โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.

ดัชนี อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.

อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D. เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ โมโตฮิโร่ คาโต้ ผู้เขียนร็อกเก็ตแมน และล่าสุดเขาได้เขียนผลงานเรื่อง พิพิธภัณฑ์พิศวง ขึ้น ทั้งหมดตีพิมพ์และจัดจำหน่ายในประเทศไทยโดย สำนักพิมพ์วิบูลย์ก.

8 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2540กรกฎาคมการ์ตูนญี่ปุ่นวิบูลย์กิจสำนักพิมพ์โคดันชะซี.เอ็ม.บี. พิพิธภัณฑ์พิศวงโชเน็งเอ็นเอชเค

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์กิจ

ำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ เป็นสำนักพิมพ์การ์ตูนญี่ปุ่นในประเทศไทย รู้จักกันในชื่อย่อ VBK หรือชื่อเต็ม Vibulkij Publishing Group.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และวิบูลย์กิจ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์โคดันชะ

ำนักพิมพ์โคดันชะ สำนักพิมพ์โคดันชะ เป็นสำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น ตีพิมพ์วรรณกรรม และหนังสือการ์ตูน เป็นหลัก สำนักงานใหญ่ของสำนักพิมพ์โคดันชะตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว สำนักพิมพ์โคดันชะมีหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์หลักๆ ได้แก่ นากาโยชิ อาฟเตอร์นูน และโชเน็นแม็กกาซีน.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และสำนักพิมพ์โคดันชะ · ดูเพิ่มเติม »

ซี.เอ็ม.บี. พิพิธภัณฑ์พิศวง

C.M.B. พิพิธภัณฑ์พิศวง (C.M.B. Christus Mansionem Benedicat) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็น ผลงานของโมโตฮิโร่ คาโต้ ปัจจุบันผู้ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์เผยแพร่ในประเทศไทย คือสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ เนื้อหาเกี่ยวกับการผจญภัยของตัวเอก ซากากิ ชินระ เด็กผู้ชายที่มีความรอบรู้เกินวัย และเป็นผู้เก็บรักษาแหวนอันเป็นเครื่องหมายแห่งผู้ทรงภูมิปัญญาไว้กับตน เนื้อหาการผจญภัยเป็นเรื่องราวคละกันไปมีทั้งเรื่องของธรรมชาติวิทยา, โบราณคดี, ธรณีวิทยา, ประวัติศาสตร์, ศาสนาวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ แตกต่างกันไปในแต่ละตอน เนื่องจากแนวคิดหลักในการเดินเรื่องเป็นเรื่องเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ โครงเรื่องในแต่ละตอนนั้น เป็นการคลี่คลายปมปริศนาต่างๆ โดยบางเรื่องเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นมาทั้งหมด บางเรื่องก็มีอ้างอิงจากเอกสารจริง, สถานที่จริง, หรือข้อมูลจริง ผสมกับจินตนาการแต่งเติมเข้าไป จึงทำให้ผู้อ่านไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่องไกลตัวนัก C.M.B. พิพิธภัณฑ์พิศวง ที่ตีพิมพ์นั้น โดยทั่วไปจะมี 1-2 คดีต่อ 1 เล่ม โดยส่วนใหญ่จะเป็น 2 คดี แต่ถึงแม้จะมีบางคดีที่โครงเรื่องยาวกว่าปกติ ผู้เขียนก็รวบสรุปให้จบในฉบับรวมเล่มนั้นเช่นกัน.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และซี.เอ็ม.บี. พิพิธภัณฑ์พิศวง · ดูเพิ่มเติม »

โชเน็ง

น็น แปลว่า "หนุ่มน้อย" ซึ่งหมายถึงผู้ชายอายุไม่เกิน 18 ปี ภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำว่าโชเน็งถูกใช้เป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเด็กวัยรุ่นชายเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ตัวอย่างการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งที่มีชื่อเสียง ได้แก่ เซนต์เซย์ย่า ดราก้อนบอล ชาแมนคิง วันพีซ กินทามะ นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ และ มุซาชิ การ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็งส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการต่อสู้ (ไม่ว่าจะเป็นการรบราฆ่าฟันหรือการต่อสู้ในสนามกีฬา) และมักมีการแทรกมุขตลกเพื่อไม่ให้เรื่องหนักเกินไป ตัวละครหลักโดยมากเป็นผู้ชาย และมิตรภาพระหว่างตัวละครชายมักเป็นจุดสำคัญของเรื่อง ตัวละครหญิงในเรื่องส่วนมากจะมีหน้าตาและรูปร่างสวยงามเกินความเป็นจริง สไตล์ในการวาดภาพของการ์ตูนแนวโชเน็งจะไม่หวานแหววและละเอียดอ่อนเหมือนกับการ์ตูนแนวโชโจ การ์ตูนแนวโชเน็งหลายๆ เรื่องมีกลุ่มผู้ติดตามหญิงที่นำเนื้อเรื่องและตัวละครในเรื่องไปเขียนโดจินชิและแฟนฟิกชั่นแนวยาโออิและโชตะคอน.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และโชเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: อย่างนี้ต้องพิสูจน์ Q.E.D.และเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Q.E.D. (Manga)Q.E.D. อย่างนี้ต้องพิสูจน์อย่างนี้ต้องพิสูจน์คิว.อี.ดี. อย่างนี้ต้องพิสูจน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »