โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฏิทินจูเลียน

ดัชนี ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

21 ความสัมพันธ์: ราศีมกรฤดูกาลวิษุวัตสงครามพิวนิกครั้งที่สองอายันจักรพรรดิกาลิกุลาจักรพรรดิก็อมมอดุสจักรพรรดิดอมิติอานุสจักรพรรดิแนโรจักรพรรดิเอากุสตุสจูเลียส ซีซาร์ดวงอาทิตย์คาทอลิกปฏิทินปฏิทินเกรโกเรียนประเทศกรีซนักการเมืองโรมันเหมายัน25 ธันวาคม29 กุมภาพันธ์

ราศีมกร

ราศีมกร หรือ ราศีมังกร (Capricorn, Capricornus จากCapricornus แปลว่า "แพะมีเขา") เป็นราศีที่ 10 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีธนูกับราศีกุมภ์ มีสัญลักษณ์เป็นครึ่งแพะภูเขาครึ่งปลา ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีมกรนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 22 ธันวาคม ถึง 20 มกราคม ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 15 มกราคม ถึง 14 กุมภาพัน.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและราศีมกร · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูกาล

การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก ฤดูกาล (Season) เป็นช่วงเวลาในแต่ละปีที่แบ่งตามสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป เกิดขึ้นจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากแกนโลกเอียงเป็นมุม 23.5 องศา จึงทำให้ในแต่ละช่วงของปี แต่ละบริเวณจะได้รับแสงแดดไม่เท่ากัน ทำให้มีอุณหภูมิต่างกัน จึงเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น ในเขตอบอุ่นและเขตหนาว จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ซึ่งโดยทั่วไป ฤดูในเขตอบอุ่นของซีกโลกเหนือจะมีระยะเวลาดังนี้.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและฤดูกาล · ดูเพิ่มเติม »

วิษุวัต

ทิศทางของแสงอาทิตย์ที่ส่องถูกโลกในวันวิษุวัต ซึ่งเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง (ภาพไม่แสดงความเข้มน้อยของแสงสลัวเวลาเช้ามืดและหัวค่ำ) วิษุวัต (equinox) หรือ จุดราตรีเสมอภาค เป็นศัพท์ดาราศาสตร์ หมายถึงช่วงที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งตรงได้ฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลกพอดี ซึ่งจะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง หรือในหนึ่งรอบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ความเอียงของแกนโลกจะเลื่อนมาอยู่ในระนาบที่ได้ฉากกับตำแหน่งดวงอาทิตย์ ซึ่งวันนั้นกลางวันจะเท่ากับกลางคืน.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและวิษุวัต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพิวนิกครั้งที่สอง

งครามพิวนิกครั้งที่สอง หรือบ้างเรียกว่า สงครามฮันนิบาล หรือ สงครามต่อต้านฮันนิบาล (สำหรับชาวโรมัน) กินเวลาตั้งแต่ปีที่ 218 ก่อนคริสตกาลจนถึงปีที่ 202 ก่อนคริสตกาล ประกอบด้วยการรบย่อยๆ จำนวนมากทั้งทางฟากตะวันตกและตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สงครามนี้จัดว่าเป็นสงครามใหญ่ครั้งที่ 2 ระหว่างคาร์เทจกับสาธารณรัฐโรมัน โดยมีชาวเบอร์เบอร์เข้าร่วมด้วยในฝั่งของคาร์เทจ รัฐทั้งสองนี้มีสงครามใหญ่กันทั้งสิ้น 3 ครั้งตลอดช่วงเวลาที่ทั้ง 2 รัฐดำรงอยู่ เรียกชื่อว่า "สงครามพิวนิก" เนื่องจากชื่อของอาณาจักรโรมในภาษาคาร์เทจนั้นเรียกว่า "พิวนิชี" ตามภาษาฟีนีเชียนของบรรพบุรุษ สงครามนี้นบว่าเริ่มต้นขึ้นเมื่อฮันนิบาลเดินทางข้ามเทือกเขาแอลป์ไปบุกจู่โจมโรมโดยไม่ทันตั้งตัว ตามด้วยทัพพันธมิตรของชาวกอลที่ร่วมเข้าบดขยี้กองทัพโรมันในยุทธการทรีเบีย และการซุ่มโจมตีครั้งใหญ่ในยุทธการทราซิมีน ฝ่ายโรมันพ่ายแพ้ครั้งใหญ่ในยุทธการคันนาย หลังจากนั้น พันธมิตรของโรมันหลายเมืองยกทัพไปโจมตีคาร์เทจ และทำให้การรบในอิตาลียืดเยื้ออยู่นับทศวรรษ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กองทัพโรมันถูกทำลายไปเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ดี กองทัพโรมันสามารถเข้ายึดเมืองใหญ่หลายเมืองที่เข้ากับฝ่ายศัตรู และทำลายทัพคาร์เทจที่จะยกไปช่วยฮันนิบาลลงได้ในยุทธการเมเทารัส สกิปิโอ อัฟริกานุส นายพลชาวแอฟริกันซึ่งเป็นแม่ทัพโรมันสามารถเข้ายึดอาณาจักรคาร์เทจใหม่บนแผ่นดินสเปนได้ และเข้าครอบครองไอบีเรียในยุทธการอิลิปา สงครามสิ้นสุดลงในยุทธการซามา เมื่อสกิปิโอ อัฟริกานุส ประจันหน้ากับฮันนิบาลในแอฟริกา และฝ่ายหลังพ่ายแพ้ยับเยิน คาร์เทจยอมจำนนและตกเป็นรัฐอารักขาของโรมัน.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและสงครามพิวนิกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อายัน

อายัน (solstice) ในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ยังมีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "อายัน" เกิดขึ้นปีละ 2 ครั้งเช่นกัน อายันเกิดขึ้นทุกปีระหว่างวันที่ 20 หรือ 21 มิถุนายนเรียกว่า ครีษมายัน และในวันที่ 22 หรือ 23 ธันวาคมเรียกว่า เหมายัน หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า ตะวันอ้อมข้าว นอกจากนี้โลกยังมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันตลอดปี ช่วงที่ใกล้ที่สุดเกิดขึ้นในต้นเดือนมกราคม (147 ล้านกิโลเมตร) ส่วนช่วงที่ไกลที่สุดเกิดขึ้นในต้นเดือนกรกฎาคม (152 ล้านกิโลเมตร) เฉพาะแกนหมุนของโลกที่เอียง เมื่อโคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงมีผลสลับขั้วโลกเหนือ กับ ขั้วโลกใต้ เข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น ส่วนการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่มีระยะใกล้บ้าง ไกลบ้าง นั้น เป็นอัตราส่วนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับระยะห่างจากดวงอาทิตย์ จึงไม่ได้มีผล ต่อการเกิดฤดูกาลแต่อย่างใ.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและอายัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกาลิกุลา

กาลิกุลา (CALIGVLA) เป็นชื่อเล่นยอดนิยมที่ใช้เรียก กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ เอากุสตุส แกร์มานิกุส (GAIVS IVLIVS CAESAR AVGVSTVS GERMANICVS; 31 สิงหาคม ค.ศ. 12 – 24 มกราคม ค.ศ. 41) ผู้ดำรงตำแหน่งจักรพรรดิโรมันระหว่างปี ค.ศ. 37–41 จักรพรรดิกาลิกุลามีชื่อเกิดว่า กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ (GAIVS IVLIVS CAESAR; คนละคนกับจูเลียส ซีซาร์) เป็นบุตรของแกร์มานิกุสซึ่งเป็นหลานชายและบุตรบุญธรรมของจักรพรรดิติแบริอุส กับอากริปปีนาผู้อาวุโสซึ่งเป็นหลานสาวของจักรพรรดิเอากุสตุส กาอิอุสในวัยเด็กได้รับชื่อเล่น "กาลิกุลา" จากบรรดาทหารในสังกัดของบิดาขณะติดตามบิดาไปรบในแกร์มานิอา คำนี้แปลว่า "รองเท้าน้อย" แผลงมาจากคำว่า กาลิกา (CALIGA) ซึ่งเป็นรองเท้าแตะสานของทหารโรมัน หลังจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในกรุงโรมต่อจากบิดาบุญธรรมในช่วงแรก ทรงปกครองโรมันด้วยดีตลอดมาแต่ต่อมาภายหลังทรงมีจิตใจโหดเหี้ยมและมีจิตที่วิปริต-วิปลาส มีเรื่องเล่ากันว่า ทรงโปรดในการจับเชลยหรือประชาชนโยนให้ไปต่อสู้กับสิงโตในโคลอสเซียม,ทรงโปรดการฆ่าคนไม่เลือกหน้า,ทรงดำริจะอภิเษกสมรสและแต่งตั้งพระขนิษฐาแท้ของพระองค์ให้เป็นจักรพรรดินี, ทรงโปรดการร่วมเพศหมู่, ทรงแต่งตั้งม้าทรงโปรดของพระองค์ให้เป็นกงสุล รวมทั้งทรงหลงตัวว่าพระองค์คือพระเจ้าทำให้มีรับสั่งให้ทำลายรูปปั้นเทพเจ้าและสร้างรูปปั้นของพระองค์ให้ประชาชนบูชาพระองค์ว่าเป็นพระเจ้าแทน ทรงปกครองโรมันด้วยความโหดเหี้ยมและวิปริตมาเป็นเวลา 4 ปี ประชาชนชาวโรมันทนต่อการปกครองของจักรพรรดิกาลิกุลาไม่ไหวจึงตัดสินใจทำลอบปลงพระชนม์เสีย ในที่สุดพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์โดยถูกอาวุธมีคมแทงเมื่อวันที่ 24 มกราคม..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจักรพรรดิกาลิกุลา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิก็อมมอดุส

ักรพรรดิก็อมมอดุส เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัส ประสูติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 161 เมื่อพระชนมายุได้เพียง 15 ชันสา ก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจักรพรรดิก็อมมอดุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดอมิติอานุส

ติตุส ฟลาวิอุส ไกซาร์ ดอมิติอานุส เอากุสตุส (TITVS FLAVIVS CAESAR DOMITIANVS AVGVSTVS; 24 ตุลาคม ค.ศ. 51 – 18 กันยายน ค.ศ. 96) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์ฟลาวิอุส ที่ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเชษฐา จักรพรรดิทีตุสเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 81 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 96 โดยมีจักรพรรดิเนอร์วาเป็นผู้ครองราชย์ต่อม.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจักรพรรดิดอมิติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแนโร

แนโร เกลาดิอุส ไกซาร์ เอากุสตุส แกร์มานิกุส (NERO CLAVDIVS CAESAR AVGVSTVS GERMANICVS) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันองค์ที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 37 ที่เมืองอันติอูง จักรวรรดิโรมัน มีชื่อเต็มตอนเกิดว่า ลูกิอุส ดอมิติอุส อาเอนอบาร์บุส (LVCIVS DOMITIVS AHENOBARBVS) บิดาชื่อกไนอุส ดอมิติอุส อาเอนอบาร์บุส มารดาชื่ออากริปปีนา ซึ่งมีศักดิ์เป็นถึงน้องสาวของจักรพรรดิกาลิกุลา จักรพรรดิรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอ.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจักรพรรดิแนโร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเอากุสตุส

อิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส (IMPERATOR CAESAR DIVI FILIVS AVGVSTVS; 23 กันยายน 63 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 19 สิงหาคม ค.ศ. 14) เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมัน ทรงปกครองจักรวรรดิแต่เพียงผู้เดียวนับตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งสวรรคตใน..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจักรพรรดิเอากุสตุส · ดูเพิ่มเติม »

จูเลียส ซีซาร์

กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ (Caivs/Gaivs Ivlivs Caesar) หรือ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar; กรกฎาคม 100 ปีก่อน ค.ศ. – 15 มีนาคม 44 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นรัฐบุรุษ แม่ทัพ และผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอันเลื่องชื่อชาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์อันนำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน ใน 60 ปีก่อน..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและจูเลียส ซีซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทิน

ปฏิทินโบราณของฮินดู ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและปฏิทิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซ

กรีซ (Greece; Ελλάδα, Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (Hellenic Republic; Ελληνική Δημοκρατία, Ellinikí Dhimokratía) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและประเทศกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

นักการเมือง

นักการเมือง, ผู้นำทางการเมืองหรือบุคคลทางการเมือง (อังกฤษ: politician มาจากภาษากรีกโบราณ polis ที่แปลว่า "เมือง") เป็นบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะและการวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งรวมผู้ดำรงตำแหน่งวินิจฉัยสั่งการในรัฐบาล และผู้ที่มุ่งดำรงตำแหน่งเหล่านั้น ไม่ว่าด้วยวิธีการเลือกตั้ง การสืบทอด รัฐประหาร การแต่งตั้ง การพิชิต หรือวิธีอื่น การเมืองไม่ใช่จำกัดอยู่เพียงวิธีการปกครองผ่านตำแหน่งสาธารณะเท่านั้น ตำแหน่งทางการเมืองอาจถืออยู่ในบรรษัทก็ได้.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและนักการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน

รมัน อาจหมายถึง;ประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

เหมายัน

แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกในส่วนครึ่งซีกโลกใต้ในวันเหมายัน เหมายัน (เห-มา-ยัน) หรือ ทักษิณายัน (winter solstice) เป็นการที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ จุดสุดทางใต้ในราววันที่ 22 ธันวาคม เป็นจุดในฤดูหนาวในซีกโลกเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้จะเกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน มีกลางคืนนานกว่ากลางวัน, ตรงข้ามกับครีษมายัน (summer solstice).

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและเหมายัน · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กุมภาพันธ์

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..

ใหม่!!: ปฏิทินจูเลียนและ29 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จูเลียนปีจูเลียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »