โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอปาย

ดัชนี อำเภอปาย

อำเภอปาย (25px) เป็นอำเภอขนาดเล็กทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่รู้จักกันดีในด้านความงามของธรรมชาต.

84 ความสัมพันธ์: ชาวกะเหรี่ยงพ.ศ. 1868พ.ศ. 1871พ.ศ. 1877พ.ศ. 1984พ.ศ. 2028พ.ศ. 2030พ.ศ. 2032พ.ศ. 2033พ.ศ. 2038พ.ศ. 2044พ.ศ. 2048พ.ศ. 2068พ.ศ. 2069พ.ศ. 2081พ.ศ. 2086พ.ศ. 2088พ.ศ. 2124พ.ศ. 2283พ.ศ. 2318พ.ศ. 2330พ.ศ. 2338พ.ศ. 2398พ.ศ. 2399พ.ศ. 2412พ.ศ. 2413พ.ศ. 2416พ.ศ. 2438พ.ศ. 2449พ.ศ. 2454พ.ศ. 2468พ.ศ. 2549พ.ศ. 2552พญายอดเชียงรายพญาแสนภูพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเมืองเกษเกล้าพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์พระเจ้ามโหตรประเทศพระเจ้าติโลกราชกรุงเทพมหานครกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดมะเส็งระการัฐชานราชวงศ์มังรายวัดเจดีย์หลวงศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปายสนธิสัญญาเบาว์ริงหมู่บ้าน...อักษรธรรมล้านนาอำเภอกัลยาณิวัฒนาอำเภอฝางอำเภอสะเมิงอำเภอปางมะผ้าอำเภอแม่แตงอำเภอเชียงดาวอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนอำเภอเมืองเชียงใหม่อำเภอเวียงแหงจังหวัดพะเยาจังหวัดลำพูนจังหวัดลำปางจังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงใหม่ทศพิธราชธรรมท่าอากาศยานปายท้าวซายคำตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกตองจีตำบลประเทศพม่าแม่น้ำสาละวินไทยวนไทลื้อไทใหญ่เมืองหมอกใหม่เมืองนายเขตการปกครองของประเทศไทย15 เมษายน21 กุมภาพันธ์3 พฤษภาคม3 กันยายน ขยายดัชนี (34 มากกว่า) »

ชาวกะเหรี่ยง

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร.

ใหม่!!: อำเภอปายและชาวกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1868

ทธศักราช 1868 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 1868 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1871

ทธศักราช 1871 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 1871 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1877

ทธศักราช 1877 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 1877 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1984

ทธศักราช 1984 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2028

ทธศักราช 2028 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2028 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2030 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2032

ทธศักราช 2032 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2032 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2033

ทธศักราช 2033 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2033 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2038

ทธศักราช 2038 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2038 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2044

ทธศักราช 2044 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2044 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2048

ทธศักราช 2048 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2048 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2069

ทธศักราช 2069 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2069 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2081

ทธศักราช 2081 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2081 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2088

ทธศักราช 2088 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2088 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2124

ทธศักราช 2124 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2124 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2283

ทธศักราช 2283 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2283 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: อำเภอปายและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พญายอดเชียงราย

ญายอดเชียงราย (90px) หรือ ท้าวยอดเมือง (70px) ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: อำเภอปายและพญายอดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

พญาแสนภู

ญาแสนภู (60px) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: อำเภอปายและพญาแสนภู · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: อำเภอปายและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระเมืองเกษเกล้า

ระเมืองเกษเกล้า หรือ พญาเกสเชษฐราช (100px) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 12 ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในครั้งที่ 1 พ.ศ. 2068 - 2081 (13 ปี) และครั้งที่ 2 พ.ศ. 2086 - พ.ศ. 2088 (2 ปี) ในการครองราชย์ครั้งแรกพระองค์ปกครองได้ 13 ปี พระองค์ก็ถูกยึดอำนาจจากพระโอรสของพระองค์คือ ท้าวซายคำ แต่ท้าวซายคำราชย์ได้แค่ 5 ปี ก็ถูกขุนนางปลดออกจากราชย์สมบัติ ต่อมาพญาเมืองเกษเกล้าได้ถูกอัญเชิญให้ขึ้นครองราชย์ แต่พระองค์ครองราชย์ได้แค่ 2 ปี พระองค์ก็ทรงเสียพระจริต พระองค์จึงถูกปลงพระชนม์เสี.

ใหม่!!: อำเภอปายและพระเมืองเกษเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์

ระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทน.

ใหม่!!: อำเภอปายและพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามโหตรประเทศ

ระเจ้ามโหตรประเทศ (100px) (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและพระเจ้ามโหตรประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: อำเภอปายและพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: อำเภอปายและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: อำเภอปายและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

มะเส็ง

right มะเส็ง เป็นชื่อปีที่ 6 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นงูเล็ก พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะเส็ง เช่น พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2580 และ พ.ศ. 2592 เป็นต้น โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย มีสีประจำปีคือสีส้มและสีฟ้า เป็นปีธาตุไฟ และมีทิศประจำปีคือทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้ หมวดหมู่:ปีนักษัตร หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: อำเภอปายและมะเส็ง · ดูเพิ่มเติม »

ระกา

right ระกา เป็นชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นไก่ พุทธศักราชที่ตรงกับปีระกา เช่น พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2572 พ.ศ. 2584 และ พ.ศ. 2596 เป็นต้น โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย หมวดหมู่:ปีนักษัตร หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: อำเภอปายและระกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: อำเภอปายและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์มังราย

ราชวงศ์มังราย (90px) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพญามังรายจนถึงพระเจ้าเมกุฎิสุทธิวงศ์ (ท้าวแม่กุ) เป็นเวลายาวนานกว่า 260 ปี จนถึงยุคเสื่อม เมื่ออุปนิกขิต (สายลับ) ที่พระเจ้าบุเรงนองส่งมาฝังตัวเพื่อรายงานสถานการณ์ในเชียงใหม่ แจ้งกลับไปบอกว่าเชียงใหม่ถึงยุคเสื่อมสุดแล้ว ให้ยกทัพหงสาวดีมาชิงเมือง ดังนั้น ใน..

ใหม่!!: อำเภอปายและราชวงศ์มังราย · ดูเพิ่มเติม »

วัดเจดีย์หลวง

วัดเจดีย์หลวง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอปายและวัดเจดีย์หลวง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปาย

ลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปาย ศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปาย เป็นศาลยุติธรรมของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีเขตอำนาจศาลครอบคลุมพื้นที่อำเภอปาย และอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน อาคารศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปาย เป็นอาคารที่มีความโดดเด่นในรูปแบบที่ไม่เหมือนกับศาลจังหวัดอื่น.

ใหม่!!: อำเภอปายและศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน สาขาปาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบาว์ริง

หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..

ใหม่!!: อำเภอปายและสนธิสัญญาเบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: อำเภอปายและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรธรรมล้านนา

ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง" อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (210px อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง; ᦒᧄ, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ อักษรยวน ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อและภาษาเขิน นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก.

ใหม่!!: อำเภอปายและอักษรธรรมล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกัลยาณิวัฒนา

กัลยาณิวัฒนา (75px) เป็นเขตการปกครองระดับอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัดเชียงใหม่ และอันดับที่ 878 ของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 และตั้งที่ว่าการอำเภอ ณ ตำบลแจ่มหลวงราชกิจจานุเบกษา,.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอกัลยาณิวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอฝาง

ฝาง (17px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ประชากรมีทั้งชาวไทยพื้นราบและชาวไทยภูเขา อำเภอฝางเป็นอำเภอศูนย์กลางความเจริญในเขตเชียงใหม่ตอนบน มีอำเภอบริวารคือ อำเภอแม่อายและอำเภอไชยปราการ มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองของจังหวัดเชียงใหม่ รองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มีทั้งประชากรจริงและประชากรแฝง อีกทั้งยังสามารถเดินทางไปจังหวัดเชียงรายได้อย่างสะดวกหลายช่องทาง ทำให้อำเภอฝางจะได้รับความเจริญจากจังหวัดเชียงรายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-อินโดจีนในอนาคต ในปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอฝาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะเมิง

มิง (30px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอเป็นทิวเขาสูง อากาศเย็นเกือบทั้งปี ประกอบด้วยชุมชนชาวไทยภูเขาจำนวนมาก สะเมิง เป็นเมืองที่ยังคงความเป็นธรรมชาติได้อย่างสมบูรณ์ มีทิวเขาสูงซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้จำนวนไม่น้อย รวมทั้งเป็นแหล่งปลูกพันธุ์ไม้เมืองหนาวและสตรอเบอร์รีแหล่งสำคัญของประเทศไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอสะเมิง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปางมะผ้า

อำเภอปางมะผ้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่บริเวณเหนือสุดของจังหวัด ได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอปางมะผ้า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่แตง

แม่แตง (60px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอแม่แตง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียงดาว

ียงดาว (60px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอต้นกำเนิดของแม่น้ำปิง อำเภอเชียงดาวมีอายุในการจัดตั้งเป็นอำเภอครบ 100 ปี ในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน

อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน (100px; မိူင်းမႄႈႁွင်ႈသွၼ်) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน และศูนย์ราชการของจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเชียงใหม่

มืองเชียงใหม่ (70px เมืองเจียงใหม่) เป็นศูนย์กลางการบริหาร ความเจริญศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ นับเป็นเมืองที่มีความเจริญมากที่สุดของจังหวัดและของภาคเหนือ และเป็นเมืองอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร อำเภอเมืองเชียงใหม่มีเขตนครเชียงใหม่และปริมณฑลล้อมรอบ ได้แก่ เมืองลำพูน หางดง สันกำแพง สารภี แม่ริม สันทราย สันป่าตอง ฯลฯ.

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอเมืองเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเวียงแหง

วียงแหง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งในปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและอำเภอเวียงแหง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: อำเภอปายและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพิธราชธรรม

ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม 10 คือจริยวัตร 10 ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรม ประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี ซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้น บุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้.

ใหม่!!: อำเภอปายและทศพิธราชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานปาย

ท่าอากาศยานเมืองปาย หรือ สนามบินเมืองปาย (Pai Airport) ตั้งอยู่ที่ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พัฒนาขึ้นจากความคิดริเริ่มของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อส่งเสริมศักยภาพธุรกิจการท่องเที่ยวของปาย รันเวย์เก่าที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่สองถูกเก็บรักษาไว้ใช้งานเป็นลานบินชั่วคราวสำหรับลำเลียงเสบียงอาหารทหารส่วนกลาง โดยเมื่อเร็วๆ นี้ ทางจังหวัดแม่ฮ่องสอนได้เข้ามาควบคุมดูแล และผลักดันให้ท่าอากาศยานแห่งนี้ได้รับการรับรองทางการค้า และอยู่ภายใต้การดูแลของกรมท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานได้รับการตกแต่งให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของปาย ท่าอากาศยานเมืองปายตั้งอยู่ห่างตัวเมืองประมาณ 1 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 72.3 ไร่ พร้อมรันเวย์ กว้าง 23 เมตร ยาว 1000 เมตร และเทอร์มินอลขนาดเล็กเพื่อรองรับผู้โดยสาร โดยสนามบินขนาดย่อมแห่งนี้มีรถดับเพลิงอากาศยานขนาด 2,000 ลิตร และอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชียวชาญจากท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน.

ใหม่!!: อำเภอปายและท่าอากาศยานปาย · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวซายคำ

ท้าวซายคำ (ᨴ᩶ᩣ᩠ᩅᨪᩣ᩠ᨿᨤᩴᩣ) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 13ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในปี พ.ศ. 2081 - 2086 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์ทรงยึดอำนาจจากพระญาเมืองเกษเกล้า ซึ่งเป็นพระราชบิดาของพระองค์ เมื่อพระองค์ครองราชย์ได้แค่ 5 ปี พระองค์ก็ถูกปลงพระชนม์เนื่องจากพระองค์ไม่อยู่ในทศพิธราชธรรม และเหล่าขุนนางก็อัญเชิญพระญาเมืองเกษเกล้าขึ้นครองต่อ ในสมัยของท้าวซายคำนี้ มีเหตุความวุ่นวายมากมาย เกิดการจลาจล และขุนนางต่างๆแยกออกเป็นกลุ่มๆ ต่อสู้ช่วงชิงอำนาจกัน.

ใหม่!!: อำเภอปายและท้าวซายคำ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ใหม่!!: อำเภอปายและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ตองจี

ตองจี (ไทใหญ่:, ต่องกฺยี๊; Taunggyi) เป็นเมืองหลวงของรัฐชานในประเทศพม่า ห่างจากอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 480 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนภูเขาสูง เนื้อที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร อากาศค่อนข้างเย็นตลอดปี เพราะที่นี่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,712 ฟุต ชื่อตองจีเป็นภาษาพม่า มาจากคำว่า ตอง หรือ ต่อง แปลว่า ภูเขา และ จี แปลว่า ใหญ่ ประชากรร้อยละ 95 นั้นเป็นชาวปะโอ (Pa-Oh).

ใหม่!!: อำเภอปายและตองจี · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: อำเภอปายและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: อำเภอปายและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ใหม่!!: อำเภอปายและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยวน

ทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม ในปี..

ใหม่!!: อำเภอปายและไทยวน · ดูเพิ่มเติม »

ไทลื้อ

ทลื้อ หรือ ไตลื้อ หรือ คนลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบสิบสองปันนาของจีน มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณีต่าง.

ใหม่!!: อำเภอปายและไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: อำเภอปายและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหมอกใหม่

หมอกใหม่ (ໝອກໃໝ່) เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงเชียงขวางในภาคเหนือตอนกลางของประเทศลาว.

ใหม่!!: อำเภอปายและเมืองหมอกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองนาย

มืองนาย (Mong Nai) ตั้งอยู่ที่ละติจูด 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 97 องศา 52 ลิปดาตะวันออก อยู่ในพื้นที่รัฐฉานใต้ ฝั่งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน ใกล้กับจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในอดีตเคยเป็นเมืองลูกของเชียงใหม่สมัยพญามังราย และอดีตเมืองหลวงของรัฐฉาน สมัยพระเจ้าสีหสุรมหาธรรมราชา เจ้าเมืองอังวะ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองนาย ซึ่งสมัยนั้นยังขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ อันเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไพร่พล 100,000 นายไปเมืองนายและอังวะ ระหว่างเคลื่อนทัพผ่านเมืองเชียงใหม่ พระองค์ประชวรและสวรรคต ณ เมืองแหน แขวงเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเลิกทัพและทรงนำพระบรมศพกลับมายังอ.

ใหม่!!: อำเภอปายและเมืองนาย · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: อำเภอปายและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปายและ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: อำเภอปายและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปายและ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอปายและ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.ปาย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »