4 ความสัมพันธ์: สนามแม่เหล็กอุณหภูมิวิกฤตแม่เหล็กไดอาแบบสมบูรณ์แม็กเลฟ
สนามแม่เหล็ก
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf.
ใหม่!!: ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และสนามแม่เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »
อุณหภูมิวิกฤต
อุณหภูมิวิกฤต (critical temperature) คืออุณหภูมิที่โลหะมีสภาพนำไฟฟ้ายวดยิ่ง เมื่อลดอุณหภูมิของตัวนำยวดยิ่ง ค่าความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นศูนย์อย่างทันทีทันใด ซึ่งเป็นสมบัติเบื้องต้นของตัวนำยวดยิ่งทุกประเภทและเป็นที่มาของชื่อตัวนำยวดยิ่ง หรือ superconductor ด้ว.
ใหม่!!: ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และอุณหภูมิวิกฤต · ดูเพิ่มเติม »
แม่เหล็กไดอาแบบสมบูรณ์
แม่เหล็กไดอาแบบสมบูรณ์ (The complete diamagnetic) การที่ในสารแม่เหล็กมีการต่อต้านกับสนามแม่เหล็กภายนอกอย่างสมบูรณ์ อำนาจของแม่เหล็กภายในมีทิศที่ตรงกันข้ามกับทิศของสนามแม่เหล็กภายนอก สารแม่เหล็กแบบนี้เรียกว่า สารแม่เหล็กไดอา(Diamagnetism) การตรวจสอบว่าวัตถุมีสารแม่เหล็กไดอา ซึ่งดูจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนโดยที่อิเล็กตรอนเข้าคู่ครบตามเลขควอนตัมแสดงว่าเป็นสารแม่เหล็กไดอา.
ใหม่!!: ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และแม่เหล็กไดอาแบบสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »
แม็กเลฟ
http://en.wikipedia.org/wiki/Transrapid Transrapid รถไฟพลังแม่เหล็ก รุ่นแรกของโลก โดยเยอรมนี http://en.wikipedia.org/wiki/JR-Maglev JR-Maglev รถไฟพลังแม่เหล็กเซี่ยงไฮ้ของจีน ที่พัฒนาโดยเยอรมัน ขณะจอดอยู่ที่ชานชาลา รถไฟแบบ Maglev หรือ (magnetically levitating (maglev)) เป็นระบบการขนส่งรูปแบบหนึ่งที่ใช้แรงยกตัวของแม่เหล็กไฟฟ้า ให้ตัวยานพาหนะลอยขึ้นเหนือรางวิ่งแทนการใช้ล้อ, เพลาหรือลูกปืนลดความเสียดทาน.
ใหม่!!: ปรากฏการณ์ไมสเนอร์และแม็กเลฟ · ดูเพิ่มเติม »