โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

ดัชนี สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

92 ความสัมพันธ์: ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะพ.ศ. 2474พ.ศ. 2480พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีนกรณี 28 มกราคมกรณีมุกเดนกว่างโจวกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นการบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่นการบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียตการฟื้นฟูเมจิการพักรบตางกูการสังหารหมู่นานกิงการทัพเจียงเกียวการคว่ำบาตรการปฏิวัติซินไฮ่การประกาศสงครามการป้องกันกำแพงเมืองจีนการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ก๊กมินตั๋งภูมิศาสตร์ไต้หวันมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมณฑลชานตงมณฑลชานซีมณฑลเหอเป่ย์ยุทธการที่ซูโจวยุทธการที่นานกิงยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ (พ.ศ. 2480)ยุทธการฉางชา (1939)รัฐกันชนรัฐหุ่นเชิดราชวงศ์ชิงลอดลายมังกรลัทธิอาณานิคมวาง จิงเว่ยสหรัฐสันนิบาตชาติสาธารณรัฐสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สงครามสงครามฝิ่นสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งสงครามแปซิฟิกสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ...หนานจิงอินโดจีนของฝรั่งเศสฮิเดะกิ โทโจจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิโชวะจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดินิยมจักรวรรดิเยอรมันจูเต๋อจีนโพ้นทะเลจี่หนานถงเหมิงฮุ่ยขี้โรคแห่งเอเชียคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติซุน ยัตเซ็นประชาธิปไตยประเทศพม่าประเทศญี่ปุ่นประเทศจีนประเทศแมนจูประเทศไต้หวันปักกิ่งนางบำเรอแมนจูเรียแม่น้ำแยงซีไซบีเรียเกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นเสิ่นหยางเหมา เจ๋อตงเหมิ่งเจียงเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโลเผิงหูเจียง ไคเชกเจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอินเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ เดอะ มูฟวี่เทียนจินเขตปกครองตนเองมองโกเลียในเขตปลอดทหารเฉิน เฉิง7 กรกฎาคม9 กันยายน ขยายดัชนี (42 มากกว่า) »

ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ

้า ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ (คิวจิทาอิ: 近衞 文麿, ชินจิทาอิ: 近衛 文麿) เป็นนักการเมืองของญี่ปุ่นในสมัยโชวะ และเป็นนายกรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีที่ 34,38 และ 39 ของญี่ปุ่น บิดาของเขาถึงแก่อสัญกรรมตั้งแต่เขาอายุ 12 ขวบ ทำให้เขาต้องสืบทอดบรรดาศักดิ์ที่ชั้น โคชะกุ (เจ้า) และสายตระกูลโคะโนะเอะตั้งยังเล็ก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China (CPC) หรือ Chinese Communist Party (CCP)) เป็นพรรคการเมืองหลักในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสมาชิกกว่า 80 ล้านคน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน เริ่มต้นเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 ที่เซี่ยงไฮ้ ได้เข้าปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ภายหลังโค่นพรรคก๊กมินตั๋ง (KMT) ลงในสงครามกลางเมือง โดย หม่าหลิน (Marine) เป็นผู้แทนเลนิน พบกับ ดร.ซุนยัตเซ็น และ หลี่ต้าเจา กับ จางเหลย เสนอให้จัดตั้งพรรคการเมืองที่รวบรวมความสามัคคีของกรรมกรและชาวน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

กรณี 28 มกราคม

กรณี 28 มกราคม (28 มกราคม — 3 มีนาคม 1932) เป็นสงครามระยะสั้นระหว่างกองทัพของ สาธารณรัฐจีน และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ก่อนที่การสู้รบอย่างเป็นทางการของสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองจะเริ่มขึ้นในปี 1937 หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกรณี 28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

กรณีมุกเดน

ในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1931 ใกล้กับเมืองมุกเดน (หรือ เสิ่นหยางในปัจจุบัน) ทางแมนจูเรียตอนใต้ ส่วนหนึ่งของรางรถไฟซึ่งกองทัพญี่ปุ่นยังคงยึดครองอยู่ในขณะนั้นเกิดการระเบิดขึ้น กองทัพญี่ปุ่นจึงได้ใช้ข้ออ้างดังกล่าวในการรุกรานแมนจูเรีย และนำไปสู่การก่อตั้งแมนจูกัวในปีต่อมา ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรบในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ถึงแม้ว่าสงครามครั้งนี้จะปะทุขึ้นมาในปี ค.ศ. 1937 ก็ตาม เหตุการณ์ดังกล่าวมีชื่อเรียกกันหลายแบบ เช่น กรณีมุกเดน (Mukden Incident) ในญี่ปุ่นเรียก กรณีแมนจูเรีย (Manchurian Incident, 滿洲事變 หรือ 満州事変) ส่วนในจีนเรียก เหตุการณ์ 18 กันยายน (九•一八事变/九•一八事變 → Jiǔyībā Shìbiàn) หรือ เหตุการณ์หลิ่วเถียวโกว (柳条沟事变/柳條溝事變 → Liǔtiáogōu Shìbiàn).

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกรณีมุกเดน · ดูเพิ่มเติม »

กว่างโจว

กว่างโจว กวางโจว หรือ กวางเจา (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย" กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น หรือ JSDF บางครั้งเรียกว่า JSF หรือ SDF เป็นบุคลากรจากประเทศญี่ปุ่นที่ถูกจัดตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงเพื่อแทนที่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ถูกยุบ และฝ่ายสัมพันธมิตรยึดครองญี่ปุ่น ในเวลาหลังสงคราม กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นถูกใช้งานในเฉพาะภายในประเทศมีหน้าที่ในการป้องกันประเทศอธิปไตยชาติเพียงอย่างเดียวและไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ ยกเว้นในสถานการณ์ที่เป็นการป้องกันตนเองในขอบเขตที่จำกัดเท่านั้น แม้อาจมีภารกิจในต่างประเทศในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ แต่ล่าสุดในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ครม.ญี่ปุ่นได้ตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่นใหม่สรุปได้ว่า กองกำลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่นจะสามารถส่งทหารไปปฏิบัติภารกิจการป้องกันตนเองร่วมได้(Collectvie-Self Defence) ตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อปกป้องชาติหนึ่งจากการถูกรุกราน โดยญี่ปุ่นจะสามารถไปช่วยเหลือชาติพันธมิตรใกล้ชิดที่ถูกโจมตีได้ หากการโจมตีนั้นเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของญี่ปุ่นและไม่มีวิธีอื่นในการปกป้องชีวิตชาวญี่ปุ่น ในด้านการพัฒนาอาวุธ ในรธน.ญี่ปุ่นถูกกำหนดห้ามพัฒนาอาวุธในเชิงรุก ส่วนในด้านการห้ามส่งออกอาวุธนั้น แม้ญี่ปุ่นจะเป็นผู้กำหนดขึ้นเองเมื่อปีพ.ศ. 2510 แต่ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 ญี่ปุ่นได้ผ่อนคลายกฎห้ามส่งออกอาวุธ โดยสามารถส่งออกอาวุธและมีส่วนร่วมในการผลิตอาวุธกับนานาชาติได้ แต่ญี่ปุ่นจะไม่ส่งออกอาวุธให้แก่ประเทศที่ตกอยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง หรืออาจเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคงของนานาชาติ นอกจากนี้ การจำหน่ายอาวุธก็จะต้องเป็นไปเพื่อส่งเสริมสันติภาพสากลคือต้องเป็นยุทโธปกรณ์ที่ไม่ใช่เพื่อสังหาร และเป็นประโยชน์ต่อความมั่นคงของญี่ปุ่นเอง ส่วนในด้านการสนันสนุนกองกำลังต่างชาติ ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศแก้ไขกฎบัตรว่าด้วยการสนับสนุนต่างชาติ โดยสามารถมอบทุนสนับสนุนภารกิจของกองกำลังต่างชาติที่มิใช่การสู้ร.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเป็นกองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJN) (คีวจิไต: 大日本帝國海軍 ชินจิไต: 大日本帝国海軍 หรือ 日本海軍 นิปปง ไคงุง) เป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น

การรุกรานแมนจูเรียของญี่ปุ่น เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพคันโตของจักรวรรดิญี่ปุ่น เข้ารุกรานดินแดนแมนจูเรียของจีน ในเหตุการณ์สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1931 ภายหลังการบุกยึดดินแดนมุกเดน ต่อมาเกิดการเจรจาพักรบตางกู ญี่ปุ่นได้ครอบครองดินแดนแมนจูเรียกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต

การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต ยังเป็นที่รู้จักในฐานะกลยุทธปฏิบัติการรุกแมนจูเรีย (Манчжурская стратегическая наступательная операция, lit. Manchzhurskaya Strategicheskaya Nastupatelnaya Operaciya) หรือปฏิบัติการแมนจูเรีย (Маньчжурская операция) เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 1945 กองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตได้รุกรานรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่นคือรัฐแมนจูกัว มันเป็นการทัพครั้งสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองและใหญ่ที่สุดของสงครามโซเวียต-ญี่ปุ่น ในปี 1945 ที่ได้กลับมาสู้รบกันอีกครั้งระหว่างสหภาพโซเวียตและจักรวรรดิญี่ปุ่น หลังจากสงบศึกกันเป็นเวลาเกือบหกปี ผลประโยชน์ที่ได้รับของโซเวียตคือ แมนจูกัว, เหม่งเจียง (มองโกลเลีย), ดินแดนเกาหลีทางตอนเหนือ.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูเมจิ

การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการฟื้นฟูเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

การพักรบตางกู

การเจรจาที่ตางกู การพักรบตางกู (Tangku Truce), เป็นการพักรบ ระหว่างประเทศจีนกับจักรวรรดิญี่ปุ่น ที่อำเภอตางกู เทียนจิน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 อย่างเป็นทางการ ภายหลังญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรียเมื่อสองปีที่แล้ว.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการพักรบตางกู · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่นานกิง

การสังหารหมู่นานกิง (Nanking Massacre หรือ Nanjing Massacre) หรือรู้จักกันในนามการข่มขืนนานกิง (Rape of Nanking) เป็นการสังหารหมู่และการข่มขืนยามสงคราม (war rape) ซึ่งเกิดขึ้นเป็นเวลาหกสัปดาห์หลังญี่ปุ่นยึดนครนานกิง อดีตเมืองหลวงของสาธารณรัฐจีน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 1937 ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ในช่วงนี้ พลเรือนและทหารจีนที่ถูกปลดอาวุธหลายแสนคนถูกทหารกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นฆ่าTotten, Samuel.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการสังหารหมู่นานกิง · ดูเพิ่มเติม »

การทัพเจียงเกียว

การทัพเจียงเกียว เป็นชุดยุทธการที่เกิดขึ้นหลังจากกรณีมุกเดนระหว่างการรุกรานแมนจูเรียโดยกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงแรก ๆ ของสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการทัพเจียงเกียว · ดูเพิ่มเติม »

การคว่ำบาตร

การคว่ำบาตร (boycott) หมายถึง การยุติการติดต่อกันในมิติใดมิติหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการลงโทษ ต่อรอง หรือเพื่อตักเตือน โดยที่มาของคำว่าคว่ำบาตรในภาษาไทยมาจากศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาท แต่ส่วนใหญ่คำว่าคว่ำบาตรในประเทศไทยนั้นมักถูกใช้แทนความหมายของคำว่า boycott ในภาษาอังกฤษ ที่เป็นความหมายในด้านการค้าหรือการเมือง การคว่ำบาตร (boycott หรือ บอยคอต) ในทางการค้า มักจะใช้ในระดับการค้าระหว่างประเทศ โดยกลไกการคว่ำบาตรอาจจะมีทั้ง การไม่ยอมขายสินค้าหรือบริการให้ประเทศคู่ค้า หรือไม่ซื้อสินค้าหรือบริการจากประเทศคู่ค้า หรืออาจจะทั้งสองกรณีก็ได้ การคว่ำบาตรในความหมายทางการค้าจึงถือได้ว่าเป็นอาวุธทางเศรษฐกิจที่ร้ายกาจอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ต่อรองให้คู่กรณีจำยอมในข้อตกลงด้านอื่น ๆ เช่น ด้านการทูต การเมือง วัฒนธรรม การทหาร หรือแม้แต่ด้านการค้า เนื่องเพราะทุกประเทศในโลกต้องค้าขายกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่ตนเองไม่สามารถผลิตเองได้ หรือผลิตได้ไม่พอกับความต้องการในประเท.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการคว่ำบาตร · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติซินไฮ่

การปฏิวัติซินไฮ่ (Xinhai (Hsinhai) Revolution) หรืออีกชื่อว่า การปฏิวัต..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการปฏิวัติซินไฮ่ · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศสงคราม

การโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ การประกาศสงคราม คือคำประกาศอย่างเป็นทางการ กระทำโดยชาติใดชาติหนึ่งเพื่อแสดงว่าสถานะทางกฎหมายของการสู้รบระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นแล้ว.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการประกาศสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

การป้องกันกำแพงเมืองจีน

การป้องกันกำแพงเมืองจีน (1 มกราคม 1933 — 31 พฤษภาคม 1933) เป็นชุดการรบระหว่างกองทัพของ สาธารณรัฐจีนกับจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งเกิดขึ้นก่อนสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง เริ่มอย่างเป็นทางการใน 1937 หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการป้องกันกำแพงเมืองจีน · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ก๊กมินตั๋ง

รรคชาตินิยมจีน (Chinese Nationalist Party) หรือมักเรียกว่า ก๊กมินตั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กั๋วหมินตั่ง ตามสำเนียงกลาง (Kuomintang; ย่อว่า KMT) เป็นพรรคการเมืองแนวอนุรักษนิยมของสาธารณรัฐจีน ซึ่งยังคงดำรงอยู่ในไต้หวัน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและก๊กมินตั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไต้หวัน

กาะไต้หวัน เกาะไต้หวัน (ไถวาน; ภาษาไต้หวัน: Tâi-oân) เป็นเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้จีนแผ่นดินใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันปกครองโดยสาธารณรัฐจีน แยกเป็นเอกเทศจากสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่ในทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือว่าสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช แม้เรามักจะเรียกกันติดปากว่าประเทศไต้หวันก็ตาม แต่เดิมเกาะไต้หวันมีชื่อว่า เกาะฟอร์โมซา (Formosa) หรือ Ilha Formosa ในภาษาโปรตุเกส แปลว่า "เกาะสวยงาม" เนื่องจากประเทศโปรตุเกสเคยเดินทางมายังเกาะนี้และได้ตั้งชื่อเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ยึดเอามาเป็นอาณานิคม.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและภูมิศาสตร์ไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานตง

มณฑลชานตง ใช้ตัวย่อว่า 鲁 (หลู่) ที่มาของชื่อมณฑลชานตงมาจากคำว่า ชาน (山, shān) ที่หมายถึงภูเขา และคำว่า ตง (东, dōng) ที่หมายถึงทิศตะวันออก มณฑลชานตงมีเมืองหลวง (เมืองใหญ่สุด) คือเมืองจี๋หนาน มณฑลนี้มีเนื้อที่ 156,700 ตารางกิโลเมตร (อันดับที่ 20 ของจีน) แต่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของจีน คือประมาณ 91,800,000 คน (2004) มีความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 586 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ 5 ของจีน ตัวเลข GDP รวมในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและมณฑลชานตง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ ซัวไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ชื่อย่อ จิ้น (晋) เป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแม่น้ำเหลืองในภาคเหนือของประเทศจีน คำว่า "ชานซี" แปลตรงตัวว่า ทิศตะวันตกของภูเขา เนื่องจากมณฑลตั้งอยู่ทางตะวันตกของภูเขาไท่หัง มีเมืองเอกชื่อ ไท่หยวน มีเนื้อที่ 156,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 33,350,000 คน ความหนาแน่น 213 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 304.2 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9120 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและมณฑลชานซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหอเป่ย์

มณฑลเหอเป่ย์ (河北省) ชื่อย่อ จี้(冀)ตั้งอยู่ระหว่างที่ราบสูง มองโกเลียในและที่ราบภาคเหนือของประเทศ เป็นมณฑลที่อยู่ล้อมรอบนครสำคัญคือ ปักกิ่ง และเทียนจินมีเมืองหลวงชื่อ ฉือเจียจวง มีเนื้อที่ 187,700 ก.ม.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและมณฑลเหอเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ซูโจว

ทธการที่ซูโจว เป็นการรบระหว่างสาธารณรัฐจีนกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง หลังจากที่ญี่ปุ่นยึดเมืองนานกิงได้ก็เริ่มโจมตีเมืองซูโจวต่อ ในเดือนมีนาคม 1938 กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครองมณฑลซานตงทั้งหมด ทหารสาธารณรัฐจีน 64 กองพล 600,000 นายรวมพลที่ชายฝั่งทางทิศใต้ในมณฑลเจียงซูทันทีเพื่อโจมตีตอบโต้การรุกรานของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและยุทธการที่ซูโจว · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่นานกิง

ทธการที่นานกิง เริ่มหลังจากยุทธการเซี่ยงไฮ้เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและยุทธการที่นานกิง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ (พ.ศ. 2480)

ทธการที่เซี่ยงไฮ้ เป็นหนึ่งในภารกิจสำคัญของการต่อสู้ระหว่าง กองทัพปฏิวัติชาติของสาธารณรัฐจีนและกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นของจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วง สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง การรบครั้งนี้เป็นหนึ่งในการต่อสู้ที่ใหญ่ที่สุด จนนักเขียนเกี่ยวกับการสงคราม ปีเตอร์ ฮาร์มเซิน (Peter harmsen) ขนานนามว่าเป็น สตาลินกราดแห่งแยงซีเกียง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ (พ.ศ. 2480) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการฉางชา (1939)

ทธการฉางชา (17 กันยายน – 6 ตุลาคม ค.ศ. 1939) เป็นความพยายามครั้งแรกของญี่ปุ่นในการยึดครองฉางชา ประเทศจีน ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและยุทธการฉางชา (1939) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและรัฐหุ่นเชิด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ลอดลายมังกร

ลอดลายมังกร เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย ประภัสสร เสวิกุล ว่าด้วยเรื่องราวของชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ที่ชื่อ เหลียง สือพาณิชย์ ที่สร้างเนื้อสร้างตัวจากเสื่อผืนหมอนใบจนกลายเป็นมหาเศรษฐี ได้รับรางวัลชมเชยประเภทนวนิยาย จากการประกวดหนังสือดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและลอดลายมังกร · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

วาง จิงเว่ย

วางจิงเว่ย (汪精衛; 4 เมษายน พ.ศ. 2426 – 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487) เป็นนักการเมืองจีน เป็นสมาชิกปีกซ้ายของพรรคก๊กมินตั๋ง และไม่เห็นด้วยกับการกระทำของเจียงไคเช็.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและวาง จิงเว่ย · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสันนิบาตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949) · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม

ระเบิดนิวเคลียร์ที่ นางาซากิในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงคราม (war) คือ สถานะความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างองค์การที่เป็นอิสระ (เช่น รัฐและตัวแสดงที่มิใช่รัฐ) หรือแนวร่วมขององค์การดังกล่าว โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นการรุกราน การทำลายล้างรวมสุดขีดและปกติมีอัตราตายสูง ชุดเทคนิคที่กลุ่มใช้ดำเนินสงคราม เรียก การสงคราม (warfare) การปลอดสงคราม ปกติเรียก สันติภาพ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการสงครามเป็นสากลและเป็นส่วนที่สืบมาแต่บรรพชนของธรรมชาติมนุษย์ แต่บางส่วนก็แย้งว่าสงครามเป็นเพียงผลลัพธ์แห่งกรณีแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรมหรือระบบนิเวศเฉพาะ ใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฝิ่น

รือ เอชอีไอซี เนเมซิส ทำลายเรือสำเภาของจีนระหว่างยุทธนาวีชุนปิครั้งที่สอง วันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1841 การปะทะที่กว่างโจวระหว่างสงครามฝิ่นครั้งที่สองสงครามฝิ่น (Opium Wars; 鸦片战争) เป็นสงครามสองครั้งในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทอังกฤษ-จีนในเรื่องการค้าของบริเตนในจีนและเอกราชของจีน ข้อพิพาทนี้มีสงครามฝิ่นครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1839–1842) และสงครามฝิ่นครั้งที่สอง (ค.ศ. 1856–1860) สงครามและเหตุการณ์ระหว่างสงครามบั่นทอนกำลังของราชวงศ์ชิงและลดการแยกตัวของจีนจากส่วนอื่นของโลก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงครามฝิ่น · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง หรือ สงครามเจี่ยอู่ (甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์ ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปซิฟิก

งครามแปซิฟิก (Pacific War) หรือ สงครามมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia War; 大東亜戦争, Dai Tō-A Sensō) เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม 1941 เมื่อญี่ปุ่นบุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของบริติช ได้แก่ มาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง ตลอดจนฐานทัพสหรัฐในหมู่เกาะฮาวาย หมู่เกาะเวก เกาะกวมและฟิลิปปินส์ ทว่า สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีนมีมาต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 1937 โดยมีความเป็นปรปักษ์ย้อนหลังไปถึงวันที่ 19 กันยายน 1931 เมื่อประเทศญี่ปุ่นบุกครองแมนจูเรีย จักรวรรดิญี่ปุ่นเริ่มนโยบายชาตินิยมโดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงครามแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ

นธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ หรือ สนธิสัญญาหม่ากวัน ในภาษาจีน เป็นสนธิสัญญาระหว่างจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศจีน โดยราชวงศ์ชิง เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

หนานจิง

หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ. 2470 ถึง พ.ศ. 2492 โดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีผู้นำขณะนั้น คือ นายพลเจียงไคเช็ค หลังสถาปนาเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลใหม่จึงได้ย้ายเมืองหลวงกลับมายังปักกิ่งดังเดิม บรรพบุรุษชาวหนานจิง จำนวนมากอพยพมาจากปักกิ่งตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง จึงมีส่วนทำให้ภาษาหนานจิงมีสำเนียงคล้ายภาษาจีนกลางที่ฟังเข้าใจได้ทั่วไป จนทำให้ปัจจุบันหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุดในประเทศจีน แต่เนิ่นๆการพัฒนา ตั้งแต่ 3 ราชอาณาจักรระยะเวลาหนานจิงได้กลายเป็นศูนย์แห่งอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมของหนานจิงราชวงศ์ถูกขยายเพิ่มเติมและเมืองกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่เจริญมากที่สุดในจีน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและหนานจิง · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะกิ โทโจ

กิ โทโจ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2427 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2491) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของญี่ปุ่น (สมัยที่ 40) และเป็นผู้บัญชาการกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากนี้ เขายังรู้จักกับแฮร์มันน์ เกอริง, พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นการส่วนตัวตั้งแต่สมัยเรียนวิชาการทหารอยู่ที่เยอรมัน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและฮิเดะกิ โทโจ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรพรรดิเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรวรรดินิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จูเต๋อ

อมพลจูเต๋อ (1 ธันวาคม 1886- 6 กรกฎาคม 1976) ผู้นำกำลังทหารสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจูเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จีนโพ้นทะเล

วจีนโพ้นทะเล (อังกฤษ: Overseas Chinese; จีน: 華僑 huáqiáo หัวเฉียว, 華胞 huábāo หัวเปา, 僑胞 qiáobāo เฉียวเปา, 華裔 huáyì หัวอี้) คือ กลุ่มคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ภายนอกประเทศจีน คำว่าประเทศจีนในที่นี้ หมายความได้ถึง จีนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งดินแดนภายใต้การปกครองของรัฐบาล สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และ ไต้หวัน (สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่า ไต้หวัน เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของตน และปัจจุบัน สหประชาชาติ มิได้รับรองฐานะไต้หวันให้เป็นสาธารณรัฐจีนแต่อย่างใ.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจีนโพ้นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

จี่หนาน

จี๋หนาน เป็นเมืองหลวงของมณฑลชานตงสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ตั้งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของมณฑลชานตง หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:เมืองในมณฑลซานตง หมวดหมู่:เมืองเอกของมณฑลในจีน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและจี่หนาน · ดูเพิ่มเติม »

ถงเหมิงฮุ่ย

ถงเหมิงฮุ่ย (แปลตามตัวอักษร:United Allegiance Society) คือ สมาพันธ์ความร่วมมือเพื่อการปฏิวัติประชาธิปไตยจีน (Chinese Revolutionary Alliance) หรือยังรู้จักกันอีกในนาม สหสันนิบาตจีน (Chinese United League) เป็นสมาคมลับที่ทำการเคลื่อนไหวใต้ดินต่อต้านราชวงศ์ชิง ก่อตั้งโดยซุนยัตเซ็นและซ่งเจี้ยวเหรินที่กรุงโตเกียวของญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1905 หลังจากการเยือนสิงคโปร์ของซุนยัตเซ็น ในปี ค.ศ. 1906 สาขาหนานหยางก็ได้ถูกตั้งขึ้นที่นั่น โดยถูกใช้เป็นกองบัญชาการกลางขององค์กรในเอเชียอาคเนย์ ต่อมา เมื่อก่อตั้งสาธารณรัฐจีนสำเร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1912 ถงเหมิงฮุ่ยก็ได้พัฒนาไปเป็นกว๋อหมินตั่งหรือพรรคคณะชาติ หมวดหมู่:ประเทศจีน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและถงเหมิงฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ขี้โรคแห่งเอเชีย

วลีคำว่า "ขี้โรคแห่งเอเชีย" หรือ "คนป่วยแห่งเอเชีย" (Sick man of Asia) เป็นคำใช้เรียกประเทศจีนอย่างดูถูกดูแคลนในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อประเทศจีนได้ตกอยู่ในสภาพอ่อนแอถูกรุกรานและถูกขูดรีดเอาเปรียบจากเหล่าประเทศมหาอำนาจชาติตะวันตกและญี่ปุ่น ที่ใช้ลัทธิล่าอาณานิคมหรือจักรวรรดินิยมมาคุกคาม เริ่มตั้งแต่เหตุการณ์สงครามฝิ่นกับจักรวรรดิอังกฤษทำให้ประเทศจีนต้องถูกบังคับให้ลงนามในสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ความรู้สึกต่ำต้อยและอัปยศอดสูของชาวจีนปิดท้ายจนถึงขีดสุดเมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกรานประเทศจีนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คำวลีดังกล่าวได้เป็นที่ดูถูกเหยียดหยามชาวจีนโดยเฉพาะของชาวตะวันตกและชาวญี่ปุ่น จนกระทั่งปัจจุบันคนจีนจำนวนมากยังไม่ลืมประวัติศาสตร์ในยุคดังกล่าว มีการเรียนรู้สั่งสอนถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นเพื่อให้คนจีนรุ่นใหม่ไม่ลืมช่วงเวลาอันแสนอัปยศขมขื่น ถือเป็นบทเรียนที่ชาวจีนทั่วโลกมักจะตระหนักจดจำอยู่เสมอ.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและขี้โรคแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประเทศแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

นางบำเรอ

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่ย่างกุ้ง ประเทศพม่า เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2488 นางบำเรอ (comfort women) เป็นคำเรียกสตรีซึ่งถูกทหารในสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นเอาตัวลงเป็นทาสกามารมณ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและนางบำเรอ · ดูเพิ่มเติม »

แมนจูเรีย

นแดนแมนจูเรีย แมนจูเรีย เป็นแคว้นหนึ่งทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ในบางบริบทอาจหมายถึงแคว้นหนึ่งของประเทศจีน (ปัจจุบันเรียกว่าจีนตะวันออกเฉียงเหนือ) หรือครอบคลุมถึงประเทศรัสเซีย ดินแดนนี้เป็นถิ่นอาศัยของชาวเซียนเปย์ ชาวชี่ตัน และชาวแมนจู (ชื่อแคว้นมาจากชื่อชนกลุ่มนี้) ซึ่งสถาปนารัฐของตนขึ้นหลายรัฐในดินแดนนี้.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและแมนจูเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น

กาหลีภายใต้การปกครองของมหาจักรวรรดิญี่ปุ่น หรือ เกาหลีของญี่ปุ่น หมายถึงช่วงเวลาที่แผ่นดินเกาหลีที่มีสถานะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี ในปี..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เสิ่นหยาง

นหยาง เดิมชื่อ มุกเดน (แมนจู: 17px) หรือ เฟิ่งเถียน เป็นเมืองเอกของมณฑลเหลียวหนิง ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีพื้นที่ 12,924 ตารางกิโลเมตร และประชากร 7.2 ล้านคน ในเขตเมืองมีพื้นที่ 7,400 ตารางกิโลเมตร และประชากร 5.53 ล้านคนในอดีตเคยเป็นราชธานีของอาณาจักรโฮ่วจินหรือราชวงศ์ชิงก่อนที่จะย้ายมายังปักกิ่ง หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:มณฑลเหลียวหนิง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเสิ่นหยาง · ดูเพิ่มเติม »

เหมา เจ๋อตง

หมา เจ๋อตง หรือ เหมา เจ๋อตุง (26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 — 9 กันยายน พ.ศ. 2519) หรือที่นิยมเรียกอีกอย่างว่า ท่านประธานเหมา เป็นผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน และทำให้จีนเปลี่ยนระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเหมา เจ๋อตง · ดูเพิ่มเติม »

เหมิ่งเจียง

เหมิ่งเจียง เป็นเขตปกครองตนเองในมองโกเลีย เป็นรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ประกอบด้วยจังหวัดของชาร์ฮาร์และสุย-ยฺเหวี่ยน ซึ่งอยู่ในภูมิภาคของ​​มองโกเลียใน ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจีน รัฐแห่งนี้เรียกแบบไม่เป็นทางการว่า เหมิงกู่กั๋ว (蒙古国) มีสถานะรัฐคล้ายคลึงกับแมนจูกัว รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่นในแมนจูเรีย สำหรับเหมิ่งเจียง แล้ว เมืองหลวงอยู่ที่จางเจียโข่ว โดยญี่ปุ่นได้ส่งเจ้าชายมองโกลนามว่าเดมชูงดองรอปซ์ ไปปกครองเหมิ่งเจียง หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศจีน หมวดหมู่:สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2479 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2488 หมวดหมู่:รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเหมิ่งเจียง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล

ำลองเหตุการณ์การรบในเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล ในพิพิธภัณฑ์ฮ่องกง เหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล (Marco Polo Bridge Incident) คือการรบระหว่างกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นกับกองทัพคณะปฏิวัติแห่งชาติจีน เป็นจุดแตกหักที่ทำให้เกิดสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (พ.ศ. 2480-2488) ตัวสะพานหินอ่อนสถานที่เกิดเหตุการณ์ มีชื่อว่า สะพานหลูโกว ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สะพานมาร์โค โปโล โครงสร้างเป็นสถาปัตยกรรมโค้ง 11 โค้งอันสวยงาม ปฏิสังขรณ์โดยจักรพรรดิคังซี (พ.ศ. 2205-2265).

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเหตุการณ์สะพานมาร์โค โปโล · ดูเพิ่มเติม »

เผิงหู

หมู่เกาะเผิงหู (สีแดง) เทศมณฑลเผิงหู (澎湖群島) คือหมู่เกาะชายฝั่งทางด้านตะวันตกของสาธารณรัฐจีน ซึ่งในอดีตปกครองสาธารณรัฐประชาชนจีนต่อจากราชวงศ์ชิง เกาะเล็กครอบคลุมพื้นที่ 141 ตารางกิโลเมตร เทศมณฑลเผิงหูถูกดำเนินการปกครองโดยสาธารณรัฐจีน(ไต้หวัน) เมืองหลวง Magong ซิตี้ เนื้อที่ทั้งหมด 141.052 ตารางกิโลเมตร ประชากรทั้งหมด 91,950 (ข้อมูลปี พ.ศ. 2550) ความหนาแน่นประชากร 724.79 คน/ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเผิงหู · ดูเพิ่มเติม »

เจียง ไคเชก

ียง ไคเชก (Chiang Kai-shek; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1887 — 5 เมษายน ค.ศ. 1975) หรือชื่อตามภาษาจีนมาตรฐาน คือ เจี่ยง จงเจิ้ง (蔣中正) หรือ เจี่ยง เจี้ยฉือ (蔣介石) เป็นผู้นำจีน เจียงจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นขุนศึกค้ำบัลลังก์ของซุน ยัตเซน ได้เป็นผู้นำของจีนระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเจียง ไคเชก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน

้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน เป็นพระอนุวงศ์ญี่ปุ่นและเสนาธิการกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเจ้าชายโคะโตะฮิโตะ เจ้าคังอิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ เดอะ มูฟวี่

้าพ่อเซี่ยงไฮ้ เดอะ มูฟวี่ (จีนตัวเต็ม: 新上海灘, จีนตัวย่อ: 新上海滩, พินอิน: Xīn Shànghǎi Tān; Shanghai Grand) ภาพยนตร์ดราม่า-แอ็คชั่นสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว, เลสลี่ จาง, หนิง จิง อำนวยการสร้างโดย ฉีเคอะ กำกับโดย ทัง หยวนเฉี.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ เดอะ มูฟวี่ · ดูเพิ่มเติม »

เทียนจิน

ทียนจิน หรือ เทียนสิน (พินอินระบบไปรษณีย์: Tientsin) คือหนึ่งใน 4 เทศบาลนครของจีน เทศบาลนครเทียนจินมีระดับเทียบเท่ากับมณฑลและปกครองจากรัฐบาลกลางโดยตรง พื้นที่ของเทียนจินเป็นเมืองที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศจีน มีฉายา "เซี่ยงไฮ้ทางเหนือ" เนื่องจากประวัติที่เดิมเคยเป็นเมืองเช่าของตะวันตก การส่งออกอุตสาหกรรมหนัก เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่และมีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเทียนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตปกครองตนเองมองโกเลียใน (มองโกล) มีลักษณะพื้นที่แคบยาวพาดตามชายแดนภาคเหนือของจีน กั้นระหว่างจีนกับประเทศมองโกเลียและรัสเซีย มีเมืองหลวงชื่อ ฮูฮอต มีเนื้อที่ 1,183,000 ก.ม.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปลอดทหาร

ตปลอดทหาร (demilitarized zone หรือ demilitarised zone; ย่อ: DMZ) เป็นท้องที่ที่ห้ามดำเนินกิจกรรมทางทหาร โดยมักเป็นเขตแดนหรือพรหมแดนระหว่างอำนาจหรือพันธมิตรทางทหารสองฝ่ายหรือกว่านั้น และการห้ามเช่นว่ามักมีขึ้นโดยอาศัยสนธิสัญญาสันติภาพ การสงบศึก ความตกลงทวิหรือพหุภาคี บ่อยครั้งที่เขตปลอดทหารอยู่ในพื้นที่ควบคุมและทำหน้าที่เป็นเขตแดนระหว่างประเทศอย่างแท้จริง เขตปลอดทหารหลายแห่งกลายเป็นเขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่าไปโดยมิได้ตั้งใจ เพราะอันตรายเกินกว่าจะปลูกสร้างสิ่งใด ๆ ทั้งน้อยคนจะสามารถรุกล้ำหรือล่าสัตว์ในนั้นได้ เขตปลอดทหารทำนองนี้มีเขตปลอดทหารเกาหลี และเขตปลอดทหารเวียดนาม เป็นต้น โดยทั่วไป ที่ว่า "ปลอดทหาร" นั้นหมายถึง แปลงให้พ้นจากประโยชน์หรือความมุ่งหมายทางทหาร กลับสู่อาณาเขตที่ปราศจากทหารสหภาพโซเวียตในอดีตมักใช้คำนี้ในความหมายดังกล่าวทั้งในภาษาตะวันตกและภาษาถิ่นของตัว แม้ว่าเขตปลอดทหารหลายเขตเป็นดินแดนที่เป็นกลาง เพราะไม่มีฝ่ายใดสามารถเข้าไปควบคุมได้ แม้เป็นการปกครองดูแลโดยมิใช่เพื่อการยุทธก็ตาม แต่ในหลายกรณี ท้องที่ท้องที่หนึ่งจะปลอดทหารก็ต่อเมื่อมีความตกลงให้รัฐหนึ่ง ๆ มีอำนาจเต็มในอันที่จะปกครองดูแลท้องที่นั้นได้ และก็เป็นไปได้ที่ขั้วอำนาจต่าง ๆ จะตกลงกำหนดเขตปลอดทหารกันโดยไม่ได้ตกลงระงับข้อเรียกร้องทางดินแดนซึ่งยังขัดแย้งกันอยู่ กระบวนการแบบนี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยวิถีทางอันสันติ เช่น การเจรจาทางทูต หรือเสนอข้อหาต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ อาจตกลงกำหนดเขตดังกล่าวกันโดยให้พักการเรียกร้องเช่นนั้นไว้ชั่วระยะหนึ่งก่อนก็ได้.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเขตปลอดทหาร · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน เฉิง

เฉิน เฉิง (4 มกราคม พ.ศ. 2440 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2508) ผู้นำทางการเมืองและการทหาร, และเป็นหนึ่งในหลัก กองทัพปฏิวัติแห่งชาติเป็นผู้บัญชาการในระหว่าง สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง และ สงครามกลางเมืองจีน หลังจากที่ย้ายไปไต้หวันที่ส่วนท้ายของสงครามกลางเมืองที่เขาทำหน้าที่เป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดไต้หวัน, รองประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ฉ หมวดหมู่:ทหารชาวจีนในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและเฉิน เฉิง · ดูเพิ่มเติม »

7 กรกฎาคม

วันที่ 7 กรกฎาคม เป็นวันที่ 188 ของปี (วันที่ 189 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 177 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและ7 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองและ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »