โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามโปแลนด์–โซเวียต

ดัชนี สงครามโปแลนด์–โซเวียต

งครามโปแลนด์-โซเวียต (เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 – เดือนมีนาคม ค.ศ. 1921) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างtitle.

20 ความสัมพันธ์: บอลเชวิกมหาวิทยาลัยแคนซัสมีคาอิล ตูคาเชฟสกียุโรปกลางยุโรปตะวันออกลวีฟวลาดีมีร์ เลนินวอร์ซอสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สงครามกลางเมืองรัสเซียสนธิสัญญาสันติภาพริกาอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)ประเทศยูเครนประเทศโปแลนด์ประเทศเบลารุสโจเซฟ สตาลินเลออน ทรอตสกีเซมิออน บูดิออนนืย

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคนซัส

อาคาร Lippincott Hall ตระหง่านอยู่เบื้องหลังรูปปั้นของ Jimmy Green คณบดีคนแรกของคณะนิติศาสตร์ ในอิริยาบถขณะกำลังยืนพูดคุยกับนักศึกษา The Forum อาคารเรียนสตูดิโอ ซึ่งออกแบบและก่อสร้างเองโดยนักศึกษาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคนซัส (University of Kansas มักย่อว่า เคยู (KU) หรือ แคนซัส) เป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองลอว์เรนซ์ ในรัฐแคนซัส มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี ค.ศ. 1865 มหาวิทยาลัยมีคณาจารย์และนักวิจัยประมาณ 5,500 คน และนักศึกษาประมาณ 27,000 คน น้ำพุหน้าไคโอเมกา นอกจากวิทยาเขตหลักในเมืองลอว์เรนซ์แล้ว มหาวิทยาลัยมีศูนย์การแพทย์ (KU Medical Center) ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงพยาบาล (University of Kansas Hospital) ตั้งอยู่ที่เมืองแคนซัสซิตี นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแคนซัสเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่ริเริ่มจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาสังคมวิทยา (Sociology) เมื่อปี 1890 ทีมกีฬามหาวิทยาลัยมีชื่อว่า เจย์ฮอกส์ (Jayhawks) โดยมีสัญลักษณ์เป็นนกผสมระหว่างบลูเจย์และเหยี่ยวสแปร์โรว์ (สแปร์โรว์ฮอว์ก) ทีมบาสเกตบอลของมหาวิทยาลัยมีผลงานชนะการแข่งขันระดับประเทศใน NCAA เป็นจำนวน 3 ครั้ง ในปี 1952, 1988, 2008 และรองชนะเลิศ 6 ครั้งในปี 1940, 1953, 1957, 1991, 2003, 2012.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและมหาวิทยาลัยแคนซัส · ดูเพิ่มเติม »

มีคาอิล ตูคาเชฟสกี

มีคาอิล นีโคลาเยวิช ตูคาเชฟสกี (Михаи́л Никола́евич Тухаче́вский, Mikhail Nikolayevich Tukhachevsky; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1893 – 12 มิถุนายน ค.ศ. 1937) เป็นผู้นำทหารและนักทฤษฎีชาวโซเวียตระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและมีคาอิล ตูคาเชฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปกลาง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ลวีฟ

ลวีฟ (Львів L’viv; Lwów; Львов, L'vov; Lemberg; Leopolis) เป็นเมืองทางตะวันตกของประเทศยูเครน เป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางวัฒนธรรมที่สำคัญของยูเครนในปัจจุบัน และเป็นเมืองประวัติศาสตร์ เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมโปแลนด์และยิวที่สำคัญ ซึ่งเมืองมีประชากรส่วนใหญ่เป็นโปแลนด์และยิว อพยพมาหลังสงครามโลกครั้งที่สองและการล้างชาติโดยนาซี (1944–1946) เมืองประวัติศาสตร์ของลวีฟได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากยูเนสโก เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและลวีฟ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

วอร์ซอ

วอร์ซอ (Warszawa) แผนที่แสดงที่ตั้งของกรุงวอร์ซอ วอร์ซอ (อังกฤษ: Warsaw; โปแลนด์: Warszawa วารฺชาวา) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวิสทูลา ห่างจากชายฝั่งทะเลบอลติกประมาณ 370 กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ในตัวเมืองประมาณ 1,726,581 (2014) คน และรวมเขตเมืองด้วยจะประมาณ 2,760,000 คน (ข้อมูล พ.ศ. 2548) ตัวเมืองวอร์ซอมีพื้นที่ 517.24 ตร.กม.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (ชื่อย่อ: Ukrainian SSR) หรือ ยูเครน (Українська Радянська Соціалістична Республіка, Українська РСР; Украинская Советская Социалистическая Республика, Украинская ССР) หรือ โซเวียตยูเครน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย (ข้อ 68 รัฐธรรมนูญแห่งยูเครนปี 1978) และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1919) และล่มสลายในปี 1991 แม้สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจะเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีสิทธิ์มีเสียงอะไรในกิจการต่างประเทศ ซึ่งถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการมอสโก ในการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและเปเรสตรอยกา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนถูกแปลงเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ยูเครน แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของยูเครนได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1996.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ. 1918–1939) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโปแลนด์หรือเครือจักรภพโปแลนด์ (Rzeczpospolita Polska) รัฐโปแลนด์ถูกสร้างใหม่ใน ค.ศ. 1918 เป็นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังความขัดแย้งในภูมิภาคหลายครั้ง เขตแดนของรัฐถูกชี้ชัดใน ค.ศ. 1922 ประเทศโปแลนด์มีเพื่อนบ้าน ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย เยอรมนี นครเสรีดันซิก ลิทัวเนีย ลัตเวีย โรมาเนียและสหภาพโซเวียต มีทางเข้าทะเลบอลติกโดยทางชายฝั่งสั้น ๆ ที่อยู่ข้างนครกดือเนีย (Gdynia) ระหว่างเดือนมีนาคมและสงหาคม ค.ศ. 1939 โปแลนด์ยังมีเขตแดนร่วมกับรูธีเนียคาร์พาเธีย (Carpathian Ruthenia) ซึ่งขณะนั้นเป็นจังหวัดของฮังการี แม้มีแรงกดดันทั้งในและนอกประเทศ ประเทศยังคงอยู่จน ค.ศ. 1939 เมื่อโปแลนด์ถูกนาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสโลวักบุกครอง เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป สาธารณรัฐที่สองมีพื้นที่ต่างจากรัฐโปแลนด์ปัจจุบันมาก โดยมีดินแดนทางทิศตะวันออกมากกว่าและทางทิศตะวันตกน้อยกว.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสันติภาพริกา

นธิสัญญาสันติภาพรีกา (Treaty of Riga; Ри́жский ми́рный договóр (Rízhsky Mírny dogovór); Rīgas miera līgums; Traktat Ryski) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพซึ่งมีการลงนามกันที่เมืองรีกา เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1921 ระหว่างโปแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับโซเวียตรัสเซียและโซเวียตยูเครนอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญาฉบับดังกล่าวนับเป็นจุดสิ้นสุดของสงครามโปแลนด์-โซเวียต.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและสนธิสัญญาสันติภาพริกา · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร)

อเล็กซานเดอร์ อิลลิช เยโกรอฟ หรือ อีโกรอฟ (Алекса́ндр Ильи́ч Его́ров, Alexander Ilyich Yegorov, 25 ตุลาคม พ.ศ. 2426 พ.ศ. 2436 -23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นหนึ่งในแม่ทัพในสงครามกลางเมืองรัสเซียเป็นผู้กองทัพแดงแนวรบทางตอนใต้และด้านหน้าในยูเครน และมีส่วนสำคัญในการเอาชนะกองทัพฝ่ายขาวในยูเครน ในปี..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ (ทหาร) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

เลออน ทรอตสกี

ลออน ทรอตสกี (Лев Тро́цкий) ชื่อเกิด เลฟ ดาวิโดวิช บรอนชเทย์น (Лев Дави́дович Бронште́йн) เป็นนักปฏิวัติและนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ นักการเมืองโซเวียต และผู้ก่อตั้งและผู้นำคนแรกของกองทัพแดง ทรอตสกีแต่แรกเป็นผู้สนับสนุนกลุ่มแยกสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศเมนเชวิค (Menshevik Internationalists) แห่งพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย เขาเข้ากับพรรคบอลเชวิคทันทีก่อนการปฏิวัติตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและเลออน ทรอตสกี · ดูเพิ่มเติม »

เซมิออน บูดิออนนืย

ซมิออน มิคาอิลโลวิช บูดิออนนืย (Семён Миха́йлович Будённый, Semyon Mikhailovich Budyonny, 25 เมษายน พ.ศ. 2426 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2516) เป็นทั้งแม่ทัพทหารม้ารัสเซียและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง ในสงครามกลางเมืองรัสเซียกองทหารม้าขนาดใหญ่ของบูดิออนนืย เป็นส่วนช่วยให้พรรคบอลเชวิกได้รับชัยชนะ เขากลายเป็นเพื่อนของโจเซฟ สตาลินและได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในปี..

ใหม่!!: สงครามโปแลนด์–โซเวียตและเซมิออน บูดิออนนืย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สงครามโปแลนด์-โซเวียต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »