายนพฤษภาคมกงตร์นาตูร์มิวสิกวิดีโอร็อกสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์อะโลนอะโลน (เพลงวงฮาร์ต)อะเวิลด์ทูบีลีฟอินอิมมองซีเตอีพิกเรเคิดส์องเซแตเมอาโกซตูลอร์เดซอมตูเลเซอเกรซิงเกิลซูเลอวองป็อปแดลโคลัมเบียเรเคิดส์เลอต็องกีกงเอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)เฌอเนอวูซูบลีปาเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์เซลีน ดิออน19 มกราคม9 กันยายน

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาโกสและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อาโกสและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน

กายน เป็นเดือนที่ 11 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤศจิกายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพิจิก และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีธนู แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวตาชั่ง ผ่านกลุ่มดาวแมงป่องระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน โดยประมาณ และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงูในปลายเดือน เดือนพฤศจิกายนในภาษาอังกฤษ November มาจากภาษาละติน novem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 9 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: อาโกสและพฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อาโกสและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

กงตร์นาตูร์

ซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "กงตร์นาตูร์" (พ.ศ. 2547) "กงตร์นาตูร์" (Contre nature, "ฝืนธรรมชาติ") คือซิงเกิลวิทยุที่ 3 ของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม อวีนฟีย์เอกาตร์ตีป ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส "กงตร์นาตูร์" เป็นผลงานการประพันธ์ของชาก เวอเนอรูโซ ผู้ประพันธ์เพลง "ตูลอร์เดซอม" และ "ซูเลอวอง" ให้กับเซลีนก่อนหน้านี้ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เซลีนได้บันทึกเทปรายการพิเศษ "อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี" ที่โรงแรมซีซ่าร์พาเลซ ลาส เวกัส มิวสิกวิดีโอเป็นผลงานอำนวยการสร้างของ Didier Kerbrat ถ่ายทำในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในทะเลทรายรัฐเนวาดา ลอสแอนเจลิส และปฐมทัศน์ในวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2547 ซึ่งได้บรรจุใน องเนอชองช์ปา ดีวีดีรวบรวมเพลงยอดนิยม ซึ่งออกจำหน่ายในปี พ.ศ. 2548 เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับที่ 2 ชาร์ตควิเบกแอร์เพล และที่ 9 ชาร์ตโพลิช แอร์เพล "กงตร์นาตูร์" ได้บรรตุในอัลบั้ม อะนิวเดย์... ไลฟ์อินลาสเวกัส ฉบับของประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: อาโกสและกงตร์นาตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: อาโกสและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: อาโกสและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์

ื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ (promotional recording, promo (โปรโมชั่นซิงเกิล) คือซิงเกิลที่ออกเผยแพร่ อาจเป็นรูปแบบเสียงหรือวีดิทัศน์ โดยส่วนมากจะใช้กันในสถานีวิทยุหรือสถานีโทรทัศน์เท่านั้น สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์จะถูกส่งโดยตรงไปยังผู้ออกอากาศ เช่น สถานีวิทยุเพลง สถานีโทรทัศน์ หรือนักจัดรายการวิทยุและนักข่าวฝ่ายเพลง ก่อนการเปิดตัวเชิงพาณิชย์ของอัลบัมใหม่โดยตั้งใจให้สื่อต่าง ๆ ออกอากาศ วิจารณ์ หรือเสนอในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจของสาธารณชนในการเปิดตัวในเชิงพาณิชย์ต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายเท่านั้น ไม่ใช่สำหรับการขาย นอกจากนี้ยังอาจระบุว่า สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์สามารถกลับไปจำหน่ายต่อแล้วแต่ความต้องการของบริษัท ซึ่งเป็นที่สนใจของนักสะสมแผ่นเพลงเป็นอย่างยิ่ง โดยมีเพียง 1–2 เพลง หรือในบางประเทศอาจรวมรีมิกซ์หลายแบบของซิงเกิลนั้น ๆ ไว้ในแผ่นเดียว นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมีการส่งเสริมรูปแบบใหม่บนร้านค้าออนไลน์ซึ่งมีการนับถอยหลังก่อนการวางจำหน่ายอัลบัมใหม่ โดยไอทูนส์และร้านค้าออนไลน์เพลงอื่น ๆ จะมีการจำหน่ายตัวอย่างเพลงจากในอัลบัมใหม่ออกมาให้ลองฟัง ตัวอย่างเช่น หนึ่งสัปดาห์ก่อนวางจำหน่ายอัลบัมจริง ซึ่งเพลงบางส่วนที่ออกวางจำหน่ายก่อนส่วนใหญ่จะเรียกว่า "สื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์".

ใหม่!!: อาโกสและสื่อบันทึกเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะโลน

อะโลน (Alone) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อาโกสและอะโลน · ดูเพิ่มเติม »

อะโลน (เพลงวงฮาร์ต)

"อะโลน" (Alone) ของซิงเกิลที่บันทึกเสียงโดยวงดนตรีร็อก ชาวอเมริกัน วงฮาร์ต เพลงถูกเรียบเรียงเมื่อปี พ.ศ. 2525 โดย ทอม เคลลี และบิลลี เบินเสตด ผู้ประพันธ์เพลงยอดนิยมอีก 2 เพลงของอเมริกา คือ เพลงของมาดอนน่า ในเพลง "ไลค์อะเวอร์จิน" (พ.ศ. 2526) และเพลงของซินดี ลอเปอร์ เพลง "ทรูคัลเลอร์ส" (พ.ศ. 2528) เพลงนี้ขับร้องโดยวงฮาร์ต และออกเป็นซิงเกิลแรกของอัลบั้มที่ 9 แบดแอนนิมอลส์ อะโลนเป็นเพลงยอดนิยมในอเมริกา โดยอยู่ในชาร์ตอันดับ 1 นานถึง 3 สัปดาห์ ในชาร์ตบิลบอร์ดยอดนิยม 100 และเป็นซิงเกิลที่ประสพความสำเร็จในสหราชอาณาจักร ซึ่งอยู่อันดดับสูงสุดคืออันดับที่ 3 ในชาร์ตซิงเกิลสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: อาโกสและอะโลน (เพลงวงฮาร์ต) · ดูเพิ่มเติม »

อะเวิลด์ทูบีลีฟอิน

"อะเวิลด์ทูบีลีฟอิน" (A World To Believe In) เป็นเพลงของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา ต่อมาเซลีนได้ขับร้องเพลงนี้ร่วมกับยูนะ อิโตะ นักร้องชาวญี่ปุ่น และได้ออกจำหน่ายรูปแบบซิงเกิล ในชื่อเพลงใหม่ว่า "อะนะตะ กะ อิรุ คะงิริ~อะเวิลด์ทูบีลีฟอิน~" อันเป็นบทเพลงที่มีคำร้องผสมระหว่างภาษาอังกฤษจากต้นฉบับเดิมของเพลงนี้ในอัลบั้ม เทกกิงแชนเซส และคำร้องภาษาญี่ปุ่นซึ่งมีการประพันธ์ขึ้นใหม่ นอกจากนี้ยังมีฉบับคำร้องภาษาญี่ปุ่นซึ่งยูนะขับร้องเองทั้งหมดบรรจุภายในซิงเกิล ในปี..

ใหม่!!: อาโกสและอะเวิลด์ทูบีลีฟอิน · ดูเพิ่มเติม »

อิมมองซีเต

"อิมมองซีเต " (Immensité, "ไพศาล") คือซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม แดล ได้รับการเผยแพร่ทางวิทยุเป็นครั้งแรกในประเทศฝรั่งเศสและควิเบก ประเทศแคนาดาเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2550 และออกจำหน่ายในแบบดิจิตอลดาวโหลดเป็นครั้งแรกในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 อย่างไรก็ตามไม่มีการจำหน่ายในรูปแบบซีดี "อิมมองซีเต" ประพันธ์คำร้องโดยนีนา บูราวี และเรียบเรียงทำนองโดยชาก เวอเนอรูโซผู้อำนวยการสร้างเพลงนี้ เซลีน เคยร่วมงานกับชาก แล้วในเพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม ", "กงตร์นาตูร์ ", เชอเนอวูอูบลีปา" และ "ตูเลเซอเกร" เซลีน ในมิวสิกวิดีโอเพลง "อิมมองซีเต" (พ.ศ. 2550) มิวสิกวิดีโอถ่ายทำที่ทะเลสาบ เลกมี๊ด ในวันที่ 5 - 6 เมษายน พ.ศ. 2550 และแพร่ภาพในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 เซลีนแสดงเพลงนี้ใน 2 รายการโทรทัศน์พิเศษเพื่อโปรโมตให้เซลีน ดิออนในอัลบั้ม แดล นอกจากนี้เธอยังแสดงใน Sainte-Justine ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2550 "อิมมองซีเต" ขึ้นสู่อันดับสูงสุดที่ 7 ในชาร์ตควิเบกแอร์เพล ในวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เซลีน ดิออน สนับสนุนเพลง "อิมมองซีเต" ในระหว่างการเยือนฝรั่งเศสในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซึ่งเพลงนี้รวมอยู่ในซิงเกิลซีดี "เทกกิงแชนเซส" ฉบับประเทศฝรั่งเศสที่วางจำหน่ายในเวลาไล่เลี่ยกัน.

ใหม่!!: อาโกสและอิมมองซีเต · ดูเพิ่มเติม »

อีพิกเรเคิดส์

อีพิกเรเคิดส์ คือบริษัทบันทึกเสียงในเครือโซนี่ บีเอ็มจี ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: อาโกสและอีพิกเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

องเซแตเมอาโกซ

"องเซแตเมอาโกซ" (On s'est aimé à cause, "เราเคยรักกันเพราะเหตุว่า") เป็นซิงเกิลที่ 4 ของเซลีน ดิออน จากอัลบัม แดล ได้รับการเผยแพร่ทางนีวิทยุเป็นครั้งแรกในประเทศแคนาดา รัฐควิเบก เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เซลีน ดิออน แสดงเพลง "องเซแอมเมอาโกซ" ในรายการ Quebecer TVA TV special (2550) เนื้อเพลงประพันธ์โดยฟรองซวส โดแรง ส่วนทำนองโดย มาร์ก ดูเปร และมี ชอง-ฟรองซัว โบร เป็นผู้อำนวยเพลงนี้ ทั้งนี้ ฟรองซังยังเป็นผู้ประพันธ์เพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" กับทั้งเซลีนยังเคยร่วมงานกับผู้ประพันธ์ทำนองและผู้อำนวยเพลงทั้งสองในเพลง "ปลือโอเกอมัว (Plus haut que moi)" เมื่อ พ.ศ. 2536 และเพลง "ตูแปรดูบอเนอร์" ใน พ.ศ. 2548 อีกด้วย ไม่มีมิวสิกวิดีโอองเซแตเมอาโกซ ทั้งนี้ เพลงองเซแตเมอาโกซยังมีฉบับหนึ่งซึ่งบันทึกเสียงในภายหลัง เรียก เพลง "อาโกซ" ซึ่งมีทำนองเร็ว เพลงองเซแตเมอาโกซสขึ้นสู่อันดับสูงสุดที่ 5 ในชาร์ทควิเบกแอร์เพลเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: อาโกสและองเซแตเมอาโกซ · ดูเพิ่มเติม »

ตูลอร์เดซอม

"ตูลอร์เดซอม" (Tout l'or des hommes) คือซิงเกิลแรกจากอัลบั้มอวีนฟีเยอเอกัตเรอตี ของเซลีน ดิออน จำหน่ายเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ในบางประเทศ "ตูลอร์เดซอม " ประพันธ์โดย ชาก เวอเนอรูโซ ผู้ประพันธ์เพลงภาษาฝรั่งเศสยอดนิยมของเซลีนก่อนหน้านี้ "ซูเลอวอง" เพลงอำนวยการสร้างโดย Erick Benzi ผู้เคยทำงานร่วมกับเซลีนในอัลบั้ม เดอ ในปี พ.ศ. 2538 และอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ในปี พ.ศ. 2541 เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ตูลอร์เดซอม" (พ.ศ. 2546)มิวสิกวิดีโอเพลงนี้อำนวยการสร้างโดย Yannick Saillet ถ่ายทำเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2546 ในทะเลทรายในรัฐเนวาดา ลอสแอนเจลิส และเผยแพร่เมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: อาโกสและตูลอร์เดซอม · ดูเพิ่มเติม »

ตูเลเซอเกร

"ตูเลเซอเกร" (Tous les secrets, "ทุกความลับ") คือซิงเกิลที่ 2 จากอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน องเนอชองช์ปา ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในบางประเทศ นอกจากนี้เพลงนี้ "ตูเลเซอเกร" ยังเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์การ์ตูนแอนนิเมชั่นฝรั่งเศสเรื่อง Asterix and the Vikings เพลงประพันธ์และอำนวยการสร้างโดย Kristian Lundin (ผู้ประพันธ์เพลง "แดทส์เดอะเวย์อิทอิส", "แอมอะไลฟ์") และ ชาก เวอเนอรูโซ ประพันธ์ในฉบับภาษาฝรั่งเศส (ผู้ประพันธ์เพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม", "กงตร์นาตูร์", "เชอเนอวูอูบลีปา") "ตูเลเซอเกร" ออกเผยแพร่ผ่านสถานีวิทยุ ในโปแลนด์ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2548 และในแคนาดาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 และวางจำหน่ายเพื่อการค้าในบางประเทศในทวีปยุโรป เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 ภาพปกของตูเลเซอเกร นำมาใช้อีกครั้งจากซิงเกิล "แฮพยูเอเวอร์บีนอินเลิฟ" ที่วางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2545 อีกเพลงหนึ่งของซิงเกิล "ตูเลเซอเกร" คือเพลง "เล็ดยัวร์ฮาร์ตดีไซด์" เป็นฉบับภาษาอังกฤษของเพลงตูเลเซอเกร ทั้ง 2 ฉบับสามารถฟังได้ในอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์ Asterix and the Vikings ซึ่งวางจำหน่ายในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2549 เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ตูเลเซอเกร" และ "เล็ดยัวร์ฮาร์ตดีไซด์" (พ.ศ. 2549) มิวสิกวิดีโอ ของทั้ง 2 ฉบับ ประกอบไปด้วย ภาพจากภาพยนตร์ และภาพเซลีน ขณะบันทึกเพลงในห้องบันทึกเสียง เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ต่อมาได้บรรจุอยู่ในแผ่นดีวีดีภาพยนตร์เรื่อง Asterix and the Vikings ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เซลีนเคยบันทึกเสียงก่อนแสดงในเพลงตูเลเซอเกร ในรายการโทรทัศน์ประเทศฝรั่งเศส เรียกว่า "ฮิตแมตชีน" ระหว่างการเยือนฝรั่งเศสของเธอ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 และแพร่ภาพในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: อาโกสและตูเลเซอเกร · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิล

ทกกิงแชนเซส ของเซลีน ดิออน แบบซีดีซิงเกิล ซิงเกิล (Single นิยมอ่านว่า ซิงเกิล) ในทางดนตรีคือการบันทึกอย่างสั้นอย่างน้อย 1 เพลง ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: อาโกสและซิงเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ซูเลอวอง

"ซูเลอวอง" (Sous le vent - "ในสายลม") คือการร้องคู่กันระหว่างเซลีน ดิออน และการู ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็นซิงเกิลที่ 3 ของการู จากอัลบั้ม Seul (พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) "ซูเลอวอง" ได้บรรจุลงในอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมของเซลีน ดิออน ในปี พ.ศ. 2548 องเนอชองเช่ปา "ซูเลอวอง" เป็นผลงานการประพันธ์ของ ชาก เวอเนอรุสโซผู้ประพันธ์เพลง "ตูลอร์เดซอม" และ "เชอเนอวูอูบลีปา" เซลีนและการู ในมิวสิกวิดีโอเพลง "ซูเลอวอง" (พ.ศ. 2544)มิวสิกวิดีโอ เพลง "ซูเลอวอง" อำนวยการสร้างโดย Istan Rozumny และแพร่ภาพเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 ซึ่งได้บรรจุลงในดีวีดีรวมมิวสิกวิดีโอของเซลีน ใน..

ใหม่!!: อาโกสและซูเลอวอง · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: อาโกสและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

แดล

แดล (D'elles) คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน ที่ออกจำหน่ายในช่วงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ในบางประเทศในยุโรปที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส แคนาดา และญี่ปุ่น รูปแบบการจำหน่ายประกอบไปด้วยรูปแบบซีดีธรรมดา, รูปแบบดิจิแพ็ก และรูปแบบกล่องนักสะสม นับเป็นอัลบั้มชุดที่ 34 ของเซลีน และเป็นอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสลำดับที่ 23 แดล สร้างสรรค์ขึ้นบนแนวคิดเชิดชูความเป็นอิตสรี โดยมีนักแต่งเพลงภาษาฝรั่งเศสทั้งชาวแคนาดาเชื้อสาวฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสเองร่วมกันประพันธ์เพลงในอัลบั้มกว่า 10 คน เริ่มบันทึกเสียงตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 เสร็จสิ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ณ พิกโคโลสตูดิโอส์ (Piccolo Studios) ในมอนทรีออลและมหานครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้เพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน (เชอเซอเรแซลเลอ-ลา)" เป็นซิงเกิลในการประชาสัมพันธ์ยอดขายอัลบั้มเป็นซิงเกิลแรก เริ่มจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2550 และมีการเผยแพร่เพลงอื่นๆ ในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป เซลีนประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการบันทึกเทปรายการพิเศษ 2 รายการในฝรั่งเศสและแคนาดา โดยมีการนำเทปบันทึกรายการพิเศษดังกล่าวออกอากาศทางช่อง TF1 และ TVA ในฝรั่งเศสและแคนาดาตามลำดับ และออกอากาศในเมืองมอนทรีออลเมื่อวันที่ 11 - 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อาโกสและแดล · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบียเรเคิดส์

โคลัมเบียเรเคิดส์ เป็นเครื่องหมายการค้าในการบันทึกเสียง (ค่ายเพลง) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลือในปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431.

ใหม่!!: อาโกสและโคลัมเบียเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เลอต็องกีกง

"เลอต็องกีกงต์" (Le temps qui compte, "เวลาอันสำคัญ") เป็นซิงเกิลแรกและซิงเกิลเดียวจากอัลบัม แดลของเซลีน ดิออน ที่เผยแพร่เพื่อสนับสนุนอัลบัมในประเทศโปแลนด์ โดยมีการเผยแพร่ทางวิทยุเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 "เลอต็องกีกง" เป็นผลงานการประพันธ์ของมารี ลาแบช และเรียบเรียงทำนองโดยชาก เวอเนอรูโซ ทั้งนี้ เซลีนทำงานร่วมกับชากส์ในเพลง "ซูเลอวอง", "ตูลอร์เดซอม ", "กงตร์นาตูร์ ", "เชอเนอวูอูบลีปา", "ตูเลเซอเกร" และ "อิมมองซีเต" เพลงเลอต็องกีกงขึ้นสู่อันดับที่ 9 ในชาร์ต Polish RMF FM เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อาโกสและเลอต็องกีกง · ดูเพิ่มเติม »

เอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)

อซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา) (Et s'il n'en restait qu'une (je serais celle-là), "และหากต้องเหลือผู้หญิงอยู่เพียงคนเดียว (ฉันจะเป็นผู้หญิงคนนั้น)") เป็นซิงเกิลแรกจากอัลบัมภาษาฝรั่งเศส แดล (และเป็นซิงเกิลเดียวที่ออกจำหน่ายทางการค้า) อันได้รับการแผยแพร่ทางวิทยุในประเทศฝรั่งเศส, แคนาดา, สวิตเซอร์แลนด์ และเบลเยียมเป็นครั้งแรกในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 และออกจำหน่ายด้วยการให้ดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตในวันเดียวกันข้างต้น ส่วนรูปแบบซีดีการค้านั้นออกจำหน่ายในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2550 ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส มิวสิกวิดีโอเพลง "เอซีลนองแรสเตกวีน" (ปี พ.ศ. 2550) "เอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา)" เป็นผลงานการประพันธ์คำร้องของฟรองซวส โดแรง และเรียบเรียงดนตรีโดย ดาวิด กาเตอโญ สำหรับฟรองซวส โดแรงนั้นเป็นนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ผลงานเลื่องชื่อได้แก่ นิยายเรื่อง "วีชีนีเอโปล (Virginie et Paul)", "ลาเซอกงด์ดองโรม (La seconde dans Rome)", "เลลีซาอวีนปลาซ เลชูปกูลอต (Les lits à une place, les jupes culotte) และ "เลกอร์โบเอเรอนาร์ด (Les corbeaux et les renardes)" ส่วนผลงานประเภทอื่น ๆ ได้แก่ ละครเรื่อง "ลาฟักตูร์ (La facture)", "เอิงซาเลโกอีสต์ แลงตอกซ์ (Un sale egoiste, l'intoxe)" และเพลงขบขันอย่าง "ลาวาลีสอองการ์ตง (La valise en carton)" มิวสิกวิดีโอเพลงนี้อำนวยการสร้างโดยเทียร์รี วาร์กเนส (Thierry Vargnes) ถ่ายทำที่ในนครนิวยอร์กเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2550 และเผยแพร่เป็นครั้งแรกในโทรทัศน์ของแคนาดา ช่องทีวีเอ (TVA) เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2550 เพลงนี้ขึ้นสู่อันดับ 1 ชาร์ตซิงเกิลฝรั่งเศส และเป็นซิงเกิลที่ 5 ของเซลีน ดิออนที่ขึ้นอันดับ 1 ในประเทศดังกล่าว (60,000 แผ่น) และขึ้นสู่อันดับที่ 2 ในควิเบก อันดับที่ 4 ในเบลเยียม อันดับ 7 ในยุโรป และอันดับ 34 ในสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: อาโกสและเอซีลนองแรสเตกวีน (เฌอเซอเรแซล-ลา) · ดูเพิ่มเติม »

เฌอเนอวูซูบลีปา

"เฌอเนอวูซูบลีปา" (Je ne vous oublie pas, "ฉันไม่ลืมคุณ") เป็นซิงเกิลแรกจากอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออน องเนอชองช์ปา วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2548 คำร้องประพันธ์โดย ฌัก เวอเนอรูโซ (ผู้ทำงานร่วมกับเซลีน ดิออนในอัลบั้ม อวีนฟีเยอเอกัตเรอตี อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสก่อนหน้านี้) กล่าวว่าเพลงนี้เป็นการขอบคุณแฟนเพลงของเธอ "เฌอเนอวูซูบลีปา" ออกจำหน่ายเพื่อการค้าในบางประเทศในยุโรป และออกเผยแพร่ในสถานีวิทยุแบบซิงเกิลสถานีวิทยุในแคนาดา เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "เฌอเนอวูซูบลีปา" (พ.ศ. 2548) มิวสิกวิดีโอ ถ่ายทำและอำนวยการผลิตในโรงละครมอนทรีออล อิมพีเรียล ประเทศแคนาดาเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 โดย Didier Kerbrat และออกเผยแพร่ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: อาโกสและเฌอเนอวูซูบลีปา · ดูเพิ่มเติม »

เทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เทกกิงแชนเซส (Taking Chances Tour) คือคอนเสิร์ตทัวร์ปัจจุบันของเซลีน ดิออน นักร้องสาวชาวแคนาดา เพื่อสนับสนุนอัลบั้มภาษาอังกฤษ เทกกิงแชนเซส ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ตทัวร์นี้ใช้เวลากว่า 1 ปีในการเยือน 5 ทวีป, 24 ประเทศ, 84 เมือง รวมการแสดงกว่า 123 ครั้ง.

ใหม่!!: อาโกสและเทกกิงแชนเซสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: อาโกสและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อาโกสและ19 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาโกสและ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

A CauseA Cause (ซิงเกิ้ลของเซลีน ดิออน)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »