โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาร์-77

ดัชนี อาร์-77

อาร์-77 (R-77 RVV-AE) นาโต้เรียกว่า เอเอ-12 แอดเดอร์ (AA-12 Adder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศระยะปานกลาง สัญชาติรัสเซีย นำวิถีด้วยเรดาร์ กล่าวกันว่าสร้างขึ้นมาเพื่อตอบโต้กับ เอไอเอ็ม-120 แอมแรม ของสหรัฐอเมริกา จึงได้รับฉายาว่า แอมแรมสกี้.

15 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2537มิโคยัน มิก-29มิโคยัน มิก-31มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศซุคฮอย ซู-27ซุคฮอย ซู-30ซุคฮอย ซู-34ซุคฮอย ซู-35ซุคฮอย ซู-37ซุคฮอย ซู-47ซุคฮอย ซู-57ประเทศรัสเซียเลเซอร์เอไอเอ็ม-120 แอมแรม

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อาร์-77และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-29

มิก-29 (MiG-29, МиГ-29) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่สี่ซึ่งถูกออกแบบโดยสหภาพโซเวียตสำหรับบทบาทครองความเป็นเจ้าอากาศ มันถูกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: อาร์-77และมิโคยัน มิก-29 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน มิก-31

มิโคยัน มิก-31 (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่า ฟ็อกซ์ฮาวนด์) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นความเร็วเหนือเสียง สัญชาติรัสเซีย พัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทน มิก-25 ฟ็อกซ์แบท โดยใช้แผนแบบของ มิก-25 โดยบริษัทมิโคยัน.

ใหม่!!: อาร์-77และมิโคยัน มิก-31 · ดูเพิ่มเติม »

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21

มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 (Mikoyan-Gurevich MiG-21 Fishbed, Микоян и Гуревич МиГ-21) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิชเบด) เป็นเครื่องบินขับไล่พลังไอพ่นเร็วเหนือเสียงที่ออกแบบและสร้างขึ้นโดยมิโคยัน-กูเรวิชค์ของสหภาพโซเวียต มันมีชื่อเล่นว่า"บาลาไลก้า" (balalaika) ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีของรัสเซีย หรือ ołówek (แปลว่าดินสอ) โดยนักบินโปแลนด์ รุ่นแรกๆ ถูกจัดว่าเป็นเครื่องบินเครื่องยนต์ไอพ่นรุ่นที่สอง ในขณะที่รุ่นต่อมาถูกจัดว่าเป็นรุ่นที่สาม มีประมาณ 60 ประเทศ ในกว่า 4 ทวีปที่ใช้ Mig-21 และมันยังคงประจำการอยู่ในหลายประเทศมากว่าครึ่งศตวรรษตั้งแต่ที่มันบินครั้งแรก Mig-21 ได้ทำสถิติไว้มากมายในประวัติศาสตร์การบินยุคใหม่ รวมทั้งมันยังเป็นเครื่องบินไอพ่นที่ผลิตออกมามากที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน เป็นเครื่องบินรบที่มีมากที่สุดตั้งแต่สงครามเวียดนาม และเป็นการผลิตที่ยาวนานที่สุดของเครื่องบินรบ (1959 - 1985).

ใหม่!!: อาร์-77และมิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ

อฟ-22 ของกองทัพอากาศสหรัฐขณะยิงเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศยุคใหม่ ไอริส-ที ของกองทัพอากาศเยอรมัน เอไอเอ็ม-132 แอสแรม ติดตั้งกับ ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน. ขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ (AAM) เป็นขีปนาวุธที่ใช้ปล่อยจากอากาศยาน มีจุดมุ่งหมายที่จะทำลายอากาศยานเป้าหมาย ปกติแล้วขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ จะใช้เครื่องยนต์จรวดเดี่ยวหรือหลายเครื่องยนต์ก็ได้ และใช้เชื้อเพลิงแข็ง แต่บางครั้งอาจใช้เชื้อเพลิงเหลว หรือเครื่องยนต์แรมเจ็ท โดยทั่วไปขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศสามารถจำแนกออกเป็นสองประเภท ประเภทแรกคือขีปนาวุธที่ออกแบบมาเพื่อติดตามอากาศยานในระยะไม่เกิน 20 ไมล์ (32 กิโลเมตร) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นในระยะมองเห็น (SRAAMs หรือ WVRAAMs) โดยเน้นที่การใช้งานในการต่อสู้ระยะประชิด หรือเรียกว่า "ด็อกไฟท์" ขีปนาวุธประเภทนี้จะเน้นที่ความคล่องตัวมากกว่าระยะยิง ใช้ระบบนำวิถีแบบอินฟราเรด หรือเรียกอีกอย่างว่าระบบค้นหาเป้าหมายด้วยความร้อน ประเภทที่สองคือขีปนาวุธในระยะกลางถึงไกล เป็นขีปนาวุธในระยะเกินมองเห็น (BVRAAMs) และนำวิถีด้วยเรดาร.

ใหม่!!: อาร์-77และขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-27

ซุคฮอย ซู-27 (Sukhoi Su-27) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์) เป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นหนึ่งและสองที่นั่ง ซึ่งเดิมผลิตโดยสหภาพโซเวียต และออกแบบโดยซุคฮอย มันเปรียบได้กับเครื่องบินรุ่นที่สี่ของสหรัฐอเมริกา พร้อมพิสัย 3,530 กิโลเมตร อาวุธขนาดหนัก ระบบอิเลคทรอกนิกอากาศที่ยอดเยี่ยม มีความคล่องแคล่ว ซู-27 มักทำภารกิจครองความได้เปรียบทางอากาศ แต่มันก็สามารถปฏิบัติภารกิจรบอื่นๆ ได้เช่นกัน มันมีรูปร่างคล้ายคลึงกับมิก-29 ที่เล็กกว่า และมีส่วนประกอบที่ใกล้เคียงกับเอฟ-15 อีเกิลของอเมริกาแต่มีความคล่องตัวเหนือกว่า มีการพัฒนามากมายของซู-27 ซู-30 เป็นแบบสองที่นั่งทำหน้าที่ทุกสภาพอากาศ ทำการสกัดกั้นทางอากาศและพื้นดินในระยะใกล้ เทียบได้กับเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล ซู-33 แฟลงเกอร์-ดีสำหรับการป้องกันในกองทัพเรือซึ่งใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เทียบได้กับเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท รุ่นนอกเหนือจากนั้นยังมีทั้งซู-34 ฟุลแบ็คสองที่นั่งคู่และซู-35 แฟลงเกอร์-อีสำหรับการป้องกันทางอาก.

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-27 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-30

ซุคฮอย ซู-30 (Sukhoi Su-30, Flanker-C) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-ซี) เป็นเครื่องบินทางทหารสองเครื่องยนต์ที่สร้างโดยบริษัทการบินซุคฮอยของรัสเซียและเริ่มนำเข้ามาใช้ปฏิบัติการในปี..

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-30 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-34

ซุคฮอย ซู-34 (Sukhoi Su-34 Fullback, Сухой Су-34) (รุ่นส่งออกจะใช้ชื่อซู-32, นาโต้เรียกมันว่าฟุลแบ็ค) เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดแบบสองที่นั่งของรัสเซีย มันถูกใช้เพื่อเข้ามาแทนที่ซุคฮอย ซู-24 Su-34 ถูกออกแบบมาสำหรับการใช้งานด้านยุทธวิธีอากาศสู่พื้นดินและเป้าหมายทางเรือ รวมถึงเป้าหมายขนาดเล็ก สามารถปฏิบัติภารกิจได้ทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน บินได้ทุกสภาพอาก.

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-34 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-35

ซุคฮอย ซู-35 (อังกฤษ: Sukhoi Su-35) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-อี) เป็นเครื่องบินขับไล่ที่พัฒนามากจาก ซู-27 แฟลงเกอร์เป็นเครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดี่ยว, สองเครื่องยนต์, ความคล่องตัวสูง และ หลากหลายบทบาท.

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-35 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-37

ซุคฮอย ซู-37 (อังกฤษ: Sukhoi Su-37) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-เอฟ, มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เทอร์มิเนเตอร์) เป็นเครื่องบินความคล่องตัวสูง หลากหลายบทบาท,ที่นั่งเดี่ยว,ออกแบบโดยบริษัทซุคฮอ.

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-37 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-47

ซุคฮอย ซู-47 เบอคุต (รัสเซีย: Су-47 Беркут - Golden Eagle) (นาโตใช้ชื่อรหัสว่า Firkin) เป็นเครื่องบินทดสอบและสาธิตทางเทคโนโลยีปีกลู่หน้า ที่ผลิตโดยบริษัท ซุคฮอย เอเวียชั่น คอร์ปอเรชั่น ของรัสเซีย มันเปรียบได้กับเครื่องบินขับไล่ยุคที่ 4 มีความสามารถและสมรรถนะที่เทียบเท่าเครื่องบิน Su27 และ Su30 ของรัสเซีย พร้อมพิสัยการบิน 3300 กิโลเมตร มันมีจุดเด่นของมันคือปีกที่ลู่ไปด้านหน้า ปีกที่ลู่ไปด้านหน้าจะช่วยในการบินโดยเฉพาะในขณะที่มุมเงยสูง (angles of attack) ซึ่งมีความ จำเป็น ในการต่อสู้ระยะประชิด และเสริมสร้างคุณสมบัติด้านอากาศพลศาสตร์ให้กับเครื่องในความเร็วต่ำกว่าเสียง และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบินใช้อาวุธที่ความเร็วสูงมากๆ เพื่อเพิ่มพิสัยให้เครื่องบิน เนื่องจากมีผู้คนหลายคนนั้นคิดว่าเครื่องบินลำดังกล่าวเป็นเครื่องบินขับไล่หลากพหุบทบาท และมีความสามารถในด้านการตรวจจับได้ยากจากเรดาร์ ซึ่งนั่นไม่เป็นความจริงแต่อย่างใดเพราะเนื่องจาก ซู-47 นั้นเป็นเครื่องบินที่ทดสอบและสาธิตเทคโนโลยีเท่านั้นไม่มีคุณสมบัติในการตรวจจับได้ยากจากเรดาร์แต่อย่างใ.

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-47 · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย ซู-57

ซุคฮอย ซู-57 (Сухой Су-57, อังกฤษ: Sukhoi Su-57) หรือชื่อเครื่องต้นแบบ ซุคฮอย ที-50 พักฟา (อังกฤษ: Sukhoi T-50 PAK FA) (รัสเซีย: ПАК ФА, short for: Перспективный авиационный комплекс фронтовой авиации, translit. Perspektivny Aviatsionny Kompleks Frontovoy Aviatsii, lit. '"Prospective Aviation Complex of Frontline Aviation"') เป็นเครื่องบินขับไล่ล่องหนที่ออกแบบโดยซุคฮอย สำหรับกองทัพอากาศรัสเซีย เพื่อใช้เข้าประจำการทดแทนมิโคยัน มิก-29 และซุคฮอย ซู-27 ในอนาคต ซุคฮอย ซู-57 เครื่องต้นแบบใช้รหัส ที-50 พักฟา มีความสามารถเทียบเท่ากับเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ห้าของสหรัฐอเมริกา คือ เอฟ-22 แร็พเตอร์ และเอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 โดยได้รับการออกแบบให้เป็นอากาศยานล่องหน เครื่องบินต้นแบบ ที-50 พักฟา ของซุคฮอย ออกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: อาร์-77และซุคฮอย ซู-57 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: อาร์-77และประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เลเซอร์

ลเซอร์สีแดง (635 นาโนเมตร), สีเขียว (532 นาโนเมตร) และสีม่วง-น้ำเงิน (445 นาโนเมตร) เลเซอร์ (ย่อมาจากคำว่า light amplification by stimulated emission of radiation) ในทางฟิสิกส์ คือ อุปกรณ์ที่ให้กำเนิดลำแสง ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่รวมกันระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับอุณหพลศาสตร์ ซึ่งพลังงานแสงเลเซอร์ สามารถมีคุณสมบัติได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการออกแบบ เลเซอร์ส่วนมากจะเป็นลำแสงที่มีขนาดเล็ก มีการเบี่ยงเบนน้อย (low-divergence beam) และสามารถระบุความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเป็กตรัมที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (visible spectrum) ซึ่งเลเซอร์นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการรวมพลังงานแสงที่ส่งออกมาจากหลายความยาวคลื่นเข้าด้วยกัน เลเซอร์ จะหมายรวมไปถึงการให้พลังงานผ่านทางสื่อนำแสง ซึ่งสื่อนำแสงอาจเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่มีคุณสมบัติสามารถนำแสงได้ ในรูปแบบที่ง่ายที่สุด ออบติคอล คาวิตี้ (Optical cavity) จะประกอบไปด้วยกระจก 2 อัน ที่จะจัดเรียงแสงเข้าด้วยกันครั้งแล้วครั้งเล่า โดยที่แต่ละครั้งจะผ่านสื่อนำแสง โดนหนึ่งในกระจกนั้น (Output coupler) จะส่งลำแสงออกมา ลำแสงเลเซอร์ ที่ผ่านทางสื่อนำแสงจะมีความยาวคลื่นเฉพาะ และมีพลังงานเพิ่ม ซึ่งกระจกนี้จะพยายามทำให้แสงส่วนมาก สามารถผ่านทางสื่อนำแสงให้ได้ และออกมาเป็นลำแสงเลเซอร์ กระบวนการเหนี่ยวนำลำแสงเพื่อเพิ่มพลังงานนี้ จะใช้พลังงานไฟฟ้าหรือแแสงในหลายความยาวคลื่น ซึ่งในการทดลองแต่ละครั้ง ความยาวคลื่นของแสงในแต่ละความยาวคลื่น จะส่งผลโดยตรงต่อคุณสมบัติ รูปร่าง และความยาวคลื่นของลำแสงเลเซอร์ที่สร้างออกมา การค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเลเซอร์ เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 1960 โดย ทีโอดอร์ ไมแมน (Theodore Maiman) ที่สถาบันวิจัย ฮิวจ์ (Hughes Research Laboratories) ทุกวันนี้เลเซอร์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลายพันล้านดอนล่าร์ ผลผลิตจากงานวิจัยเลเซอร์ และกลายเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย มีให้เห็นอย่างเช่น แผ่นดีวีดี แผ่นซีดี เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องอ่านบาร์โค้ด อุปกรณ์ตัดโลหะด้วยเลเซอร์ ฯลฯ จะเห็นได้ว่าเลเซอร์มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ หรือแม้กระทั่งด้านการทหาร ก็เพราะว่าเลเซอร์สามารถควบคุมความยาวคลื่นตามที่ต้องการได้.

ใหม่!!: อาร์-77และเลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-120 แอมแรม

รวดนำวิถีเอไอเอ็ม-120 หรือ แอมแรม (AIM-120 Advanced Medium-Range Air-to-Air Missile, AMRAAM) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศเกินระยะตามองเห็น(BVR)รุ่นใหม่ที่สามารถใช้ได้ทั้งตอนกลางวันและกลางคืน มันยังรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่าสแลมเมอร์ในกองทัพอากาสสหรัฐ นาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทรี (Fox Three).

ใหม่!!: อาร์-77และเอไอเอ็ม-120 แอมแรม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อาร์-77 (ขีปนาวุธ)เอเอ-12 แอดเดอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »