โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกียวโต (นคร)

ดัชนี เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

80 ความสัมพันธ์: ชิงกันเซ็งฟุกุโอะกะพ.ศ. 2412พ.ศ. 2432พ.ศ. 2499พ.ศ. 2537พิธีสารเกียวโตการรถไฟญี่ปุ่นกิโมโนภูมิภาคของญี่ปุ่นมรดกโลกมหาวิทยาลัยเคียวโตะยุคเฮอังรัฐบาลโชกุนอาชิกางะรัฐบาลโชกุนคะมะกุระรัฐบาลเอโดะราชวงศ์ถังรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรถไฟฟ้าเคฮังรถไฟฮันกีวรถไฟคินเตะสึวัดกิงกะกุวัดคิงกะกุวัดคิโยะมิซุวัดนิชิฮงงันวัดนินนะวัดโทวัดไดโงะวัดไซโฮวัดเบียวโดวัดเรียวอังวัดเอ็นเรียะกุวัดเท็นรีวศาลเจ้าคะมิงะโมะศาลเจ้าคะโมะศาลเจ้าเฮอังสำเนียงคันไซสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโอนินอะระชิยะมะอาวุธนิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณฮวงจุ้ย (ศาสตร์)ฮิโระชิมะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิคัมมุจังหวัดของประเทศญี่ปุ่นจังหวัดโอซากะ...จังหวัดเกียวโตท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะคันไซคามากูระคิตะกีวชูฉางอานซัปโปโระประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประเทศญี่ปุ่นปราสาทนิโจนางาซากินาโงยะนินเท็นโดนครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่นโยโกฮามะโอซากะโทกูงาวะ อิเอยาซุโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโทไกโดชิงกันเซ็งโคเบะโตเกียวเชอร์รีเกอิชาเกาะฮนชูเวลามาตรฐานญี่ปุ่นเทคโนโลยีสารสนเทศเคฮันชิง1 กันยายน1 เมษายน ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฟุกุโอะกะ

ฟุกุโอะกะ (福岡) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และฟุกุโอะกะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสารเกียวโต

ีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) กำหนดพันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก UNFCCC เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบรรลุ "เสถียรภาพความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะป้องกันการรบกวนอันตรายจากน้ำมือมนุษย์กับระบบภูมิอากาศ" พิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 ในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 จนถึงเดือนกันยายน 2554 มี 191 รัฐลงนามและให้สัตยาบันพิธีสารฯ สหรัฐอเมริกาลงนามแต่มิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ และแคนาดาถอนตัวจากพิธีสารฯ ในปี 2554 รัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นซึ่งมิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ ได้แก่ อัฟกานิสถาน อันดอร์ราและเซาท์ซูดาน ภายใต้พิธีสารฯ 37 ประเทศอุตสาหกรรม และประชาคมยุโรปในขณะนั้น ("ภาคีภาคผนวกที่ 1") ผูกมัดตนเองให้จำกัดหรือลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสี่ชนิด (คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์และซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์) และแก๊สสองกลุ่ม (ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนและเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน) รัฐสมาชิกทุกรัฐให้พันธกรณีทั่วไป การจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกนี้ไม่รวมการปล่อยจากการบินและการเดินเรือระหว่างประเทศ ที่การเจรจา ประเทศภาคผนวกที่ 1 ตกลงร่วมกันจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.2 ในระยะปี 2551-2555 เป็นสัดส่วนกับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อปีในปีฐาน ซึ่งโดยปกติใช้ปี 2533 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามิได้ให้สัตยาบันในสนธิสัญญา การปล่อยแก๊สเรือนกระจกร่วมกันของประเทศภาคผนวกที่ 1 พิธีสารเกียวโตลดลงจากต่ำกว่าปีฐานร้อยละ 5.2 เหลือร้อยละ 4.2 PBL publication number 500253004.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และพิธีสารเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟญี่ปุ่น

การรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือที่รู้จักกันดีว่า JNR เคยเป็นผู้ให้บริการเครือข่ายรถไฟทั่วประเทศญี่ปุ่น ระหว่างปี พ.ศ. 2492 ถึง พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และการรถไฟญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กิโมโน

วาดกิโมโน กิโมโน เป็นชุดแต่งกายโบราณของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และกิโมโน · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาคของญี่ปุ่น

ูมิภาคในประเทศญี่ปุ่น มิได้มีสถานะเป็นหน่วยการปกครองอย่างเป็นทางการ แต่มีการใช้สืบเนื่องกันมาเป็นแผนกหนึ่งในการจำแนกพื้นที่ของประเทศญี่ปุ่นไปตามแต่บริบท ยกตัวอย่างเช่น แผนที่และตำราภูมิศาสตร์ในญี่ปุ่นจะแบ่งเป็นแปดภูมิภาค, การรายงานสภาพอากาศมักจะรายงานตามภูมิภาค ตลอดจน หน่วยธุรกิจและสถาบันการศึกษาจำนวนมากก็ใช้ชื่อภูมิภาคของเขาเป็นส่วนหนึ่งของชื่อองค์กร จากเหนือจรดใต้ ภูมิภาคตามจารีตของญี่ปุ่นประกอบด้ว.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และภูมิภาคของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ หรือเรียกย่อว่า เคียวได เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับที่ 2 ของประเทศญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 22,000 คน มหาวิทยาลัยเคียวโตะก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) ที่เมืองเคียวโตะ ในจังหวัดเคียวโตะ มหาวิทยาลัยเคียวโตะมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับ โดยมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งเช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยโตเกียวซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงแห่งย่านคันโต หอนาฬิกา มหาวิทยาลัยเคียวโต.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และมหาวิทยาลัยเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และยุคเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรัฐบาลโชกุนอาชิกางะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ

รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ (鎌倉幕府 Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรัฐบาลโชกุนคะมะกุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าเคฮัง

ริษัทรถไฟฟ้าเคฮัง จำกัด เป็นผู้ให้บริการรถไฟในจังหวัดโอซะกะ จังหวัดเคียวโตะ และจังหวัดชิงะ ในประเทศญี่ปุ่น เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "เคฮัง" (京阪) หรือ "เคฮังเด็นเทะสึ" (京阪電鉄) หรือ "เคฮังเด็นชะ" (京阪電車).

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรถไฟฟ้าเคฮัง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฮันกีว

รถไฟฮันกีว หรือ ฮันกีวเด็นเทะสึ (阪急電鉄) เป็นบริษัทรถไฟเอกชนของประเทศญี่ปุ่น ให้บริการรับส่งผู้โดยสารประจำทางและระหว่างเมืองในเขตภูมิภาคคันไซทางตอนเหนือ และเป็นธุรกิจหลักธุรกิจหนึ่งของบริษัทฮันกีวฮันชิงโฮลดิ้ง สถานีหลักของรถไฟฮันกีวอยู่ที่สถานีอุเมะดะในเมืองโอซะกะ สีประจำรถไฟคือสีน้ำตาลแดง เครือข่ายรถไฟฮันกีวให้บริการผู้โดยสาร 1,950,000 คนต่อวันในวันปกติ และมีรถไฟด่วนหลายประเภทให้บริการโดยไม่คิดค่าบริการเพิ่ม สำนักงานใหญ่ของบริษัทฮันกีวฮันชิงโฮลดิ้งและบริษัทรถไฟฮันกีวอยู่ที่ 1-16-1 ชิบะตะ เขตคิตะ โอซะก.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรถไฟฮันกีว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟคินเตะสึ

นเตะสึ หรือชื่อเต็มคือ บริษัท รถไฟคิงกิ นิปปง มหาชนจำกัด เป็นบริษัทเอกชนให้บริการรถไฟในประเทศญี่ปุ่น เป็นบริษัทรถไฟที่ไม่ได้อยู่ในเครือเจอาร์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการรับส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง โอซะกะ เคียวโตะ นะระ นะโงะยะ สึ อิเสะ คินเตะสึยังมีธุรกิจท่องเที่ยว อสังหาริมทรัพย์ และห้างสรรพสินค้า และยังเป็นผู้ผลิตรถไฟราง (คิงกิ ชาร์โย) ที่นำไปให้บริการเป็นรถไฟในญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา อียิปต์ และฮ่องกง.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และรถไฟคินเตะสึ · ดูเพิ่มเติม »

วัดกิงกะกุ

วัดกิงกะกุ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ วัดจิโช เป็นวัดในเขตซะเกียว นครเคียวโตะ สร้างขึ้นโดยโชกุนอะชิกะงะ โยะชิมะซะ ในสมัยยุคมุโระมะชิเมื่อ..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดกิงกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดคิงกะกุ

วัดคิงกะกุ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดโระกุอง ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ จังหวัดเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น มีศาลาทองเป็นจุดเด่นของวัด แรกเริ่มศาลาทองสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1940 เพื่อเป็นที่พักของโชกุนอะชิกะงะ โยะชิมิสึ ต่อมาผู้เป็นบุตรชายได้เปลี่ยนแปลงให้เป็นวัดนิกายเซนสำนักรินไซ วัดถูกเผาทำลายหลายครั้งในระหว่างสงครามโอนิง ศาลาทองแห่งนี้เป็นแรงบันดาลใจให้หลานของโยะชิมิสึสร้างวัดอีกแห่งหนึ่ง ชื่อว่า วัดกิงกะกุ ปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดคิงกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดคิโยะมิซุ

วัดคิโยะมิซุ ตั้งอยู่บนเขาโอะโตะวะ ทางตะวันออกของนครเคียวโตะ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองเคียวโตะ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เคียวโตะโบราณ (Historic Monuments of Ancient Kyoto) ซึ่งเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก อาคารหลักของวัดคิโยะมิซุได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสมบัติประจำชาติญี่ปุ่น ชื่อของวัดซึ่งมีความหมายว่าน้ำบริสุทธิ์ มีที่มาจากน้ำตกที่ไหลผ่านเนินเขาลงมาบริเวณวัด ตำนานการสร้างวัดคิโยะมิซุกล่าวว่า ในค.ศ. 776 พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อว่า เค็งชิน ซึ่งจำวัดอยู่ที่นครนาระ ฝันว่ามีชายชราคนหนึ่ง บอกว่าให้พระภิกษุเค็งชินเดินทางออกจากนครนาระไปทางเหนือ เพื้อค้นหาน้ำตกซึ่งมีน้ำที่ใสสะอาด พระภิกษุเค็งชินจึงออกจากนครนาระเดินทางไปทางเหนือ จนไปถึงเขาโอะโตะวะค้นพบน้ำตกซึ่งมีน้ำที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ และพบกับพระภิกษุอีกรูปหนึ่งชื่อว่า เกียวเอโกะจิ พระภิกษุเกียวเอโกะจิได้แจ้งแก่พระภิกษุเค็งชินว่า เขาโอโตะวะและน้ำตกน้ำใสแห่งนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่กวนอิม และจงแกะสลักต้นไม้ให้เป็นรูปเซ็งจู คันนง หรือ เจ้าแม่กวนอิมพันมือ จากนั้นพระภิกษุเกียวเอโกะจิก็หายตัวไปอย่างไร้ร่องรอย พระภิกษุเค็งชินเข้าใจว่าพระภิกษุเกียวเอโกะจิคือเจ้าแม่กวนอิมจำแลงกายมา จึงแกะสลักต้นไม้เป็นรูปเจ้าแม่กวนอิมพันมือ และจำวัดอยู่บนเขาโอะโตะวะนั้น อีกสองปีต่อมาค.ศ. 778 ซะมุไรชื่อว่าซะกะโนะอุเอะ โนะ ทะมุระมะโระ เดินทางมาเพื่อล่าสัตว์ยังเขาโอะโตะวะ ได้พบกับพระภิกษุเค็งชินซึ่งได้ร้องขอให้ซะกะโนะอุเอะหยุดการปาณาติบาตในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่กวนอิมพันมือ และเทศนาพระธรรมคำสอนให้แก่ซะกะโนะอุเอะ ซะกะโนะอุเอะมีความประทับใจในพระธรรมคำสอนและปฏิหาริย์ขององค์เจ้าแม่กวนอิมพันมือ จึงสร้างวัดประดิษฐานรูปเจ้าแม่กวนอิมพันมือที่แกะสลักจากไม้ไว้เพื่อเป็นการบูชา และตั้งชื่อวัดว่า วัดคิโยะมิซุ แปลว่า วัดที่มีน้ำใสสะอาดบริสุทธิ์ ตลอดประวัติศาสตร์การก่อตั้งวัด หนึ่งพันสองร้อยปีของวัดคิโยะมิซุนั้น วัดคิโยะมิซุสังกัดนิกายฮสโซ หรือนิกายโยคาจาร และอยู่ภายใต้การปกครองของวัดโคฟุกุเมืองนาระอันเป็นวัดศูนย์กลางของนิกายฮสโซ จนกระทั่งค.ศ. 1965 วัดคิโยะมิซุได้แยกออกมาตั้งนิกายของตนเอง เรียกว่า นิกายคิตะฮสโซ หรือ นิกายฮสโซเหนือ อาคารหลักของวัดคิโยะมิซุเป็นที่รู้จักจากระเบียงขนาดใหญ่สูง 13 เมตร มีเสาไม้กว่าร้อยต้นรองรับ สร้างยื่นออกจากด้านข้างของเนินเขา จากระเบียงนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ที่สวยงามของเมืองเกียวโตะได้ วลีที่กล่าวว่า "กระโดดจากระเบียงวัดคิโยะมิซุ" ซึ่งหมายความว่า ตัดสินใจกะทันหัน หรือกล้าตัดสินใจ วลีนี้มีที่มาจากความเชื่อในสมัยเอะโดะที่ว่า หากผู้ใดสามารถกระโดดจากระเบียงวัดแล้วสามารถรอดชีวิตได้ ความปรารถนาของผู้นั้นจะสัมฤทธิ์ผล คำอธิบายที่น่าจะเป็นไปได้ในการรอดชีวิตจากการกระโดดระเบียงคือ ด้านล่างของระเบียงมีต้นไม้ขึ้นอยู่หนาแน่น ซึ่งอาจจะชะลอแรงจากการตกได้บ้าง ในปัจจุบันทางวัดห้ามมิให้มีการกระโดดระเบียง แต่ในสมัยเอโดะมีการบันทึกไว้ว่า มีผู้มากระโดดถึง 234 คน และรอดชีวิตได้คิดเป็นร้อยละ 85.4 ของทั้งหมด ข้างใต้อาคารหลักคือ น้ำตกโอตะวะ ซึ่งเป็นสายน้ำ 3 สายไหลลงสู่บ่อน้ำ ผู้มาเยี่ยมชมวัดมักจะมาดื่มน้ำจากน้ำตกนี้ด้วยถ้วยโลหะ ด้วยความเชื่อว่าสามารถบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ และยังเชื่อกันว่าการดื่มน้ำจากสายน้ำตกทั้ง 3 นี้ มีความหมายถึงสุขภาพ ความรัก และความสำเร็จในการศึกษา ภายในบริเวณวัดเป็นที่ตั้งของศาลเจ้าอื่นๆจำนวนมาก ที่เป็นที่รู้จักดีคือ ศาลเจ้าจิชู (Jishu-jinja) ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อสักการะเทพโอะคุนินุชิโนะ มิโกะโตะ (Okuninushino Mikoto) เทพแห่งความรักและเนื้อคู่ ภายในศาลเจ้ามี"ก้อนหินแห่งความรัก" 2 ก้อน ตั้งอยู่ห่างกัน 18 เมตร เชื่อกันว่า หากสามารถหลับตาเดินจากก้อนหินก้อนหนึ่งไปยังอีกก้อนหนึ่งได้ จะสมปรารถนาในความรัก วัดคิโยมิซุเป็นสถานที่ที่มีผู้มาเยี่ยมชมมากที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัด จึงมีพ่อค้านำสินค้ามาขายในบริเวณวัดมากมาย สินค้าส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องราง เครื่องหอม ธูป เทียน หรือกระดาษเสี่ยงทายโชคชะต.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดคิโยะมิซุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดนิชิฮงงัน

วัดนิชิฮงงัน หรือ วัดฮงงันตะวันตก เป็นหนึ่งในสองวัดพุทธของสำนักโจโดชินชูในนครเคียวโตะ อีกวัดหนึ่งคือ วัดฮิงะชิฮงงัน (วัดฮงงันตะวันออก) วัดแห่งนี้ถูกจัดตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดนิชิฮงงัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดนินนะ

วัดนินนะ วัดในพระพุทธศาสนานิกายชิงงงที่ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดนินนะ · ดูเพิ่มเติม »

วัดโท

ีย์ห้าชั้นแห่งวัดโท วัดโท เป็นวัดพุทธในสายชินงอน ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ ชื่อของวัดมีความหมายว่า วัดตะวันออก ในอดีตเคยมีวัดไซจิ หรือวัดตะวันตก อยู่เป็นคู่กัน ทั้งสองวัดนี้ตั้งอยู่ข้างประตูราโช ซึ่งเป็นประตูเมืองของเมืองหลวงเฮย์อัน มีชื่อที่เป็นที่รู้จักอย่างเป็นทางการว่า Kyō-ō-gokoku-ji ชื่อนี้บ่งชี้ว่าในอดีตเป็นวัดที่สร้างขึ้นเพื่อให้คอยปกป้องคุ้มครองประเทศชาติ วัดโทนี้ตั้งอยู่ในเขตมินามิ ใกล้กับทางแยกที่ถนนโอมิยะตัดกับถนนคุโจ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสถานีรถไฟเกียวโต วัดโทสร้างขึ้นเมื่อปี 796 สองปีหลังจากที่ย้ายเมืองหลังมายังเฮย์อัน หรือเกียวโตในปัจจุบัน ในปี 823 พระโคโบะ ไดชิ หรือคุไค ได้เข้ามาดำเนินการต่อเติมและพัฒนาวัดตามพระบัญชาของจักรพรรดิซางะ พระประธานของวัดคือ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภา (Yakushi Nyorai) หรือพระพุทธเจ้าหมอ อาคารโบราณในวัดโท พระไภษัชยคุรุ พระไวโรจนพุทธะ พระอมิตาภพุทธะ ไตรโลกยวิชยะ 150px ยมานตกะ ท้าวเวสวัณ พระโพธิสัตว์ เจดีย์ของวัดโทมีความสูง 57 เมตร จัดว่าเป็นอาคารไม้ที่สูงที่สุดในญี่ปุ่น ประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปได้ตั้งแต่สมัยเอโดะ เมื่อครั้งที่เจดีย์ถูกสร้างขึ้นใหม่ตามคำสั่งของอิเอมิตสึ โชกุนรุ่นที่ 3 แห่งตระกูลโทคุงาวะ ปัจจุบันเจดีย์นี้เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของเมืองเกียวโต ทางเข้าสู่ภายในเจดีย์จะเปิดให้เข้าชมเพียงไม่กี่วันในแต่ละปี อาคารต่างๆของวัดโทเป็นสถานที่เก็บรักษาพระพุทธรูปโบราณจำนวนมาก ในลานวัดมีสวนหย่อมและสระน้ำที่เลี้ยงเต่าและปลาคาร์ปไว้ และยังมีโรงเรียนราคุนัน ซึ่งดำเนินการโดยทางวัดเอง นักเรียนจากที่นี่สามารถเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชั้นนำเป็นจำนวนมาก จากความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเป็นศูนย์กลางแห่งจิตวิญญาณ องค์การยูเนสโกจึงขึ้นทะเบียนวัดโทให้เป็นมรดกโลก พร้อมกับสถานที่อื่นๆในเมืองเกียวโต ในวันที่ 21 ของทุกเดือน ในลานวัดจะมีการจัดเป็นตลาดนัด มีชื่อเรียกกันว่า โคโบะซัน (Kobo-san) เพื่อระลึกถึงพระโคโบะ ไดชิ ซึ่งมรณภาพในวันที่ 21 มีนาคม ตลาดนัดนี้จำหน่ายสินค้าจำพวกของเก่า ผลงานศิลปะ เสื้อผ้า เครื่องปั้นดินเผา อาหาร และของใช้มือสองต่างๆ ตลาดนัดครั้งที่ใหญ่ที่สุดจะจัดขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของปี ในลานวัดโทจะมีจัดตลาดขายของเก่าที่มีขนาดเล็กกว่าโคโบะซัน โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของแต่ละเดือน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดโท · ดูเพิ่มเติม »

วัดไดโงะ

วัดไดโงะ เป็นวัดพุทธชิงงง ในเขตฟุชิมิ ของนครเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชาแก่ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต พระพุทธเจ้าของนิกายมหายาน พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ วัดไดโงะสร้างในตอนต้นของยุคเฮอัง ในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

วัดไซโฮ

วัดไซโฮ เป็นวัดนิกายเซนของสำนักรินไซ ตั้งอยู่ในเขตนิชิเกียว นครเคียวโตะ วัดแห่งนี้มีสวนมอสที่มีชื่อเสียง ทำให้มีฉายาว่า วัดมอส (苔寺 โคะเกะ เดะระ) วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในยุคนะระเพื่อเป็นพุทธบูชาต่อพระอมิตาภพุทธะ วัดไซโฮถูกเพลิงไหม้วอดในสงครามโอนินระหว่างปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดไซโฮ · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบียวโด

ลาหงส์ วัดเบียวโด วัดเบียวโด ตั้งอยู่ในเมืองอุจิ จังหวัดเคียวโตะ สร้างขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดเบียวโด · ดูเพิ่มเติม »

วัดเรียวอัง

วัดเรียวอัง เป็นวัดของพุทธศาสนานิกายเซน สำนักรินไซ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของนครเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ภายในวัดยังมีลานสวนหินที่มีชื่อเสียงอย่างมากที่เรียกว่า คะเซะ-ซันซุย ซึ่งเป็นการจัดสวนแบบหนึ่งของเซ็น ทั้งนี้ ตัววัดและสวน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ ที่มีสถานะเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก ที่ดินของวัดนี้ เดิมทีเป็นที่ดินของตระกูลฟุจิวะระ ในพุทธศตวรรษที่ 16 โดยวิหารหลังแรก (ปัจจุบันไม่มีอยู่) และบ่อน้ำขนาดใหญ่ถูกสร้างโดยฟุจิวะระ ซะเนะโยะชิ มหาเสนาบดีฝ่ายขวา ต่อม..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดเรียวอัง · ดูเพิ่มเติม »

วัดเอ็นเรียะกุ

วัดเอ็นเรียะกุ เป็นวัดพุทธนิกายเท็นได ตั้งอยู่บนเขาเฮเอในเมืองโอสึ ไม่ไกลจากนครเกียวโต ก่อตั้งในต้นยุคเฮอังโดยภิกษุไซโช ซึ่งนำศาสนาพุทธมหายานนิกายเทียนไถจากจีนมาเผยแพร่ในญี่ปุ่นโดยได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิคัมมุ และกลายเป็นวัดต้นสังกัดของวัดนิกายเท็นไดในญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในวัดสำคัญที่สุดทางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ยุคมุโระมะชิถือเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของนิกายเท็นได โดยวัดเอ็นเรียะกุมีวัดสาขาอยู่มากกว่า 3,000 แห่งทั่วญี่ปุ่นและมีกองทัพภิกษุ (僧兵 โซเฮ) ที่ทรงอิทธิพลเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้ ขุนพล โอะดะ โนะบุนะงะ ผู้ต้องการพิชิตศัตรูและผนวกญี่ปุ่นให้เป็นปึกแผ่น ได้โจมตีและทำลายวัดเอ็นเรียะกุอย่างสิ้นซากและสังหารภิกษุจำนวนมากในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดเอ็นเรียะกุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดเท็นรีว

วัดเท็นรีว หรือ วัดมังกรสวรรค์ เป็นวัดเอกของนิกายเซน สำนักรินไซ สาขาเท็นรีว ตั้งอยู่ในเขตอุเกียว ในนครเคียวโตะ วัดนี้ถูกสร้างขึ้นโดยอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ปฐมโชกุนแห่งอะชิกะงะ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และวัดเท็นรีว · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าคะมิงะโมะ

ลเจ้าคะมิงะโมะ ศาลเจ้าคะมิงะโมะ หรือชื่อทางการคือ ศาลเจ้าคะโมะวะเกะอิกะซุชิ เป็นศาลเจ้าชินโตที่สำคัญ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำคะโมะทางตอนเหนือของเมืองเคียวโตะ สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และศาลเจ้าคะมิงะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าคะโมะ

ศาลเจ้าคะโมะ ศาลเจ้าที่มีความสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งใน ลัทธิชินโต ตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่น้ำคะมะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เคียวโตะ โดยแบ่งออกเป็นสองศาลเจ้าตั้งอยู่ทางตอนบนและตอนล่างของแม่น้ำคะโมะคือ ศาลเจ้าคะมิงะโมะ และ ศาลเจ้าชิโมะคะโมะ โดยทั้งสองศาลเจ้าเปรียบเสมือนเป็นประตูของเมืองหลวงเก่าอย่างเคียวโตะที่เรียกว่า ประตูปีศาจ เทียบได้กับ ประตูผี ของประเทศไทยแต่แตกต่างกันตรงที่ประตูผีของไทยเป็นการนำศพออกไปทิ้งแต่ประตูปีศาจของเคียวโตะเป็นประตูทางเข้าออกสำหรับปีศาจเพราะความเชื่อโบราณของชาวญี่ปุ่นถือว่าแม่น้ำคะโมะที่ไหลมาจากทางตะวันออกเฉียงเหนือเปรียบเสมือนการนำเหล่าปีศาจเข้าสู่เมือง หมวดหมู่:ศาลเจ้าชินโต หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในประเทศญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดเคียวโตะ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และศาลเจ้าคะโมะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าเฮอัง

ลเจ้าเฮอัง โทริอิของศาลเจ้าเฮอัง ศาลเจ้าเฮอัง เป็นศาลเจ้าชินโตในนครเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2438 โทะริอิของศาลเจ้าแห่งนี้เป็นโทะริอิที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และศาลเจ้าเฮอัง · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงคันไซ

ำเนียงคิงกิ คิงกิโฮ่เกง) หรือ สำเนียงคันไซ (関西弁 คันไซเบง) คือสำเนียงท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น ที่พูดกันในเขตภูมิภาคคันไซ หรือทางตะวันตกของประเทศ คนญี่ปุ่นส่วนมากจะนิยมเรียกว่า คันไซเบง มากกว่า คันไซเบงยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงถิ่นย่อยๆอีก คือ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และสำเนียงคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโอนิน

สงครามโอนิน (Ōnin War) สงครามกลางเมือง ระหว่าง ค.ศ. 1467 - ค.ศ. 1477 ในช่วง ยุคมุโระมะชิ อันเป็นต้นกำเนิดของ ยุคเซ็งโงะกุ สาเหตุของสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากความขัดแย้งเรื่องทายาททางการเมืองของโชกุน อะชิกะงะ โยะชิมะซะ ระหว่าง โฮะโซะกะวะ คะสึโมะโตะ ผู้ดำรงตำแหน่ง คันเร หรือผู้แทนโชกุนที่สนับสนุน อะชิกะงะ โยะชิมิ น้องชายของโชกุนโยะชิมะซะและ ยะมะนะ โซเซ็น พ่อตาของคะสึโมะโตะที่สนับสนุนบุตรชายคนเดียวของโชกุนโยะชิมะซะคือ อะชิกะงะ โยะชิฮิซะ ทำให้ทั้งสองฝ่ายรวบรวมกองทัพจากแคว้นต่าง ๆ ที่เป็นพันธมิตรเข้าสู้รบจนทำให้ นครหลวงเฮอัง หรือ นครหลวงเคียวโตะ ในปัจจุบันได้รับความเสียหายอย่างหนักประชาชนหลบหนีจากเมืองหลวงทำให้เฮอังกลายสภาพเป็นเมืองร้าง ในปี ค.ศ. 1469 โชกุนโยะชิมะซะตัดสินใจตั้งโยะชิฮิซะบุตรชายเป็นทายาททางการเมือง ถึงแม้โซเซ็นและคะสึโมะโตะจะเสียชีวิตทั้งคู่ในปี ค.ศ. 1473 แต่สงครามก็ยังดำเนินต่อไปจนกระทั่งทั้งสองฝ่ายยอมสงบศึกเมื่อปี ค.ศ. 1477 หมวดหมู่:ยุคเซงโงะกุ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และสงครามโอนิน · ดูเพิ่มเติม »

อะระชิยะมะ

ูเขาอะระชิ (อะระชิยะมะ) ขนานกับแม่น้ำโออิ สวนลิงอิวะตะยะมะ (หรือ อะระชิยะมะ มังกี้ ปาร์ค) ป่าไผ่ซะงะโนะ อะระชิยะมะ เป็นพื้นที่ชานเมืองทางตะวันตกของนครเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น พื้นที่บริเวณนี้เป็นทิวเขาขนานไปกับแม่น้ำโออิ ซึ่งมีทัศนียภาพที่งดงามและดึงดูดนักท่องเที่ยวได้จำนวนมาก นอกจากนี้ อะระชิยะมะ ยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของชาติญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และอะระชิยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธนิวเคลียร์

ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ

อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ (古都京都の文化財; Historic Monuments of Ancient Kyoto) เป็นแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในนครเกียวโต, เมืองอุจิ ของจังหวัดเกียวโต และเมืองโอสึ ของจังหวัดชิงะ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปีพ.ศ. 2537.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

ฮวงจุ้ย (อังกฤษ: Feng Shui ตัวย่อ: 风水 ตัวเต็ม: 風水 พินอิน: fēngshuǐ เฟิงสุ่ย IPA: /fɤŋ ʂueɪ/) หมายถึง สภาวะแวดล้อม หรือการอยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในคติของชาวจีน มีลักษณะใกล้เคียงสถาปัตยกรรมศาสตร์ คำว่า ฮวงจุ้ย มาจากคำว่า ลม(ฮวง)และ น้ำ(จุ้ย) ออกเสียงตามสำเนียง จีนแต้จิ๋ว ฮวงจุ้ย นี้อาศัยหลักการของการไหลเวียนของพลังงานบนผืนโลก (ชี่)โดยเปรียบให้เข้าใจได้ง่ายโดยการเปรียบเทียบกับธรรมชาติของไหลที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ธรรมชาติของลมและธรรมชาติของน้ำ ซึ่งนักพยากรณ์ฮวงจุ้ยที่ดีต้องอ่านพลังงานของชี่ และ แหล่งที่มาของชี่ให้ออก เพื่อเสริมการนำเข้า / ทำลายการปิดกั้น ให้ชี่ที่ดีสามารถเข้าได้ และ ถ่ายเทชี่ที่เสีย / ปิดกั้นไม่ให้ชี่ที่เสียสามารถเข้าสู่สถานที่ที่เราอยู่ได้ ศาสตร์นี้มาจากประเทศจีน ดังนั้นผู้ที่ศึกษาและอาจารย์มักจะมีเครื่องรางที่มาจากจีนมาใช้ในการแก้ ความเป็นจริงแล้ว การสร้างสภาพแวดล้อมตามหลักฮวงจุ้ยนั้น ไม่เหมือนกันเลยในแต่ละเขตของโลก สภาพภูมิอากาศคนละอย่าง ในเรื่องของพิธีกรรมจีนจึงมีบทบาทกับฮวงจุ้ย กับทุกประเทศซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณากัน ในเมืองไทย บ้านเรือนไทยสมัยก่อนจัดว่าถูกหลักของการจัดฮวงจุ้ยที่ถูกต้องในสภาพอากาศนี้ สำหรับในปัจจุบันบ้านเรือนไทยอาจจะไม่เหมาะ เนื่องจากราคาสูง ดังนั้นสถาปนิกที่มีต้องปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรม การจัดตามหลักฮวงจุ้ยนั้นมีการจัดเพื่อการณ์หลายอย่างตามการใช้งานที่เจ้าของอย่างให้เป็น ดังนั้นพื้นที่(space)กับอารมณ์(mood)มีส่วนสำคัญกับงานฮวงจุ้ย อารมณ์ของคน มีส่วนกับดวงชะตา วันเดือนปีเกิด และดวงดาวรวมถึง หลักเชิง จิตวิทยา หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม หมวดหมู่:วัฒนธรรมจีน หมวดหมู่:คำจีนแต้จิ๋ว หมวดหมู่:การทำนายดวงชะตา.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และฮวงจุ้ย (ศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระชิมะ

ระชิมะ หรือ ฮิโรชิม่า (広島) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และฮิโระชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคัมมุ

ักรพรรดิคัมมุ (Emperor Kammu) จักรพรรดิองค์ที่ 50 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิคัมมุครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 781 - ค.ศ. 806.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และจักรพรรดิคัมมุ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น แบ่งเขตการปกครองเป็น 47 เขตการปกครองระดับ "จังหวัด" หรือเรียกว่า "โทโดฟูเก็ง" (อังกฤษ: Prefectures) ได้แก.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และจังหวัดของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอซากะ

ลากลางจังหวัดโอซากะ จังหวัดโอซากะ เป็นส่วนหนึ่งของเขตแดนคันไซ ภูมิภาคคิงกิ เกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองเอกคือโอซากะ เป็นใจกลางของพื้นที่เคียวโตะ-โอซากะ-.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และจังหวัดโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกียวโต

ังหวัดเกียวโต เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะฮนชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือเมืองเกียวโต มีความสำคัญเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น มีโบราณวัตถุมากมาย มีชื่อในการทำผ้าไหมและแพร.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และจังหวัดเกียวโต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ

ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองอิตะมิ จังหวัดเฮียวโงะ และเมืองโทะโยะนะกะ จังหวัดโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น มักจะเรียกโดยทั่วกันว่า สนามบินอิตามิ เที่ยวบินส่วนมากของโอซากะจะเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ รองรับการจราจรภายในเขตคันไซ ส่วนเที่ยวบินระหว่างประเทศจะให้บริการอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

คันไซ

ันไซ หรือเรียก คิงกิ (近畿) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู โดยเขตคันไซประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ เฮียวโงะ เคียวโตะ โอซะกะ ชิงะ นะระ วะกะยะมะ และมิเอะ คันไซมีขนาดประมาณ 27,335.11 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 22,757,897 คน (พ.ศ. 2553) อัตราความหนาแน่น 755.39 คน/ตารางกิโลเมตร ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาคคันโตซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียวเมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมืองนะระและเมืองเคียวโตะ เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมืองเคียวโตะ ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุงโตเกียว นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นครโอซะกะ ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุงโตเกียวและโยะโกะฮะมะ เมืองเคียวโตะและนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมืองโคเบะซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

คามากูระ

"คามากูระ" อาจหมายถึง ยุคคะมะกุระ หรือ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ คามากูระ เป็นเมืองในจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 50 กิโลเมตร จากโตเกียว มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 39.60 ตารางกิโลเมตร และในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และคามากูระ · ดูเพิ่มเติม »

คิตะกีวชู

ตะกีวชู เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดฟุกุโอะกะ เป็นเมืองระหว่างทางจากโตเกียวไปเซี่ยงไฮ้ ท่าอากาศยานคิตะกีวชู เปิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และคิตะกีวชู · ดูเพิ่มเติม »

ฉางอาน

ฉางอาน ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียงฮัน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Chang'an) เป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศจีน โดยมีราชวงศ์ 13 ราชวงศ์ที่เลือกนครฉางอานเป็นเมืองหลวง ปัจจุบันคือเมืองซีอาน ซึ่งเปลี่ยนชื่อในสมัยราชวงศ์ชิง ชื่อ ฉางอาน มีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" (Perpetual Peace) สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์สุย ในยุคนั้นเรียกว่าเมืองต้าซิง เมื่อถึงราชวงศ์ถังจึงเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองฉางอาน เมืองนี้ใช้ระยะเวลาในการสร้างเกือบ 100 ปี แต่ความใหญ่โตมโหฬารกลับปรากฏในตอนท้าย เมืองฉางอานในยุคนั้นเมื่อเทียบกับเมืองซีอานในอดีตแล้วยังนับว่าใหญ่กว่า 10 เท่า ถือว่าเป็นเมืองระดับนานาชาติเลยก็ว่าได้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของฉางอาน ภายในเมืองฉางอานมีพระราชวังเป็นที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์และเป็นที่บริหารราชภารแผ่นดิน ทางทิศใต้ของเขตพระราชวังใช้เป็นที่ทำงานของขุนนางทั้งหลาย ถนนหนทางภายในตัวเมืองฉางอานและที่พักอาศัย ถูกออกแบบคล้ายกระดานหมายรุก เป็นระเบียบเรียบร้อย ถนนหลายสายภายในเมืองมีความกว้างกว่า 100 เมตร หนึ่งในนั้น ถนน "จูเชว่" ถือได้ว่าเป็นถนนที่กว้างมากที่สุด สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความรุ่งเรืองของบ้านเมือง เมื่อเข้าสู่ราชวงศ์หมิงและชิงก็ได้นำเอาแบบอย่างการสร้างเมืองฉางอานไปใช้ในการสร้างเมืองปักกิ่ง เมืองฉางอานมีส่วนที่ใช้เป็นที่พักอาศัยและส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย แบ่งเป็นสัดส่วน ภายในส่วนที่ใช้ทำมาค้าขาย มีร้านค้ามากมาย เรียกร้านค้าเหล่านี้ว่า "ห้าง" อาทิ ห้างขายเนื้อ ห้างขายปลา ห้างขายยา ห้างผ้า ห้างเหล็ก ห้างเงินทอง ฯลฯ ว่ากันว่าแค่เพียงส่วนค้าขายทางตะวันออก ก็มีร้านค้ากว่า 200 แห่ง สิ่งของหายากจากทั่วทุกสารทิศ สามารถหาซื้อได้ในเมืองฉางอาน เมืองฉางอานยังเป็นเมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรม มีกิจกรรมความบันเทิงต่าง ๆ มากมาย อาทิ การร้องรำทำเพลง การแข่งขันชนไก่ ชักเย่อ โล้ชิงช้า ฯลฯ จิตกร นักอักษรศิลป์ กวีที่มีชื่อเสียงต่างก็พักอาศัยอยู่ในเมืองฉางอาน ผลงานของผู้คนเหล่านี้ทำให้เมืองฉางอานมีสีสันมากขึ้น เมืองฉางอานยังเป็นเมืองที่วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกมาบรรจบกัน ในยุคนั้นประเทศต่าง ๆ กว่า 70 ประเทศ ได้มาเจริญสัมพันธไมตรีกับราชวงศ์ถัง เส้นทางสายไหมมีความเจริญสูงสุด ประเทศญี่ปุ่น สยาม และประเทศอื่น ๆ อีกมากมาย ต่างส่งคนมาศึกษาเล่าเรียน พ่อค้าจากเปอร์เซีย (อิหร่านปัจจุบัน) กับทาจิกส์ (ส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกกลาง) ต่างมุ่งหน้ามาทำการค้าขายที่เมืองฉางอาน ในเวลานั้นเมืองฉางอานมีประชากรถึง 1 ล้านคน รวมกับชาวต่างชาติที่ย้ายมาพำนักอีกว่าหมื่นคน เมืองฉางอานไม่เพียงแต่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม แต่ยังกลายเป็นเมืองระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงเมืองหนึ่งอีกด้ว.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และฉางอาน · ดูเพิ่มเติม »

ซัปโปโระ

ซัปโปโระ (ไอนุ: サッ ・ポロ ・ペッ ซัตโปโรเพต) เป็นศูนย์กลางของกิ่งจังหวัดอิชิกะริ ในจังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น เป็นศูนย์กลางความเจริญของเกาะ และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ และเป็นหนึ่งในเมืองใหม่ที่สุดในญี่ปุ่น มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และซัปโปโระ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

ประตูซุซะกุ ประตูเมืองหลวงเฮโจวเกียว สมัยนะระ (บูรณะขึ้นมาใหม่) คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ ในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ วาดเมื่อปี พ.ศ. 2369 โดยคะสึชิกะ โฮะกุไซ ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น (ภาษาญี่ปุ่น: 日本の歴史; นิฮงโนะเระกิชิ).

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทนิโจ

กำแพงชั้นในและคูน้ำในปราสาทนิโจ ประตูทางเข้าหลักสู่พระราชวังนิโนะมะรุ ลวดลายแกะสลักที่ประตูทางเข้าพระราชวังนิโนะมะรุ พระราชวังฮนมะรุ สระน้ำในอุทยานนิโนะมะรุ ปราสาทนิโจ เป็นปราสาทสถาปัตยกรรมญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น ประกอบไปด้วยป้อมปราการที่เรียงตัวเป็นวงแหวนสองชั้น พระราชวังนิโนะมะรุ ซากพระราชวังฮนมะรุ และอาคารอื่นกับสวนอุทยานอีกหลายแห่ง อาณาบริเวณของปราสาทมีพื้นที่ทั้งหมด 275,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่อาคารสร้างทับอยู่ 8,000 ตารางเมตร.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และปราสาทนิโจ · ดูเพิ่มเติม »

นางาซากิ

มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และนางาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และนาโงยะ · ดูเพิ่มเติม »

นินเท็นโด

นินเท็นโด (Nintendo) เป็นบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) เริ่มแรกทำธุรกิจเกี่ยวกับการ์ดเกมและของเล่น รวมถึงธุรกิจอื่น เช่น โรงแรมและแท็กซี่ ใน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) นินเท็นโดได้ผันตัวเองมาเป็นบริษัทวิดีโอเกม ซึ่งเป็นบริษัทเกี่ยวกับวิดีโอเกมที่มีอายุยาวนานที่สุดและทรงอิทธิพลที่สุดจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และนินเท็นโด · ดูเพิ่มเติม »

นครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น

นครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาล (政令指定都市; city designated by government ordinance) หรือ นครจัดตั้ง (指定都市; designated city) คือเมืองที่มีสถานะเป็น นคร (都市) ในประเทศญี่ปุ่น มีประชากรมากกว่า 5 แสนคน มีส่วนสำคัญในด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และพิจารณาได้ว่าเป็นนครที่มีขนาดใหญ่ของประเท.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และนครที่ตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

โยโกฮามะ

นครโยโกฮามะ เป็นเมืองใหญ่อันดับสองเรียงตามประชากรของประเทศญี่ปุ่นรองจากกรุงโตเกียว และยังถือเป็นเขตเทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดของญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองเอกของจังหวัดคานางาวะ ตั้งอยู่บริเวณอ่าวโตเกียวทางใต้ของกรุงโตเกียวในภาคคันโตบนเกาะหลักฮนชู โยโกฮามะถือเป็นศูนย์กลางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่สำคัญของเขตอภิมหานครโตเกียว.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโยโกฮามะ · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทไกโดชิงกันเซ็ง

| โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โคเบะ

() เป็นเมืองเอกของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับที่ 5 และเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเกาะฮนชู ห่างจากเมืองโอซะกะไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคนและเป็นส่วนหนึ่งของมหานครเคฮันชิง โคเบะปรากฏในหลักฐานลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในพงศาวดารนิฮงโชะกิที่กล่าวถึงการก่อตั้งศาลเจ้าอิกุตะโดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโคเบะ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์รี

อร์รี เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ต้นเชอร์รีเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Prunus สกุลย่อย Cerasus เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ชอบอากาศหนาวเย็น ใบเขียวเข้ม ดอกสีขาวอมชมพู ผลกลม ขนาดเล็ก เปลือกมีทั้งสีแดงเข้ม สีส้มและสีเหลือง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือเชอร์รีหวานกับเชอร์รีหวานอมเปรี้ยว แหล่งที่ปลูกเชอร์รีมากคือทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และญี่ปุ่น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเชอร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เกอิชา

กอิชา เกอิชา เป็นอาชีพหนึ่งของสตรีญี่ปุ่นในสมัยก่อน ถือว่าเป็นผู้ที่ชำนาญทางศิลปะและให้ความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นเสมือนผู้คอยต้อนรับและปรนนิบัติแขก เกอิชามีอยู่แพร่หลายอย่างมากในญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ19 เมื่อ ค.ศ. 1920 มีจำนวนเกอิชาถึง 80,000 คน ส่วนในปัจจุบันแม้ว่าจะยังมีอาชีพเกอิชา แต่จำนวนค่อย ๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง สำหรับเกอิชาฝึกหัดจะเรียกว่า ไมโกะ คำว่า "เกอิชา" นั้น ภาษาญี่ปุ่นออกเสียงว่า "เกชะ" ในแถบคันไซเรียกว่า เกงิ (芸妓, げいぎ) ส่วนเกอิชาฝึกงานหรือ "เกโกะ" (芸子, げいこ) มีใช้มาตั้งแต่สมัยเมจิ ส่วนคำว่า "กีชา" ที่เรียกว่า "สาวเกอิชา" นั้น นิยมเรียกในช่วงปฏิบัติการร่วมระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกา หมายถึง หญิงขายบริการ แต่เรียกตัวเองว่า "เกอิชา" อาชีพของเกอิชานั้นพัฒนาขึ้นมาจาก ไทโคะโมะชิ หรือ โฮกัง ซึ่งคล้ายกับพวกตลกหลวงในราชสำนัก เกอิชาในสมัยแรกนั้นล้วนเป็นผู้ชาย ส่วนผู้หญิงที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกันนั้นจะเรียกกันว่า "อนนะ เกชะ" (女芸者) หรือเกอิชาหญิง แต่ในปัจจุบันเกอิชาเป็นหญิงเท่านั้น อักษรญี่ปุ่น "เกชะ" หมายถึง ศิลปิน เดิมนั้นหญิงที่จะทำอาชีพเกอิชาจะได้รับการฝึกอบรมตั้งแต่เด็ก สำนักเกอิชามักจะซื้อตัวเด็กหญิงมาจากครอบครัวที่ยากจน แล้วนำมาฝึกฝนเลี้ยงดูโดยตลอด ในช่วงวัยเด็ก พวกเขาจะทำงานเป็นหญิงรับใช้ เพราะผู้ช่วยเกอิชารุ่นพี่ในสำนักถือเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกฝนด้วยเช่นกัน และเพื่อชดใช้กับค่าเลี้ยงดูและการอบรมสั่งสอน การสอนและฝึกฝนอาชีพที่ยาวนานเช่นนี้ นักเรียนจะอาศัยอยู่ในบ้านของครูผู้ฝึก ช่วยทำงานบ้าน สังเกต และช่วยครู และเมื่อชำนาญเป็นเกอิชาแล้ว สุดท้ายก็จะเลื่อนขึ้นไปสู่ตำแหน่งครูผู้ฝึกอบรมต่อไป การฝึกอบรมนี้จะต้องใช้เวลานานหลายปีทีเดียว ในเบื้องต้นนั้นเด็กสาวจะได้เรียนศิลปะหลายแขนง ได้แก่ การเล่นดนตรี (โดยเฉพาะชะมิเซ็ง รูปร่างคล้ายกีตาร์) การขับร้อง การเต้นรำ การชงชา การจัดดอกไม้ (อิเกะบะนะ) รวมถึงเรื่องบทกวีและวรรณคดี การได้คอยเป็นผู้ช่วยและได้เห็นเกอิชารุ่นพี่ทำงาน พวกเขาก็จะมีความชำนาญมากขึ้นและเรียนรู้ศิลปะที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การแต่งชุดกิโมโน รวมถึงการพนันหลายแบบ รู้จักการสนทนา และการโต้ตอบกับลูกค้า เมื่อหญิงสาวได้เข้ามารับการฝึกฝนเป็นไมโกะหรือเกอิชาฝึกหัด ก็จะเริ่มติดตามเกอิชารุ่นพี่ไปยังโรงน้ำชา งานเลี้ยง และการสังสรรค์ต่าง ๆ ที่เป็นสภาพแวดล้อมการทำงานจริงของเกอิชา ทำให้ได้ประสบการณ์ทำงานจริงและมีความชำนาญขึ้นเรื่อย ๆ ตำบลกิอง แหล่งเกอิชาในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น เกอิชาไม่ใช่โสเภณี แม้ว่าในอดีตจะมีการขายพรหมจารีอย่างถูกต้อง และเกอิชาก็ไม่จำเป็นต้องมีเพศสัมพันธ์กับลูกค้า แม้ว่าลูกค้าจะจ่ายเงินซื้อเพื่อการนี้ก็ตาม เกอิชากับโสเภณีมีความแตกต่างพอสมควร โดยสังเกตอย่างง่ายจากการแต่งตัว โดยที่โสเภณีจะมีสายโอบิผูกชุดที่สามารถแกะได้จากข้างหน้า เพื่อความสะดวกในถอดชุดออกออก เครื่องประดับของเหล่าหญิงโสเภณีมีความงดงาม หรูหรา ฟู่ฟ่า ในขณะที่เกอิชามีผ้าโอบิผูกจากข้างหลังตามชุดกิโมโนทั่วไป เครื่องประดับนั้นจะเรียบง่ายแต่แสดงออกถึงความสวยงามตามธรรมชาติ ในรูปแบบของศิลปะได้อย่างดีทีเดียว เกอิชาสมัยใหม่จะไม่ถูกซื้อตัวหรือพามายังสำนักเกอิชาตั้งแต่เด็กเหมือนแต่ก่อนอีกแล้ว การเป็นเกอิชาในสมัยใหม่นั้นเป็นไปโดยสมัครใจทั้งสิ้น และการฝึกฝนอาชีพนั้นจะเริ่มต้นที่หญิงสาว ช่วงวัยรุ่นตอนปลาย ไม่ใช่เด็กหญิงอย่างแต่ก่อน และจะใช้เวลาที่ยาวนานและยุ่งยากมาก เพราะฝึกเมื่ออายุมาก ปัจจุบันเกอิชายังคงอาศัยอยู่มากในสำนักเกอิชาในบริเวณพื้นที่ซึ่งเรียกว่า ฮะนะมะชิ (花街 "เมืองดอกไม้") หรือ คะเรียวไก (花柳界 "โลกของดอกไม้และต้นหลิว") ซึ่งคล้ายกับย่านโพนโทะโช ในเกียวโต เกอิชานั้นมักได้รับการว่าจ้างให้ปรนนิบัติหมู่คณะ และมักทำงานร่วมกันในโรงน้ำชา (茶屋 ชะยะ) หรือร้านอาหารแบบดั้งเดิมของญี่ปุ่น โดยเวลาใช้บริการนั้นจะใช้ธูปจุดเป็นเกณฑ์วัด เรียกว่า "เซนโกได" (線香代 "ค่าธูป") หรือ เคียวกุได (玉代 "ค่าเพชร") ลูกค้าจะติดต่อโดยผ่านสำนักติดต่อเกอิชาหรือ "เค็นบัน" (検番) ซึ่งจะมีตารางนัดของเกอิชาแต่ละคน และทำการนัดหมาย ทั้งเพื่อการทำงานและการฝึกฝนอาชีพ เมื่อหญิงที่ทำงานเป็นเกอิชาแต่งงานก็จะเลิกจากอาชีพนี้ หากไม่แต่งงาน เมื่ออายุมากขึ้นก็จะเลิกอาชีพนี้เช่นกัน แต่อาจทำงานเป็นเจ้าของร้านอาหาร ครูสอนดนตรี เต้นรำ หรือครูสอนเกอิชาต่อไปก็ได้.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเกอิชา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮนชู

นชู (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของประเทศญี่ปุ่น มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่าเกาะอังกฤษเล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะGeography of the World. Dorling kindersley: London, 2003.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเกาะฮนชู · ดูเพิ่มเติม »

เวลามาตรฐานญี่ปุ่น

วลามาตรฐานญี่ปุ่น (JST; 日本標準時 หรือ 中央標準時) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น และเร็วกว่า UTC 9 ชั่วโมง ยกตัวอย่างเช่น หาก UTC เป็นเวลาเที่ยงคืน (00:00) ประเทศญี่ปุ่นจะเป็นเวลา 09:00 ประเทศญี่ปุ่นไม่มีการใช้เวลาออมแสง ถึงแม้ว่าระหว่างปี..

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเวลามาตรฐานญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (information technology: IT) คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดำเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วย เช่นโทรทัศน์และโทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทางคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเทคโนโลยีสารสนเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เคฮันชิง

ันชิง เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณเมืองนครและปริมณฑลของประเทศญี่ปุ่น ที่ถือเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของญี่ปุ่น ครอบคลุมพื้นที่สามเมืองในสามจังหวัด ได้แก่ 1.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และเคฮันชิง · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เกียวโต (นคร)และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรุงเกียวโตนครหลวงเฮอังนครเกียวโตนครเคียวโตะเกียวโต (เมือง)เกียวโตะ (เมือง)เมืองเกียวโตเมืองเกียวโตะเมืองเคียวโตะเคียวโตะ (นคร)เคียวโตะ (เมือง)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »