โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน

ดัชนี ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการในเขตกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ ตั้งอยู่ในเขตซูนัน ห่างจากใจกลางนครประมาณ 24 กิโลเมตร เป็นฐานการบินหลักของสายการบินประจำชาติ แอร์โครยอ.

50 ความสัมพันธ์: ชินอึยจูช็องจินพ.ศ. 2496พ.ศ. 2543พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555การขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือภาษีมอสโกยูโรรัฐบาลรังสีเอกซ์วลาดีวอสตอคว็อนซันสหรัฐสงครามโลกครั้งที่สองสงครามเกาหลีอูลานบาตาร์ฮัมฮึงฮาร์บินท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติคูเวตท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโวต้าเหลียนประเทศอังกฤษประเทศเกาหลีเหนือปักกิ่งนัมโพน้ำท่วมแม่น้ำแทดงแอร์โครยอแอร์ไชนาแอโรฟลอตแฮจูแท็กซี่แคซ็องโทรศัพท์เคลื่อนที่โคเรียนแอร์ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์เสิ่นหยางเอเชียน่าแอร์ไลน์เปียงยาง13 พฤษภาคม

ชินอึยจู

นอึยจู เป็นเมืองหนึ่งในประเทศเกาหลีเหนือ ตรงข้ามฝั่งกับเมืองตานตง ประเทศจีน มีแม่น้ำยาลูไหลคั่นชายแดน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและชินอึยจู · ดูเพิ่มเติม »

ช็องจิน

อนุสรณ์สถานเมืองช็องจิน ภาพถ่ายทางอากาศ ช็องจิน เป็นเมืองหนึ่งในประเทศเกาหลีเหนือ และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดฮัมกย็องเหนือ และเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 3 ของประเทศ ประชากร ค.ศ. 2006 มีทั้งหมด 327,000 คน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและช็องจิน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือ

การคมนาคมต่างๆ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและการขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษี

ษี (tax, มาจากภาษาละติน taxo, "ข้าประเมิน") เป็นเงินหรือสิ่งของอื่นที่รัฐหรือสถาบันปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐเรียกเก็บจากผู้เสียภาษี ซึ่งอาจเป็นปัจเจกบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ กฎหมายมีบทลงโทษผู้ที่ไม่เสียภาษี ระบอบต่ำกว่ารัฐ (subnational entity) จำนวนมากยังมีการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ภาษีประกอบด้วยภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และอาจจ่ายเป็นรูปตัวเงินหรือการใช้แรงงานที่เทียบเท่า (มักเป็นการใช้แรงงานที่ไม่มีค่าตอบแทน แต่ไม่เสมอไป) ภาษีอาจนิยามได้ว่า "ภาระที่เป็นตัวเงินซึ่งตกแก่ปัจเจกบุคคลหรือเจ้าของทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนรัฐบาล เป็นการชำระซึ่งเรียกเอาจากองค์การใช้อำนาจนิติบัญญัติ"Black's Law Dictionary, p. 1307 (5th ed. 1979).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและภาษี · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาล

รัฐบาล คือองค์การที่มีอำนาจในการออกและบังคับใช้กฎหมาย สำหรับดินแดนหนึ่งๆ นิยามที่ชัดเจนของรัฐบาลนั้นมีอยู่หลายนิยาม ในกรณีทั่วไป รัฐบาล คือผู้ที่มีอำนาจในการปกครอง กล่าวคือมีอำนาจในการบริหารจัดการเหนือพื้นที่ใดๆ หรือเหนือกลุ่มคน รัฐบาลตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า government ซึ่งมีความหมายสองนัยยะ นัยยะแรกหมายถึงกิจกรรมการปกครอง และอีกความหมายหนึ่งคือคณะบุคคลที่มีอำนาจในการปกครอง หมวดหมู่:การปกครอง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

รังสีเอกซ์

รังสีเอกซ์มือของอัลแบร์ต ฟอน คืลลิเคอร์ ถ่ายโดยวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน รังสีเอกซ์ (X-ray หรือ Röntgen ray) เป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นในช่วง 10 ถึง 0.01 นาโนเมตร ตรงกับความถี่ในช่วง 30 ถึง 30,000 เพตะเฮิรตซ์ (1015 เฮิรตซ์) ในเบื้องต้นมีการใช้รังสีเอกซ์สำหรับถ่ายภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และงานผลึกศาสตร์ (crystallography) รังสีเอกซ์เป็นการแผ่รังสีแบบแตกตัวเป็นไอออน และมีอันตรายต่อมนุษย์ รังสีเอกซ์ค้นพบโดยวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน เมื่อ ค.ศ. 1895 ทฤษฎีอิเล็กตรอนสมัยปัจจุบัน อธิบายถึงการเกิดรังสีเอกซ์ว่า ธาตุประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากในอะตอมแต่ละตัวมีนิวเคลียสเป็นใจกลาง และมีอิเล็กตรอนวิ่งวนเป็นชั้น ๆ ธาตุเบาจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่น้อยชั้น และธาตุหนักจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่หลายชั้น เมื่ออะตอมธาตุหนักถูกยิงด้วยกระแสอิเล็กตรอน จะทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นในถูกชนกระเด็นออกมาวิ่งวนอยู่รอบนอกซึ่งมีภาวะไม่เสถียรและจะหลุดตกไปวิ่งวนอยู่ชั้นในอีก พร้อมกับปล่อยพลังงานออกในรูปรังสี ถ้าอิเล็กตรอนที่ยิงเข้าไปมีพลังงานมาก ก็จะเข้าไปชนอิเล็กตรอนในชั้นลึก ๆ ทำให้ได้รังสีที่มีพลังงานมาก เรียกว่า ฮาร์ดเอกซเรย์ (hard x-ray) ถ้าอิเล็กตรอนที่ใช้ยิงมีพลังงานน้อยเข้าไปได้ไม่ลึกนัก จะให้รังสีที่เรียกว่า ซอฟต์เอกซเรย์ (soft x-ray) กระบวนการเกิดหรือการผลิตรังสีเอกซ์ทั้งโดยฝีมือมนุษย์และในธรรมชาติ มีอยู่ 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและรังสีเอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค (p, แปลว่า ผู้ปกครองแห่งตะวันออก) เป็นเมืองขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออกของประเทศรัสเซีย ริมอ่าวโกลเดนฮอร์น ไม่ไกลจากพรมแดนจีนและเกาหลีเหนือ ประชากรในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและวลาดีวอสตอค · ดูเพิ่มเติม »

ว็อนซัน

ว็อนซัน (원산) เป็นเมืองท่า ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลญี่ปุ่น ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดคังว็อน เมืองมีประชากรราว 331,000 คน (ในปี ค.ศ. 2000) เป็นเมืองวิศวการและเป็นศูนย์กลางทางด้านวัฒนธรรม หมวดหมู่:เมืองในประเทศเกาหลีเหนือ หมวดหมู่:จังหวัดคังว็อน (ประเทศเกาหลีเหนือ).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและว็อนซัน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อูลานบาตาร์

อูลานบาตาร์ (Улаанбаатар, เสียงอ่าน) เป็นเมืองหลวงของมองโกเลีย ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและอูลานบาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมฮึง

ัมฮึง (Hamhung) เป็นเมืองทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกของประเทศเกาหลีเหนือ ประชากรค.ศ. 1993 ราว 709,000 คน เคยเป็นศูนย์กลางการค้าใน ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1910 และพัฒนาเป็นเมืองอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1920 ระหว่างสงคราม โรงงานได้ถูกทำลายจากการทิ้งระเบิดของสหรัฐอเมริกา นอกจากนั้นยังความสำคัญด้านสถาบันการศึกษาอีกด้ว.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและฮัมฮึง · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์บิน

ตำแหน่งของเมืองฮาร์บิน ถนนหัวเอ๋อในเขตเต้าหลี่ ฮาร์บิน หรือสำเนียงจีนกลางว่า ฮาเอ่อร์ปิน (แมนจู: 20px) เป็นเมืองเอกของมณฑลเฮย์หลงเจียง ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของแม่น้ำซงหัว ฮาร์บินเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และยังเป็นศูนย์กลางทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการสื่อสารคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จึงถือได้ว่าเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของจีนและของเอเชียด้านตะวันออกเฉียงเหนือ คำว่า ฮาร์บิน เป็นคำในภาษาแมนจู มีความหมายว่า "สถานที่ตากแห (จับปลา)".

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและฮาร์บิน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ. 2549 ท่าอากาศยานแห่งนี้รองรับผู้โดยสารจำนวนถึง 35 ล้านคน เพิ่มมากขึ้น 8% จากปีงบประมาณ 2548..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ตั้งอยู่ที่เมืองฟาร์วานิยา ประเทศคูเวต ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ของคูเวตซิตีประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินคูเวตแอร์เวย์ และเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการสูงสุด ของกองทัพอากาศคูเวต รวมถึงพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศคูเวต.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว (รัสเซีย: Международный Аэропорт Москва-Шереметьево) ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นหนึ่งในท่าอากาศสำคัญของกรุงมอสโก โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการเป็นรองท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอโรฟลอต และการที่ท่าอากาศยานแห่งนี้เกิดปัญหาในหลายด้าน ทำให้สายการบินจำนวนมาก ได้ทยอยเปลี่ยนเที่ยวบินจากเชเรเมเตียโวไปยังโดโมเดโดโว จึงได้มีการปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นการใหญ่ เพื่อให้มีบริการที่ได้ระดับมาตรฐานสากล โดยคาดว่าการปรับปรุงทั้งหมดจะแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว · ดูเพิ่มเติม »

ต้าเหลียน

ต้าเหลียน จัตุรัสจงซานในต้าเหลียน จัตุรัสมิตรภาพในต้าเหลียน ต้าเหลียน เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว ของมณฑลเหลียวหนิง และยังมีท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จนได้รับการขนานนามเป็น ฮ่องกงแห่งจีนเหนือ ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยถูกยึดครองทั้งจากญี่ปุ่น และรัสเซียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงศตวรรษที่ 20 จึงยังมีกลิ่นอายของบรรยากาศสถาปัตยกรรมแบบรัสเซียปะปนหลงเหลือให้เห็นอยู่บ้างภายในตัวเมือง ปัจจุบันต้าเหลียนมีสถานะเป็นเมืองเศรษฐกิจชายฝั่งทะเลที่สำคัญ และเจริญรุ่งเรืองมากของจีน จึงมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาลงทุนมากมาย โดยเฉพาะนักลงทุนชาวญี่ปุ่น เมืองต้าเหลียนตั้งอยู่ที่ปลายคาบสมุทรเหลียวหนิงล้อมรอบด้วยทะเล สามด้าน และเป็นเมืองตากอากาศที่สำคัญทางภาคเหนือ ทั้งยังเป็นเมืองที่มีความปลอดภัย และ สภาพแวดล้อมดีเลิศจนได้รับการจัดลำดับจาก สหประชาชาติให้เป็น 1 ใน 500 เมืองทั่วโลกที่มีสภาพแวดล้อมยอดเยี่ยมในปี 2001 และ จากการบริหารพัฒนาเมืองที่มีประสิทธิภาพ ต้าเหลียนจึงถูกยกฐานะเป็นเมืองต้นแบบใน การพัฒนา ให้กับเมืองต่างๆ ของจีน ตัวอย่างเช่น โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งได้ถูกทยอยย้ายออกไปอยู่นอกเมืองจนปัจจุบัน ต้าเหลียนจัดได้ว่าเป็นเมืองที่สะอาดและ อากาศดีที่สุดในจีนเหนือ หมวดหมู่:มณฑลเหลียวหนิง หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:เขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศจีน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและต้าเหลียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

นัมโพ

ทางอากาศ นัมโพ (ฮันกึล: 남포특급시, ฮันจา: 南浦特級市) เป็นเมืองในจังหวัดพย็องอันใต้ ประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเมืองที่ได้รับการปกครองโดยตรงตั้งแต่ ค.ศ. 1980 - ค.ศ. 2004 หลังจากนั้นก็ได้เปลี่ยนเป็นเมืองพิเศษมาจนถึงปัจจุบัน นัมโพอยู่ห่างจากเปียงยาง 50 กิโลเมตร ใกล้ปากแม่น้ำแทดง เดิมนั้นเป็นหมู่บ้านตกปลาขนาดเล็ก ต่อมาได้เป็นเมืองท่าที่สำคัญที่สุดในเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและนัมโพ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำท่วม

วัดไชยวัฒนารามที่ถูกน้ำท่วมในอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 น้ำท่วม เป็นการไหลล้นของห้วงน้ำซึ่งทำให้แผ่นดินจมอยู่ใต้น้ำ คำว่า "น้ำเอ่อล้น" (flowing water) ยังอาจใช้กับการไหลเข้าของกระแสน้ำ น้ำท่วมอาจเป็นผลของปริมาตรน้ำภายในแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำหรือทะเลสาบ ซึ่งไหลล้นหรือทลายคันดิน เป็นผลให้น้ำบางส่วนออกจากขอบเขตตามปกติของมัน ขณะที่ขนาดของทะเลสาบหรือแหล่งน้ำอื่นมีความแตกต่างกันตามการเปลี่ยนแปลงหยาดน้ำฟ้าและการละลายของหิมะตามฤดูกาล แต่น้ำนั้นมิใช่อุทกภัยที่สำคัญเว้นแต่น้ำนั้นออกมาคุกคามพื้นที่ดินที่มนุษย์ใช้ เช่น หมู่บ้าน นครหรือพื้นที่อยู่อาศัยอื่น น้ำท่วมยังสามารถเกิดในแม่น้ำได้ เมื่อการไหลนั้นเกินความจุของฝั่งน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่หัวเลี้ยว (bend) หรือทางน้ำโค้งตวัด (meander) อุทกภัยมักทำความเสียหายแก่บ้านและธุรกิจหากตั้งอยู่ในที่ราบน้ำท่วมถึงตามธรรมชาติ ขณะที่ความเสียหายอันเกิดจากอุทกภัยนั้นแท้จริงแล้วหมดไปได้โดยการย้ายออกจากแม่น้ำหรือแหล่งน้ำอื่น หากตั้งแต่สมัยโบราณ ผู้คนได้อาศัยและทำงานอยู่ริมน้ำเพื่อการยังชีพและได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวและการพาณิชย์ที่ถูกและง่ายโดยอาศัยอยู่ใกล้น้ำ การที่มนุษย์ยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมนั้นเป็นหลักฐานว่า มูลค่าที่สัมผัสได้ของการอาศัยอยู่ใกล้น้ำมีมากเกินมูลค่าของน้ำท่วมที่เกิดซ้ำเป็นเวล.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและน้ำท่วม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแทดง

แม่น้ำแทดง เป็นแม่น้ำสายหลักของประเทศเกาหลีเหนือ ไหลจากภูเขารังนิมทางตอนเหนือทางประเทศ ลงสู่อ่าวเกาหลีที่ นัมโพSuh, Dae-Sook (1987) "North Korea in 1986: Strengthening the Soviet Connection" Asian Survey 27 (1): pp.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแม่น้ำแทดง · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โครยอ

แอร์โครยอ (context, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแอร์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ไชนา

แอร์ไชนา (อังกฤษ: Air China, จีนตัวย่อ: 中国国际航空公司, พินอิน: Zhōngguó Guójì Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นรัฐวิสาหกิจในรัฐบาล และเป็นสายการบินใหญ่อันดับสองของจีนรองจากสายการบินไชนาเซาต์เทิร์นแอร์ไลน์ มีขนาดฝูงบินเป็นอันดับที่ 18 ของโลก มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง, ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว, และท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแอร์ไชนา · ดูเพิ่มเติม »

แอโรฟลอต

แอโรฟลอต แอร์บัส A320-200 แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเกศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโคว.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแอโรฟลอต · ดูเพิ่มเติม »

แฮจู

แฮจู เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดฮวังแฮใต้ในประเทศเกาหลีเหนือ เมื่อปี ค.ศ. 2000 มีประชากร 236,000 คน เป็นเมืองท่าที่สำคัญอีกเมืองหนึ่งของประเท.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแฮจู · ดูเพิ่มเติม »

แท็กซี่

รถแท็กซี่ในซานฟรานซิสโก แท็กซี่ เป็นการโดยสารสาธารณะประเภทหนึ่งสำหรับผู้โดยสารคนเดียว หรือกลุ่มเล็ก ๆ รถแท็กซี่เป็นยานพาหนะไว้สำหรับว่าจ้างโดยผู้ขับจะส่งผู้โดยสารระหว่างที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งตามที่ผู้โดยสารอยากจะไป แท็กซี่ เป็นคำย่อมาจาก แท็กซี่ แค็บ คิดค้นโดยแฮร์รี่ เอ็น อัลเลน นักธุรกิจชาวนิวยอร์กที่นำเข้ารถแท็กซี่มาจากฝรั่งเศส โดยย่อมาจากคำว่า แท็กซี่มิเตอร์ แค็บ อีกที ส่วนคำว่า cab มาจากคำว่า cabriolet คือรถม้าลากจูง และคำว่า taxi เป็นรากศัพท์ภาษาละตินในยุคกลาง ซึ่งมาจาก คำว่า taxa ที่หมายถึง ภาษีหรือการคิดเงิน และคำว่า meter มาจากภาษากรีกคำว่า metron แปลว่า วัดระยะทาง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแท็กซี่ · ดูเพิ่มเติม »

แคซ็อง

แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและแคซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

โทรศัพท์เคลื่อนที่

ตัวอย่างโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (บ้างเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ทโฟน โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและโทรศัพท์เคลื่อนที่ · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์

รียนแอร์ (ฮันกึล: 대한항공, ฮันจา: 大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962 ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์

China Southern head office ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินหนึ่งในสามสายการบินหลักสัญชาติจีน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เขตไป่หยวน เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลกในจำนวนผู้โดยสาร เป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย, และอันดับ 4 ของโลกในจำนวนผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป้หยวน และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง กับ 121 จุดหมายปลายทาง ปัจจุบันเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรทางการบินสกายทีม ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสิ่นหยาง

นหยาง เดิมชื่อ มุกเดน (แมนจู: 17px) หรือ เฟิ่งเถียน เป็นเมืองเอกของมณฑลเหลียวหนิง ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีพื้นที่ 12,924 ตารางกิโลเมตร และประชากร 7.2 ล้านคน ในเขตเมืองมีพื้นที่ 7,400 ตารางกิโลเมตร และประชากร 5.53 ล้านคนในอดีตเคยเป็นราชธานีของอาณาจักรโฮ่วจินหรือราชวงศ์ชิงก่อนที่จะย้ายมายังปักกิ่ง หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:มณฑลเหลียวหนิง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและเสิ่นหยาง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียน่าแอร์ไลน์

อเชียนาแอร์ไลน์ (Asiana Airlines) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่โซล สาธารณรัฐเกาหลี และเป็นหนึ่งในสองสายการบินหลักของเกาหลีใต้ เอเชียนาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของ Star Alliance และให้บริการเส้นทางการบินไปยังจุดหมายปลายทางภายในประเทศ 12 แห่ง และระหว่างประเทศ 73 แห่งใน 17 ประเทศ สำนักงานใหญ่และศูนย์กลางระหว่างประเทศของเอเชียนาแอร์ไลน์ตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน (ใกล้กับโซล) ขณะที่ศูนย์กลางภายในประเทศตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและเอเชียน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »