เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ไท่ช่างหฺวัง

ดัชนี ไท่ช่างหฺวัง

ท่ช่างหฺวัง (แปลตรงตัวว่า พระเจ้าหลวง) เป็นสมัญญาของจักรพรรดิจีนที่สละราชสมบัต.

สารบัญ

  1. 33 ความสัมพันธ์: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีนรัฐจ้าวราชวงศ์ชิงราชวงศ์สุยราชวงศ์ฮั่นราชวงศ์จิ้นราชวงศ์ถังราชวงศ์ฉินอี้เซฺวียนจักรพรรดิกวังซฺวี่จักรพรรดิสุยหยางจักรพรรดิฮั่นเกาจู่จักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิจิ้นฮุ่ยจักรพรรดิจีนจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังซู่จงจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังเกาจู่จักรพรรดิถังเสฺวียนจงจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิเจียชิ่งจักรพรรดิเฉียนหลงจิ๋นซีฮ่องเต้ซือหม่า หลุนซูสีไทเฮาแทซังวังไจ้เฟิงไดโจเท็นโนเหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่เจียง เจ๋อหมินเจ้าหญิงไท่ผิงเติ้ง เสี่ยวผิง

  2. ฐานันดรศักดิ์จีน
  3. ประวัติศาสตร์จักรวรรดิจีน

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China (CPC) หรือ Chinese Communist Party (CCP)) เป็นพรรคการเมืองหลักในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสมาชิกกว่า 80 ล้านคน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน

รัฐจ้าว

้าว เป็นรัฐจีนโบราณหนึ่งในเจ็ดรัฐใหญ่แห่งยุครณรัฐ (戰國時代) เกิดขึ้นเมื่อรัฐจิ้นแยกออกเป็นสามรัฐ คือ รัฐจ้าว, รัฐหาน (韓國), และรัฐเว่ย์ (魏國) เมื่อศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล จากนั้น รัฐจ้าวปฏิรูปทหารในรัชสมัยพระเจ้าจ้าวอู่หลิง (趙武靈王) ทำให้แข็งแกร่งขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่ภายหลังพ่ายแพ้ยับเยินให้แก่รัฐฉิน (秦國) ในยุทธการที่ฉางผิง (長平之戰) และถูกผนวก อาณาเขตของรัฐจ้าว ประกอบด้วย ดินแดนซึ่งปัจจุบันเป็นมองโกเลียใน, เหอเป่ย์, ชานซี, และฉ่านซี รายล้อมด้วยดินแดนของรัฐฉิน, รัฐเว่ย์, ซฺยงหนู (匈奴), และหานตาน (邯郸) รัฐจ้าวเป็นที่กำเนิดของเชิ่น เต้า (慎到) นักนิติปรัชญา, กงซุน หลง (公孫龍) นักตรรกวิทยา, และสฺวิน ข้วง (荀況) ปรัชญาเมธีลัทธิขงจื๊อ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและรัฐจ้าว

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty, ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) (37 ปี) เป็นราชวงศ์ที่ทรงอำนาจทางการทหารแต่มีระยะเวลาการปกครองที่ค่อนข้างสั้น สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์สุย

ราชวงศ์ฮั่น

มเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่นสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ราชวงศ์ฮั่น (ภาษาจีน: 漢朝 พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์ฮั่น

ราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ฉิน

เขตแดนราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฉิน (Qin Dynasty; 秦朝) หรือจิ๋น เป็นราชวงศ์ที่ปกครองแผ่นดินจีนระหว่าง พ.ศ. 323–พ.ศ. 338 (221 ปีก่อนค.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและราชวงศ์ฉิน

อี้เซฺวียน

ฉุนชินหวัง ซึ่งมีพระนามเดิมว่าอี้เซฺวียน (16 ตุลาคม ค.ศ. 1840 – 1 มกราคม ค.ศ. 1891) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 7 ในจักรพรรดิเต้ากวงกับจวงซุ่นหวงกุ้ยเฟย์ เป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นพระอัยกาของจักรพรรดิผู่อี๋.

ดู ไท่ช่างหฺวังและอี้เซฺวียน

จักรพรรดิกวังซฺวี่

ระฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี้ จักรพรรดิกวังซฺวี่ พระนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ไจ้เถียน (14 สิงหาคม 2414-14 พฤศจิกายน 2451) เป็นพระโอรสในองค์ชายอี้ซวน ซึ่งเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง พระราชชนนีคือพระขนิษฐาในพระนางซูสีไทเฮา ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมพรรษา 3 พรรษา การขึ้นครองราชย์ของพระองค์เป็นการผิดกฎมณเฑียรบาล เพราะสมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อก่อนสวรรคตได้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายไจ้ซู่พระญาติให้เป็นรัชทายาท แต่ในเมื่อพระนางซูสีไทเฮาต้องการให้องค์กวังซฺวี่ขึ้นครองราชย์ก็ไม่มีใครกล้าคัดค้าน.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิกวังซฺวี่

จักรพรรดิสุยหยาง

มเด็จพระจักรพรรดิสุยหยางตี้ (楊廣, Emperor Sui-Yangdi) (ค.ศ. 600-618,1143-1161) ประสูติเมื่อปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิสุยหยาง

จักรพรรดิฮั่นเกาจู่

ั่นเกาจู่ ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ฮั่นโกโจ ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน ("อัครบรรพชนฮั่น"; 256 ปีก่อนคริสตกาล – 1 มิถุนายน 195 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามเดิม หลิว ปัง เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฮั่นของจักรวรรดิจีน และเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ดังกล่าว เสวยราชย์ช่วง 202–195 ปีก่อนคริสตกาล นับเป็นหนึ่งในปฐมกษัตริย์จีนไม่กี่พระองค์ที่มาจากครอบครัวรากหญ้า ก่อนเข้าสู่อำนาจ หลิว ปัง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฉิน ทำหน้าเป็นนายด่านที่บ้านเกิดในเทศมณฑลเพ่ย์ (沛縣) แห่งรัฐฉู่ (楚国) ที่ถูกราชวงศ์ฉินยึดครอง เมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้ (秦始皇帝) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฉิน สิ้นพระชนม์ และจักรวรรดิฉิน (秦朝) ตกอยู่ในความวุ่นวายทางการเมือง หลิว ปัง ละทิ้งตำแหน่งราชการเข้าร่วมกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉิน จนสามารถบีบให้จื่ออิง (子嬰) ผู้นำคนสุดท้ายของราชวงศ์ฉิน ยอมจำนนได้เมื่อ 206 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อสิ้นราชวงศ์ฉินแล้ว เซี่ยง อฺวี่ (項羽) ผู้นำกบฏ แบ่งดินแดนฉินออกเป็นสิบแปดส่วน ให้หลิว ปัง เป็น "ราชาฮั่น" (漢王) ไปครองภูมิภาคปาฉู่ (巴蜀) อันห่างไกลและกันดาร หลิว ปัง จึงนำทัพต่อต้านเซี่ยง อฺวี่ และสามารถยึดภูมิภาคฉินทั้งสาม (三秦) ไว้ได้ นำไปสู่สงครามกลางเมืองที่เรียกว่า "สงครามฉู่–ฮั่น" (楚漢戰爭) ครั้น 202 ปีก่อนคริสตกาล หลังเกิดยุทธการไกเซี่ย (垓下之戰) หลิว ปัง มีชัยในการชิงอำนาจ จึงสามารถรวบดินแดนจีนส่วนใหญ่ไว้ในกำมือ เขาก่อตั้งราชวงศ์ฮั่น มีตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรก ใช้พระนาม "ฮั่นเกาจู่" รัชสมัยฮั่นเกาจู่มีการลดหย่อนภาษี ส่งเสริมลัทธิขงจื๊อ และปราบปรามกบฏเจ้าประเทศราชต่าง ๆ ฮั่นเกาจู่ยังริเริ่มนโยบายที่เรียก "วิวาห์สันติ" (和親) เพื่อสร้างความปรองดองกับกลุ่มซฺยงหนู (匈奴) หลังพ่ายแพ้ในยุทธการไป๋เติง (白登之戰) เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล ครั้น 195 ปีก่อนคริสตกาล ฮั่นเกาจู่สวรรคต พระโอรส คือ หลิว อิ๋ง (劉盈) สืบตำแหน่งต่อ ใช้พระนามว่า "ฮั่นฮุ่ย" (汉惠).

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิฮั่นเกาจู่

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิผู่อี๋

จักรพรรดิจิ้นฮุ่ย

มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นฮุ่ยตี้ (ค.ศ. 290 - ค.ศ. 307, พ.ศ. 833 - พ.ศ. 850)เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจิ้นหวู่ตี้ประสูติเมื่อปี พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิจิ้นฮุ่ย

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิจีน

จักรพรรดิถังรุ่ยจง

มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิถังรุ่ยจง

จักรพรรดิถังซู่จง

มเด็จพระจักรพรรดิซู่จง (ค.ศ. 711-762) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลี่เฮิง (李亨) ประสูติเมื่อปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิถังซู่จง

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิถังไท่จง

จักรพรรดิถังเกาจู่

มเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจู่ มีพระนามเดิมว่า หลี่ยวน (李淵) ประสูติเมื่อปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิถังเกาจู่

จักรพรรดิถังเสฺวียนจง

thumb จักรพรรดิถังเสฺวียนจง (ค.ศ. 685–762) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ถัง เป็นโอรสในจักรพรรดิถังรุ่ยจง มีพระนามเดิมว่า หลี่หลงจี ภายหลังรัชกาลของบูเช็กเทียน สภาพการเมืองภายในราชสำนักปั่นป่วนวุ่นวาย เนื่องจากถังจงจงอ่อนแอ อำนาจทั้งมวลตกอยู่ในมือของเหวยฮองเฮา(韦皇后)ที่คิดจะยิ่งใหญ่ได้เช่นเดียวกับบูเช็กเทียน เหวยฮองเฮาหาเหตุประหารรัชทายาท จากนั้นในปี 710 วางยาพิษสังหารถังจงจง โอรสองค์ที่สามของถังรุ่ยจง นามหลี่หลงจี(李隆基)ภายใต้การสนับสนุนขององค์หญิงไท่ผิง(太平公主)ชิงนำกำลังทหารบุกเข้าวังหลวงสังหารเหวยฮองเฮาและพวก ภายหลังเหตุการณ์องค์หญิงไท่ผิงหนุนถังรุ่ยจงขึ้นครองราชย์ แต่งตั้งหลี่หลงจีเป็นรัชทายาท แต่แล้วองค์หญิงไท่ผิงพยายามเข้ากุมอำนาจเบ็ดเสร็จ แต่เกิดขัดแย้งกับรัชทายาทหลี่หลงจี ปี 712 ถังรุ่ยจงสละราชย์ให้กับโอรส หลี่หลงจีเมื่อขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า ถังเสวียนจง (唐玄宗) สิ่งแรกที่กระทำคือกวาดล้างขุมกำลังขององค์หญิงไท่ผิง นำพาสันติสุขกลับคืนมาอีกครั้ง ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิถังเสฺวียนจง

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิคังซี

จักรพรรดิเจียชิ่ง

มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิเจียชิ่ง

จักรพรรดิเฉียนหลง

มเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง (จักรพรรดิชิงเกาจง) (เฉียนหลง) จักรพรรดิองค์ที่ 6 ของราชวงศ์ชิง ประสูติเมื่อ ปี พ.ศ. 2254 (ค.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจักรพรรดิเฉียนหลง

จิ๋นซีฮ่องเต้

ฉินฉื่อหฺวังตี้ ตามสำเนียงกลาง หรือ จิ๋นซีฮ่องเต้ ตามสำเนียงอื่น (260–210 ก่อนคริสตกาลWood, Frances. (2008). China's First Emperor and His Terracotta Warriors, pp.

ดู ไท่ช่างหฺวังและจิ๋นซีฮ่องเต้

ซือหม่า หลุน

ซือหม่า หลุน (Sima Lun) (ก่อน ค.ศ. 249 - 5 มิถุนายน ค.ศ. 301) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จิ้นตะวันตก ทรงเป็นบุตรชายของสุมาอี้ กุนซือคนสำคัญของฝ่ายวุยก๊กในสมัยสามก๊ก สันนิษฐานว่าทรงประสูติก่อน..

ดู ไท่ช่างหฺวังและซือหม่า หลุน

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ดู ไท่ช่างหฺวังและซูสีไทเฮา

แทซังวัง

แทซังวัง (Taishang Wang) พระอิสริยยศของเกาหลีที่ใช้เรียกกษัตริย์ที่สละราชบัลลังก์หรือถูกปลดออกจากราชบัลลังก์แล้วเช่นเดียวกับ ไท่ช่างหฺวัง ของจีนและ ไดโจเท็นโน ของญี่ปุ่นโดยกษัตริย์พระองค์แรกที่ได้รับพระอิสริยยศนี้คือ พระเจ้าอู กษัตริย์องค์ที่ 31 แห่ง ราชวงศ์โครยอ เมื่อ..

ดู ไท่ช่างหฺวังและแทซังวัง

ไจ้เฟิง

ฉุนชินหวัง ซึ่งมีพระนามเดิมว่าไจ้เฟิง (12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1883 – 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1951) เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ของเจ้าชายอี้เซฺวียนกับพระชายาหลิว พระองค์เป็นพระอนุชาต่างพระชนนีของจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นพระบิดาของจักรพรรดิผู่อี๋.

ดู ไท่ช่างหฺวังและไจ้เฟิง

ไดโจเท็นโน

ักรพรรดิองค์ล่าสุดที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นไดโจเท็นโน ไดโจเท็นโน หรือ ดาโจเท็นโน (太上天皇 Daijō Tennō, Dajō Tennō แปลตรงตัวว่า มหาจักรพรรดิ) เป็นพระอิสริยยศของจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชสมบัติ (พระเจ้าหลวง) ตามประมวลกฎหมายไทโฮ ไดโจเท็นโนยังสามารถใช้พระราชอำนาจบางประการของกษัตริย์ได้ การใช้อำนาจเช่นนี้ปรากฏครั้งแรกในสมัยจักรพรรดินีจิโตเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 ไดโจเท็นโนที่ผนวชจะได้รับสมัญญาว่า ไดโจโฮโอ (มหาธรรมราชา) การออกผนวชดังกล่าวประพฤติกันมากในยุคเฮอัง พระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นที่เป็นไดโจเท็นโนแล้วยังใช้พระราชอำนาจกษัตริย์อยู่เป็นพระองค์ล่าสุด คือ จักรพรรดิโคกะก.

ดู ไท่ช่างหฺวังและไดโจเท็นโน

เหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่

หตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่ เหตุการณ์ที่สำคัญครั้งหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน โดยเกิดขึ้นในช่วงต้น ราชวงศ์ถัง เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

ดู ไท่ช่างหฺวังและเหตุการณ์ประตูเสฺวียนอู่

เจียง เจ๋อหมิน

เจียง เจ๋อหมิน (ภาษากวางตุ้ง, อักษรโรมัน: gong1 zaak6 man4) เกิดวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) เป็นบุคคลหลักของ "ผู้นำรุ่นที่สาม" ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ระหว่าง พ.ศ.

ดู ไท่ช่างหฺวังและเจียง เจ๋อหมิน

เจ้าหญิงไท่ผิง

องค์หญิงไท่ผิง (ค.ศ. 665 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 713) เป็นพระธิดาในจักรพรรดินีบูเช็กเทียนและจักรพรรดิถังเกาจงและเป็นพระขนิษฐาในจักรพรรดิถังจงจงและจักรพรรดิถังรุ่ยจงเมื่อพระราชมารดาสวรรคตในปี..

ดู ไท่ช่างหฺวังและเจ้าหญิงไท่ผิง

เติ้ง เสี่ยวผิง

ติ้ง เสี่ยวผิง (22 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นผู้เปลี่ยนแปลงพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และดำรงตำแหน่งผู้นำสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงต้นทศวรรษ 2520 ถึง..

ดู ไท่ช่างหฺวังและเติ้ง เสี่ยวผิง

ดูเพิ่มเติม

ฐานันดรศักดิ์จีน

ประวัติศาสตร์จักรวรรดิจีน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Taishang Huangไท่ช่างหวังไท่ซ่างหวง