โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

ดัชนี การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือ ที่เรียกกันติดปากสั้น ๆ ว่า ดีเอสพี (DSP - digital signal processing) เป็นการศึกษาการประมวลผลสัญญาณที่อยู่ในรูปดิจิทัล (digital) โดยทั่วๆ ไป การประมวลผลสัญญาณ อาจแบ่งได้ตาม.

8 ความสัมพันธ์: การประมวลผลภาพดิจิทัลการประมวลผลสัญญาณเสียงการประมวลผลคำพูดภาพลีนาสัญญาณแอนะล็อกฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ดิจิทัลซอฟต์แวร์

การประมวลผลภาพดิจิทัล

การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) เป็นสาขาที่กล่าวถึงเทคนิคและขั้นตอนวิธีต่างๆ ที่ใช้การประมวลผลภาพที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (ภาพดิจิทัล) ภาพในที่นี้ รวมความหมายถึงสัญญาณดิจิทัลใน 2 มิติอื่นๆ โดยทั่วไปคำนี้เมื่อใช้อย่างกว้างๆ จะครอบคลุมถึงสัญญาณวิดีโอ (video) หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งจะเป็นชุดของภาพนิ่ง เรียกว่า เฟรม (frame) หลายๆภาพต่อกันไปตามเวลา ไฟล์:THvideostream.png วิดีโอสตรีม (video stream) (เบื้องหลังภาพลีนา หรือ ภาพเลนา) ซึ่งก็คือสัญญาณ 3 มิติ เมื่อนับเวลาเป็นมิติที่ 3 หรือ อาจจะครอบคลุมถึงสัญญาณ 3 มิติอื่นๆ เช่น ภาพ 3 มิติทางการแพทย์ หรือ อาจจะมากกว่านั้น เช่น ภาพ 3 มิติ และ หลายชนิด (multimodal image).

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและการประมวลผลภาพดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

การประมวลผลสัญญาณเสียง

การประมวลผลสัญญาณเสียง หรือ การประมวลเสียง เป็นกระบวนการเกี่ยวกับ 'ตัวแทนสัญญาณเสียง' หรือ เสียง ตัวแทนนี้อาจจะอยู่ในรูปดิจิทัลหรืออนาล็อก ตัวแทนในแบบอนาล็อกมักจะอยู่ในรูปไฟฟ้า โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าจะแทนความดันอากาศของคลื่นเสียง ในทำนองเดียวกัน ตัวแทนแบบดิจิทัล จะแทนความดันนั้นด้วยชุดของสัญลักษณ์ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปคือเลขฐานสอง.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและการประมวลผลสัญญาณเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การประมวลผลคำพูด

การประมวลผลคำพูด (speech processing) เป็นการศึกษาสัญญาณเสียงพูด และ วิธีในการประมวลผลสัญญาณประเภทนี้ การประมวลผลสัญญาณเสียงพูดในปัจจุบัน จะอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัล โดยสาขานี้มีเนื้อหาร่วมระหว่างการประมวลผลสัญญาณดิจิทัลกับการประมวลภาษาธรรมชาติ กล่าวคือมีการประมวลผลทั้งสองส่วน ทั้งตัวสัญญาณเสียง (พาหะนำสาร) และภาษา (สาร) การประมวลผลคำพูด อาจแบ่งเป็นหัวข้อย่อยได้ดังนี้.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและการประมวลผลคำพูด · ดูเพิ่มเติม »

ภาพลีนา

ลีนาส่วนหนึ่งที่ปรากฏในนิตยสารเพลย์บอย ภาพลีนา เป็นส่วนของภาพหน้ากลาง ของ Lena Soderberg ที่รู้จักกันดี และ ใช้กันอย่างกว้างขวาง เรียกได้ว่าเป็นภาพมาตรฐานในวงการการประมวลผลภาพดิจิทัล เลยก็ว่าได้ ผู้ใช้รูปนี้เป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับรู้ที่มาของรูปนี้แต่อย่างใด รูปนี้ได้ถูกใช้และตีพิมพ์ ในผลงานทางวิชาการอย่างกว้างขวาง อยู่เป็นเวลานาน ที่มาของรูปนี้เป็นรูปของ Lena Soderberg (ne Sjööblom) ชาวสวีเดน ซึ่งปรากฏ ในหน้ากลางของ นิตยสารเพลย์บอย ในปี 1972 และภาพนี้ได้ถูก ดิจิไตซ์ ที่ Signal and Image Processing Institute (SIPI) มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย โดย Alexander Sawchuk ซึ่งเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในขณะนั้น จาก บทความ ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter ของ IEEE Professional Communication Society: " ในปี 1973 นั้น ในขณะที่ Alexander Sawchuk กับนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของเขา กำลังง่วนหาภาพดี ๆ เพื่อที่จะ สแกนไปใช้ลงในงานตีพิมพ์สัมนาของเพื่อนร่วมงาน หลังจากที่ได้พยายามหาจากภาพที่มีอยู่ ก็มีแต่ภาพที่ไม่เร้าใจ ภาพที่เค้ามองหาอยู่นั้น จะเป็นภาพหน้าคน สี กระดาษผิวมัน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของระดับแสงสีที่ดี ก็พอดีมีคนเดินถือ นิตยสารเพลย์บอยฉบับใหม่เข้ามาพอดี พวกเขาก็เลยตัดเอาภาพท่อนบนจากหน้ากลาง เนื่องจากเขาต้องการภาพขนาด 512*512 และขึดความสามารถของ สแกนเนอร์ ทีใช้นั้นซึ่งสแกนได้ 100 เส้นต่อนิ้ว จึงตัดได้ภาพขนาด 5.12 นิ้ว ลงมาถึงหัวไหล่ของคนใน.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและภาพลีนา · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาณแอนะล็อก

ัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนำสัญญาณข้อมูลเหล่านี้ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อก คือ การส่งผ่านระบบโทรศัพท์ สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดขึ้นในธรรมชาติเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สัญญาณแบบนี้ เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและสัญญาณแอนะล็อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์

แผงวงจรในหน่วยประมวลผลกลางรุ่น PDP-11 ส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ หรือ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (computer hardware) หรือเรียกย่อว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware) เป็นชุดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบรวมกันเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนประกอบกายภาพ เช่น จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด แหล่งเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสก์ การ์ดจอ การ์ดเสียง หน่วยความจำ (RAM) แผงวงจรหลัก เป็นต้น ทั้งหมดเป็นวัตถุที่จับต้องได้ ในทางกลับกัน ซอฟต์แวร์ คือชุดคำสั่งที่สามารถจัดเก็บและทำงานด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์เป็นชุดของคำสั่งที่เครื่องอ่านได้ใด ๆ ที่กำหนดการทำงานคำสั่งต่าง ๆ ของหน่วยประมวลผล ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมกันได้เป็นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน ความจริง ขอบเขตที่แบ่งระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ไม่ได้ชัดเจน เพราะระหว่างกลางอาจจะมีเฟิร์มแวร์ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างมาโดยเฉพาะ เพื่อฝังไว้ในฮาร์ดแวร์อยู่ด้วย โดยที่ผู้ใช้ทั่วไป ไม่จำเป็นต้องกังวลกับเฟิร์มแวร์เหล่านี้ เพราะเป็นส่วนที่โปรแกรมเมอร์ และวิศวกรคอมพิวเตอร์ เป็นผู้ดูแล.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิทัล

ทัล (digital), เฉพาะชื่อเฉพาะอาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล) หรือในศัพท์บัญญัติว่า เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบแอนะล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณแอนะล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า การแทนความหมายเป็นดิจิทัลจะไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลที่ถูกแปลความหมายนั้นสามารถเป็นได้ทั้งไม่ต่อเนื่อง (เช่นตัวเลขหรือตัวหนังสือ) หรือต่อเนื่อง (เช่นเสียง,ภาพและการวัดอื่นๆ) คำว่าดิจิทัลที่มาจากแหล่งเดียวกันกับคำว่า digit และ digitus (ภาษาละตินแปลว่านิ้ว) เพราะนิ้วมือมักจะใช้สำหรับการนับที่ไม่ต่อเนื่อง นักคณิตศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของห้องปฏิบัติการโทรศัพท์เบลล์ ใช้คำว่าดิจิทัลในการอ้างอิงถึงพัลส์ไฟฟ้าเร็วที่ปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อเล็งและยิงปืนต่อต้านอากาศยานในปี 1942 มันเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการระบบคำนวณและระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริงจะถูกแปลงเป็นรูปแบบตัวเลขฐานสองเช่นในเสียงออดิโอดิจิทัลและการถ่ายภาพดิจิทัล.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

ซอฟต์แวร์

OpenOffice.org Writer ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส แ.

ใหม่!!: การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Digital signal processingDspดี เอส พีดีเอสพี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »